You are on page 1of 81

คลังโจทย์ 1

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถาม 2 ข้อถัดจากนี ้


ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหว่างสถานีสองสถานี คือ สถานี ก และ สถานี ข ซึง่ อยูห่ า่ งกันเป็ น
ระยะทาง 𝑆 เมตร ในแนวเส้นตรง โดยรถไฟเริม่ ต้นเคลือ่ นที่จากหยุดนิ่งที่สถานี ก ไปจนหยุดนิง่ อีกครัง้ ที่สถานี ข
2
รถไฟมีความเร่งสูงสุดเท่ากับ 𝐴 เมตรต่อวินาที โดยรถไฟจะเคลือ่ นที่แบบระบบขับเคลือ่ นโดยอัตโนมัติเป็ น 3 ช่วง
ดังนี ้
2
 ช่วงแรก ช่วงเวลา 𝑇 วินาทีแรก รถไฟมีความเร่งเพิ่มขึน้ ในอัตราสม่าเสมอ จาก 0 ถึง 𝐴 เมตรต่อวินาที
 ช่วงกลาง รถไฟจะเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัว
 ช่วงท้าย ช่วงเวลา 𝑇 วินาที ก่อนรถไฟถึงสถานี ข รถไฟจะชะลอตัวในลักษณะทีค ่ วามเร่งลดลงในอัตรา
2
สม่าเสมอจาก 𝐴 ถึง 0 เมตรต่อวินาที

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและความเร่งของรถไฟนีท้ ี่เคลือ่ นที่จากสถานี ก ไปยังสถานี ข เป็ นดังนี ้


ความเร่ง (เมตรต่อวินาที2 )

เวลา (วินาที)
0
𝑇 𝑇
สถานี ก สถานี ข

1. ในช่วงเวลาที่รถไฟเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัวนัน้ รถไฟวิ่งด้วยความเร็วคงตัวกี่เมตรต่อวินาที


[PAT 1 (มี.ค. 2564/34)]
𝐴𝑇 𝐴𝑇 3
1. 𝐴 2. 𝐴𝑇 3. 2
4. 𝐴𝑇 2 5. 3

2. รถไฟเคลือ่ นที่จากสถานี ก ถึงสถานี ข ใช้เวลากี่วินาที [PAT 1 (มี.ค. 2564/35)]


1. 𝐴𝑆 + 𝑇 2. 𝐴𝑇 𝑆
+𝑇 3. 𝐴𝑇𝑆 2 + 𝑇 4. 𝐴𝑇2𝑆
+
4𝑇
3
5. 3𝑆
𝐴𝑇 3
+
5𝑇
3

.0123456789
2 คลังโจทย์

3. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม ถ้ำ 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥 เมื่อ 𝑥>0 แล้ว 𝑓 ′ (1) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/7)]
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5

4. ถ้ ำ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 ทุก 𝑥 ∈ [−2, 3] แล้ วพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ ง 𝑦 = |𝑓(𝑥)| ที่อยูเ่ หนือแกน 𝑋 บนช่วงปิ ด [−2, 3]
มีคำ่ เท่ำกับเท่ำใด [สมำคม (พ.ย. 2560/19)]

3−|𝑥|
เมื่อ 𝑥<3
5. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = { 3−𝑥 เมื่อ 𝑎 เป็ นจำนวนจริง
𝑎𝑥 + 10 เมื่อ 𝑥 ≥ 3
ถ้ำฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง แล้ว ค่ำของ 𝑓(𝑎 − 6) + 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑎 + 6) เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ก.พ. 2561/35)]
คลังโจทย์ 3

(√𝑥 − 1)(3𝑥 − 2)
6. ค่ำของ lim
x1 3𝑥 2 − 𝑥 − 2
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2563/28)]
1 1 1
1. −
10
2. 0 3. 10
4. 5
5. 1

7. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 ดังนี ้


𝑌

𝑋
−3 −2 −1 0 1 2 3 4
−1

−2

ข้อใดไม่ถูกต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2565/24)]


1. 𝑓(0) = 𝑓(3) 2. 𝑥→2
lim 𝑓(𝑥) = 2
1 3
3. 𝑥→0
lim− 𝑓(𝑥) = lim+ 𝑓 (𝑥) 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง (2 , 2)
𝑥→1
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง [1, 2)

2 1 8
8. พิจำรณำ lim
x2
(𝑥−2 + 𝑥+2 − 𝑥 2 −4) ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/8)]

1. หำค่ำไม่ได้ 2. มีคำ่ เท่ำกับ − 34 3. มีคำ่ เท่ำกับ − 14


4. มีคำ่ เท่ำกับ 14 5. มีคำ่ เท่ำกับ 34

.0123456789
4 คลังโจทย์

𝑥 4 −1
9. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(1) = 1 และสาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ , 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 +1
ค่าของ 𝑓(−2) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/5)]
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

1
𝑥3
10. ถ้ำเส้นโค้งเส้นหนึง่ ผ่ำนจุด (8, 10) และมีควำมชันของเส้นโค้งที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ เป็ น 3
แล้ว เส้นโค้งนีผ้ ำ่ นจุดในข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/7)]
1. (0, 0) 2. (0, 1) 3. (0, 2) 4. (0, 4) 5. (0, 6)

|𝑥−2|
11. lim 2 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/8)]
x 2 𝑥 +5𝑥−14
1 1 1 1
1. −5 2. −9 3. 0 4. 9
5. 5

.0123456789
คลังโจทย์ 5

12. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงที่ไม่เท่ำกับศูนย์ และให้ 𝑓 (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 1 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥


2
และ 𝑓(−1) = 0 ถ้ำเรนจ์ของ 𝑓 เท่ำกับ [0, ∞) แล้วค่ำของ  𝑓 (𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
1

[PAT 1 (ก.พ. 2563/17)]


1. 5 2. 7 3. 8 4. 9 5. 11

13. กำหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = { 𝑥 เมื่อ 𝑥<1
𝑥−1 เมื่อ 𝑥>1
ถ้ำ 𝑓(0) = 0 แล้ว 𝑓 (2) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2563/33)]
1. 1 2. 1.5 3. 2 4. 2.5 5. 3

14. ให้ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง และให้ 𝑓(𝑥) = −𝑥3 − 12𝑥2 − 45𝑥 + 𝑐 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥
ถ้ำค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 53 แล้วค่ำของ 𝑓(𝑐) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2563/41)]

.0123456789
6 คลังโจทย์

15. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥3 + 𝑎𝑥2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจำนวนจริง


ถ้ำ 𝑓 มีค่ำวิกฤตที่ 𝑥 = −1 และ 𝑥 = 2 แล้ว พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
ก. 𝑓 มีค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ท่ี 𝑥 = −1
ข. 𝑓 มีค่ำต่ ำสุดสัมพัทธ์ท่ี 𝑥 = 2
ค. บนช่วง (−1, 2) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม
ง. บนช่วง (−∞, −1) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด
จำนวนข้อควำมที่ถกู ต้องเท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/21)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

16. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วงเปิ ด (0 , 6) และกราฟของ 𝑓 ′ เป็ นดังรูป


𝑓 ′ (𝑥)
2

𝑥
0 1 2 3 4 5 6
−1

−2

ข้อใดไม่ถกู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2564/24)]


1. 𝑓 มีจดุ วิกฤตที่ 𝑥 = 1
2. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และ 𝑥 = 4
3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์บนช่วง [2 , 5]
4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (1 , 3)
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ค่าคงตัวบนช่วง (0 , 1)

.0123456789
คลังโจทย์ 7

17. ในช่วงเทศกาลวันปี ใหม่ ร้านเบเกอรีแห่งหนึง่ ผลิตเค้กสูตรพิเศษทีม่ ีขอ้ จากัดในการผลิต จึงจะผลิตตามสั่งได้ไม่เกิน


12 ก้อน โดยมีกาไรจากการขายเค้ก 𝑛 ก้อน เท่ากับ 300𝑛 − 45𝑛2 + 2𝑛3 บาท
ร้านเบเกอรีแห่งนีจ้ ะได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายเค้กกี่กอ้ น [PAT 1 (มี.ค. 2564/41)]

18. ให้ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) = −𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓(0) = 3 และ 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓(1) เท่ากับเท่าใด
[กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/22)]
1. −1 2. 1 3. 3 4. 5 5. 7

19. ให้ 𝐿 เป็ นเส้นตรงซึง่ มีความชันเท่ากับ −2 และสัมผัสพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2


พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 เท่ากับกี่ตารางหน่วย [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/26)]
8 คลังโจทย์

20. ให้ 𝑓(𝑥) = 8 − 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥


กราฟของ 𝑓 และกราฟของ 𝑔 ตัดกัน ดังรูป
𝑌
𝑔

𝑋
0
𝑓
ส่วนที่แรเงามีพืน้ ที่เท่ากับกี่ตารางหน่วย [PAT 1 (มี.ค. 2565/25)]
16√2 32√2 8
1. 3
2. 3
3. 3
(4√2 + 1)
16 32
4. 3
(√2 + 2) 5. 3
(√2 − 1)

21. ให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้าบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 แกน 𝑋 เส้นตรง 𝑥 = 0 และ


เส้นตรง 𝑥 = 5 มีพนื ้ ที่เท่ากับ 135 ตารางหน่วย แล้วความชันของเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 ที่ 𝑥 = 𝑎
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2565/45)]

.0123456789
คลังโจทย์ 9

22. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓′ (𝑥) = 2𝑥 + 1 ถ้ำ ℎ(𝑥) = 𝑓(𝑥 2 ) แล้ว ℎ ′ (𝑥 ) เท่ำกับเท่ำใด
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/24)]
1. 4𝑥 + 2 2. 2𝑥2 + 1 3. 4𝑥 2 + 2𝑥
4. 4𝑥 3 + 2𝑥 5. 4𝑥 3 + 4𝑥

23. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จำก ℝ ไป ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) เท่ำกับจำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 𝑥
พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
(ก) 𝑥→𝑐
lim 𝑓 (𝑥) มีค่ำ สำหรับทุก 𝑐 ∈ ℝ
(ข) ฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง (𝑛, 𝑛 + 1] เมื่อ 𝑛 เป็ นจำนวนเต็ม
(ค) 𝑓′ (𝑥) = 1 เมื่อ 𝑥 ∈ (𝑛, 𝑛 + 1) และ 𝑛 เป็ นจำนวนเต็ม
จำกข้อควำม (ก) (ข) และ (ค) ข้ำงต้น ข้อใดถูกต้อง [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/25)]
1. ข้อควำม (ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่ำนัน้ 2. ข้อควำม (ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่ำนัน้
3. ข้อควำม (ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่ำนัน้ 4. ข้อควำม (ก) และ (ค) ถูกต้องเท่ำนัน้
5. ข้อควำม (ข) และ (ค) ถูกต้องเท่ำนัน้

24. ให้ 𝑓 (𝑥) = −𝑥 2 + 𝑘เมื่อ 𝑘 เป็ นจำนวนจริงบวก ถ้ำพืน้ ที่ท่ีปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 เท่ำกับ
36 ตำรำงหน่วย แล้ว 𝑓 (−1) + 𝑓 (1) เท่ำกับเท่ำใด [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/29)]

.0123456789
10 คลังโจทย์

2
𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
25. ค่ำของ  2 𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/34)]
 4 𝑥|𝑥+2|−𝑥 −2

1 2𝑥 3
26. ค่ำของ lim (1 − 𝑥 2 +1
) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 2558/13)]
x 1  √1−𝑥

1. 0 2. 0.5 3. 1
4. 2 5. 4

27. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม ซึง่ 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 และ 𝐺(𝑥) = {
𝑥+5 เมื่อ 𝑥 < −1
𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 ≥ −1
ถ้ำ 𝐺(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓 มีคำ่ ต่ำสุดสัมพัทธ์เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/25)]
1. −2 2. −1 3. 2
4. 3 5. 4

.0123456789
คลังโจทย์ 11

28. ให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง ถ้ากราฟของ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 ผ่านจุด (0, 1) , (1, 3) และจุด (2, 2)
แล้วพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) และเส้นตรง 𝑦 = 𝑥 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 2560/17)]
1. 52 ตารางหน่วย 2. 83 ตารางหน่วย 3. 3 ตารางหน่วย
7
4. 2
ตารางหน่วย 5. 5 ตารางหน่วย

29. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5 และ 𝑔(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง


1
ถ้า (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(0) = 2 ,  𝑓 −1 (𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥 = 1 และ (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(𝑥) มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1
0

แล้วค่าของ 𝑔(1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2560/33)]

.0123456789
12 คลังโจทย์

𝑥 (𝑥+1)
3 𝑥−3
30. ค่าของ lim 3
x  3 √𝑥−2 − 1
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2560/38)]

31. กำหนดพำรำโบลำ 𝑝(𝑥) = 2017𝑥 2 − 2560𝑥 − 743


ให้ 𝐿1 และ 𝐿2 เป็ นเส้ นสัมผัสพำรำโบลำ 𝑝(𝑥) ที่จดุ (−10, 𝑝(−10)) และที่จดุ (1000, 𝑝(1000)) ตำมลำดับ
ถ้ ำ 𝐿1 และ 𝐿2 ตัดกันที่จดุ (𝑥0, 𝑦0 ) แล้ ว 𝑥0 มีคำ่ เท่ำใด [สมำคม (พ.ย. 2560/22)]

32. จงหำจำนวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่ทำให้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 1) มีคำ่ สูงสุดสัมพัทธ์หรื อค่ำต่ำสุด
สัมพัทธ์ [สมำคม (พ.ย. 2560/29)]

.0123456789
คลังโจทย์ 13

6
33. สมกำรของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥+1
ที่จดุ (1, 3) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/9)]
1. 𝑥 + 𝑦 = 4 2. 3𝑥 − 2𝑦 = −3 3. 3𝑥 + 2𝑦 = 9
4. 2𝑥 − 3𝑦 = −7 5. 2𝑥 + 3𝑦 = 11

2√𝑥 𝑥 2 −23+√𝑥 √𝑥
34. lim
x 4 √𝑥−2
มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2561/14)]

1. 32 2. 64 3. 80 4. 96 5. 128

35. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏√𝑥 + 1
เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝑓(0) = 1 และ 𝑓 ′ (1) = 𝑓 ′(4) = 0 แล้ว (𝑓 ∘ 𝑓)(4) มีคำ่ เท่ำกับ
ข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2561/15)]
1. 1.25 2. 1.75 3. 2.25 4. 2.75 5. 3.25

.0123456789
14 คลังโจทย์

36. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจำนวนจริง


ถ้ำ 𝑓(−1) + 𝑓(1) = 14 , 𝑓 ′ (1) = 2𝑓(1) และ 𝑓 ′ (0) + 𝑓 ′′ (0) = 6
1
แล้ว  𝑓(3𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2561/36)]
0

37. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 1 เมื่อ 𝑎, 𝑏 เป็ นจำนวนจริง


1
𝑓(𝑥) − 𝑓(2) 1 𝑓′ (𝑥) − 𝑓′ (4)
ถ้ำ lim 𝑥−2
= 0 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 4
แล้ว lim 𝑥−4
เท่ำกับเท่ำใด
x2 0 x4

[PAT 1 (ก.พ. 2561/37)]

.0123456789
คลังโจทย์ 15

𝑓(𝑥)
38. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั มีสมบัติวา่ lim 2
x1 𝑥 −1
= 1 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
[สมาคม (พ.ย. 2561/5)]
ก. 𝑓(1) = 0 ข. 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1
ค. lim
x1
𝑓(𝑥) = 0 ง. lim
x1
𝑓(𝑥) ไม่มีคา่

39. กำหนดให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นพำรำโบลำมีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, 0) Y


𝑦 = 𝑓(𝑥)
และ 𝑦 = 𝑔(𝑥) เป็ นพำรำโบลำมีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (1, 4) ซึง่ มีกรำฟดังรูป
(1, 4)
พืน้ ที่ของบริเวณที่แรเงำ มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/22)]
1. 1 ตำรำงหน่วย 2. 43 ตำรำงหน่วย X
0
3. 32 ตำรำงหน่วย 4. 53 ตำรำงหน่วย 𝑦 = 𝑔(𝑥)
5. 2 ตำรำงหน่วย

.0123456789
16 คลังโจทย์

40. ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นเส้นโค้งผ่ำนจุด (0, 1) และจุด (1, 1) และเส้นสัมผัสของเส้นโค้งที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ มีควำมชัน
เท่ำกับ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝑓 ′ (0) = 1 และ 𝑓 ′′(1) = 2 แล้วฟั งก์ชนั 𝑓 มี
ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/10)]
1. 1127
2. 13
27
3. 31
27
4. 34 27
5. 43 27

41. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนำมกำลังสอง ซึง่ มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง ถ้ำเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่ำนจุด (2, 2)
2
และมีจดุ สูงสุดสัมพัทธ์ที่จดุ (1, 3) แล้วค่ำของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/22)]
1
16
1. 7 2. 6 3. 3
4.14
3
5. 8
3

.0123456789
คลังโจทย์ 17

42. ให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง ให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ทีม่ ีอนุพนั ธ์และสอดคล้องกับ
𝑓(𝑥 + ℎ) − 𝑓(𝑥) = 2ℎ3 + (6𝑥 + 1)ℎ2 + 2𝑥(3𝑥 + 1)ℎ สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 และ ℎ
ถ้ำค่ำต่ำสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 4 แล้วค่ำของ 𝑓(2) + 𝑓(− 12) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ก.พ. 2562/26)]
1. 28 2. 32 3. 34 4. 36 5. 40


𝑥 𝑥+√1+𝑥
43. ค่ำของ lim 3
x0 √8+𝑥 − 2
เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2562/39)]

.0123456789
18 คลังโจทย์

44. ให้ ℝ เป็ นเซตของจำนวนจริงให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั


𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 4 ;𝑥 ≥ 0
โดยที่ 𝑓(𝑥) = { เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง
4𝑥 + 𝑐 ;𝑥 < 0
1
9
ถ้ำ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริงและสอดคล้องกับ 𝑓 ′ (3) + 𝑓(3) = 45 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =
2
0

แล้วค่ำของ 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑐) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2562/42)]

𝑥
𝑥 − 𝑥2
เมื่อ 𝑥<0
45. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั นิยำมโดย 𝑓 (𝑥 ) = 𝑎𝑥 2 + (𝑏−𝑎)𝑥 − 𝑏
เมื่อ 0≤𝑥<1 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
𝑥 −1

{ (𝑥 + 𝑏 )2 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
ถ้ำฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง แล้ว 𝑓(𝑎 + 𝑏) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2563/34)]
1
1. 25 2. 16 3. 9 4. 4 5. 6

.0123456789
คลังโจทย์ 19

46. ถ้ำพืน้ ที่ท่ีปิดล้อมด้วยกรำฟของพำรำโบลำซึ่งมีจุดยอดอยู่ท่ี (0, −9) และแกน 𝑋 มีค่ำเท่ำกับ 9 ตำรำงหน่วย


แล้ว สมกำรพำรำโบลำคือข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/22)]
1. 𝑦 = 𝑥2 − 9 2. 𝑦 = 2𝑥2 − 9 3. 𝑦 = 4𝑥2 − 9
4. 𝑦 = 8𝑥 2 − 9 5. 𝑦 = 16𝑥 2 − 9

47. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่𝑓(𝑥) = {𝑥 + 5 เมื่อ 𝑥 > 𝑎 และ 𝑎 > 0
𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 ≤ 𝑎
และให้ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้า 𝑥→𝑎
lim− (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) − lim+ (𝑓 ∘ 𝑔)(√𝑥)
𝑥→𝑎
= 2 แล้วค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 2564/45)]

.0123456789
20 คลังโจทย์

48. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง ซึง่ 𝑓(0) = 10 , 𝑓(3) = 9


และ 𝑓 ′ (𝑥) = {𝑥 2+ 𝑎𝑥 เมื่อ 𝑥 < 1 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
2

𝑥 + 𝑎 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
𝑎 เท่ากับเท่าใด [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/25)]
1. 4 2. 2 3. 0 4. −2 5. −4

49. ให้จดุ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจุดบนพาราโบลา 9𝑥2 + 10𝑦 = 81


ถ้าเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐴 และเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐵 ตัดกันที่จดุ (0, 9)
แล้วระยะห่างระหว่างจุด 𝐴 และ 𝐵 เท่ากับกี่หน่วย [PAT 1 (มี.ค. 2565/44)]

.0123456789
คลังโจทย์ 21

𝑥+𝑏−4 , 𝑥≤𝑎
50. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑎 , 𝑎<𝑥≤𝑏 เมือ่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
2𝑏𝑥 − 𝑎 , 𝑥>𝑏
และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง พิจำรณำข้ อควำมต่อไปนี ้
(ก) (𝑓 ∘ 𝑓)(𝑎 − 𝑏) = 𝑎 − 𝑏
(ข) 𝑓(𝑎 + 𝑏) = 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏)
(ค) 𝑓 ′ (𝑓(2)) = 𝑓(𝑓 ′ (2))
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง [PAT 1 (มี.ค. 2559/17)]
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสำมข้
้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสำมข้
้ อ

51. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ ำอัตรำกำรเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของ 𝑓(𝑥) เทียบ
1
กับ 𝑥 เมื่อค่ำของ 𝑥 เปลีย่ นจำก −1 เป็ น 1 เท่ำกับ −2 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 2
1
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3−ℎ)
แล้ วค่ำของ lim
h0 ℎ
เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/40)]
22 คลังโจทย์

|𝑥 2 −𝑥−2|
52. ค่ำของ lim 3 2
เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/42)]
x 2  2− √𝑥 +4

53. กำหนดให้ 𝐶 เป็ นเส้นโค้ง 𝑦 = 2 + 𝑥|𝑥 − 1| เมื่อ 𝑥 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝐿 เป็ นเส้นตรงที่สมั ผัสกับเส้นโค้ง 𝐶 ที่
จุด (0, 2) และให้ 𝑁 เป็ นเส้นตรงที่ตงั้ ฉำกกับเส้นตรง 𝐿 ณ จุด (0, 2) แล้วเส้นตรง 𝑁 ผ่ำนจุดในข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ต.ค. 2558/14)]
1. (−1, 3) 2. (1, 5) 3. (−2, 5)
4. (3, −2) 5. (−3, 4)

.0123456789
คลังโจทย์ 23

2𝑥
54. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 −1(𝑥) = 𝑥+1 สำหรับทุก
สมำชิก 𝑥 ในเรนจ์ของ 𝑓 พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
(ก) 2𝑓 ′(4) − 𝑓(4) = 3
(ข) 𝑓 ′′(𝑓(4)) = 𝑓(𝑓 ′′(4))
(ค) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (0, 2)
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 2558/15)]
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สำมข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สำมข้อ

55. กำหนดให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง ให้ 𝑓: ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่สำมำรถหำอนุพนั ธ์ได้ และสอดคล้องกับ
𝑥 2 +𝑥−6
lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
= 6 และ 1 + 𝑓(𝑥) ≥ 0 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥
ถ้ำเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 = 4 ตัดกับกรำฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2 แล้วค่ำของ 𝑓 ′ (2) เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ต.ค. 2558/33)]

.0123456789
24 คลังโจทย์

𝑥3 , 𝑥 < −1
56. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = { 𝑎𝑥 + 𝑏 , −1 ≤ 𝑥 < 1 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
ถ้ำฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่อง สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 แล้วค่ำ  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 2558/34)]
2

(𝑥 + 1)2 − 5 เมื่อ 𝑥 < −1


57. ถ้ำ 𝑓(𝑥) = { −5 เมื่อ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1
(𝑥 − 1) − 5 เมื่อ
2
𝑥>1
แล้ว (𝑓 ∘ 𝑓)′(2) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/10)]
1. −12 2. −8 3. 0
4. 8 5. 12

.0123456789
คลังโจทย์ 25

𝑥𝑓(𝑥) − 2559𝑓(2559)
58. กาหนดให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์บน ℝ โดยที่ x lim
2559 𝑥 − 2559
= 7677

ถ้ า 𝑓(2559) = 2559 แล้ ว ค่าของ 𝑓 ′ (2559) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/6)]
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

3 7 𝑎
59. ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งซึง่ lim ( 2 + 𝑥 2 −𝑥 + 𝑥 3 −𝑥)
x  0 𝑥 +𝑥
= 𝑏 จงหาค่าของ 𝑎+𝑏

[สมาคม (พ.ย. 2559/16)]

1 1
60. ถ้ำ 𝑎 เป็ นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับ  𝑎(1 − 𝑥 2 ) 𝑑𝑥 =  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 แล้ว 𝑎 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1 1

[PAT 1 (ต.ค. 2559/26)]


2𝜋 2𝜋 3𝜋 𝜋 3𝜋
1. 5
2. 7
3. 7
4. 3
5. 8
26 คลังโจทย์

3
61. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = |𝑥 − 1| + |𝑥 + 2| เมื่อ −3 ≤ 𝑥 ≤ 3 ค่ำของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด
3

[PAT 1 (ต.ค. 2559/35)]

62. ถ้ำ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีกรำฟดังรูป Y


พืน้ ที่ 16 ตำรำงหน่วย
3
พืน้ ที่ 6 ตำรำงหน่วย
แล้ว  (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
0

[กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/23)]


X
1. 6 2. 10 0 1 3
𝑦 = 𝑓(𝑥)
3. 12 4. 16
5. 32
คลังโจทย์ 27

63. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำมดีกรีสำม ซึง่ มีคำ่ วิกฤตที่ 𝑥 = 4 และ 𝑥 = −4 พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
ก. 𝑓 ′′(−4) ∙ 𝑓 ′′(4) < 0
ข. 𝑓(4√3) = 2𝑓(0)
ค. 𝑓(−4) + 𝑓(4) = 2𝑓(0)
ง. ค่ำเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑓(−2) , 𝑓(−1) , 𝑓(0) , 𝑓(1) , 𝑓(2) เท่ำกับ 𝑓(0)
จำนวนข้อควำมทีถ่ กู เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/27)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

𝑥 + √𝑥 2 + 5 , 𝑥 ≥ 𝑎
64. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓(𝑥) = { 15
2
, 𝑥<𝑎
√𝑥 +5
ถ้าฟั งก์ชนั 𝑓 มีความต่อเนื่องทุกจานวนจริง 𝑥 แล้วค่าของ 𝑓(𝑎) + 𝑓(−𝑎) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 2560/41)]

.0123456789
28 คลังโจทย์

65. ให้ 𝑓(𝑥) = {4𝑥 − 8 เมื่อ 𝑥 < 2 และ 𝑔(𝑥) = [𝑓(𝑥)]2


𝑥2 − 4 เมื่อ 𝑥 ≥ 2
ถ้ำ 𝑔′(𝑐) = −8 แล้ว 𝑐 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/21)]
1. −2 2. − 54 3. 1 4. 74 5. 2

66. ให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั กำลังสอง โดยทีก่ รำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจดุ ต่ำสุดที่ (0, −9) และตัดแกน 𝑥 ที่จดุ (𝑥1, 0)
และ (𝑥2, 0) ถ้ำพืน้ ที่ซงึ่ ปิ ดล้อมด้วยกรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) และแกน 𝑥 จำก 𝑥1 ถึง 𝑥2 เท่ำกับ 18 ตำรำงหน่วย
แล้ว 𝑓(2) มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/22)]
1. −5 2. −3 3. 0 4. 3 5. 7

.0123456789
คลังโจทย์ 29

67. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามดีกรี 2 มีคา่ ต่าสุดเมื่อ 𝑥 = 3 และ 𝐹(2𝑥) เป็ นปฏิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥)
ถ้ า 𝐹 ′(2) = −5 และ 𝐹 ′′(−2) = −4 พื ้นที่ปิดล้ อมของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 3
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2561/11)]
ก. 16.5 ข. 18 ค. 33 ง. 36

68. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 2𝑥 + 3 และ 𝑔(𝑥) = 𝑓 −1 (𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ผกผันของ 𝑓(𝑥)
ค่ำของ 𝑔′ (6) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/21)]
1. 16 2. 15 3. 13 4. 12 5. 1

.0123456789
30 คลังโจทย์

1
69. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 60 𝑥(𝑥 2 − 49) เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
และให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นพืน้ ที่ของบริเวณที่แรเงา ดังรูป
𝑌
𝑓

(𝑝, 1) 𝐴 (𝑞, 1)
𝑦=1
𝐵
𝑋
0 𝐶
𝑦 = −1
(𝑟, −1) (𝑠, −1)

ข้อใดไม่ถกู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2564/25)]


0 7 𝑞
1. ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 2. 𝐴 = ∫ (𝑓(𝑥) − 1) 𝑑𝑥
−7 0 𝑝
0 7
3. 𝐵 = ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 4. 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7 0
𝑠 7
5. 𝐶 = ∫ (𝑓(𝑥) + 1) 𝑑𝑥 − ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
𝑟 0

70. กำหนดให้ ℝ เป็ นเซตของจำนวนจริ ง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ทกุ อันดับ และ
สอดคล้ องกับ 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) และ 𝑔′ (𝑥) = 4𝑥 3 + 9𝑥 2 + 2 สำหรับทุกจำนวนจริ ง 𝑥
พิจำรณำข้ อควำมต่อไปนี ้
(ก) ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 6
(ข) ค่ำตำ่ สุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 2
(ค) อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงของ (𝑓 + 𝑔)(𝑥) เทียบกับ 𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 1 เท่ำกับ 12
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง [PAT 1 (มี.ค. 2559/28)]
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสำมข้
้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสำมข้
้ อ
คลังโจทย์ 31

71. จงหาสมการของพาราโบลาคว่าที่ผา่ นจุดกาเนิดและจุด (2, 4) ที่ทาให้ พื ้นที่ใต้ กราฟพาราโบลารูปนี ้เมื่อเทียบกับ


แกน 𝑋 มีคา่ น้ อยที่สดุ [สมาคม (พ.ย. 2559/30)]

2𝑥 + 22−𝑥 − 5
72. ค่ำของ lim
x2 −
𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 2559/42)]
2 2 − 21−𝑥

.0123456789
32 คลังโจทย์

73. กำหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏
2
เป็ นจำนวนจริง และสอดคล้องกับ 𝑓 ′′ (1) = 3𝑓 ′ (1) และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 18
1

ถ้ำเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 ขนำนกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥=1 แล้วค่ำของ 𝑓(2) เท่ำกับเท่ำใด


[PAT 1 (ต.ค. 2559/43)]

𝑓(𝑥) 4
74. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีความต่อเนื่องที่ 𝑥 = −3 และ x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4

ถ้ า 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) ค่าของ 𝑔′ (−3) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2561/12)]


ก. −15 ข. −13 ค. 2 ง. 5

.0123456789
คลังโจทย์ 33

75. จงหำจำนวนจริง 𝑥0 ทัง้ หมดที่ทำให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥1/3(1 − 𝑥)2/3


มีคำ่ สุดขีดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 𝑥0 [สมำคม (พ.ย. 2562/10)]

76. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 4 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้


(ก) ถ้ำ 0 < 𝑎 < 1 แล้ว 𝑓(𝑎) > 𝑓(2 − 𝑎)
(ข) 𝑓(𝑥) < 4 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 < 0
(ค) 𝑓 มีคำ่ ต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 2559/8)]
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สำมข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สำมข้อ
34 คลังโจทย์

77. ถ้ำ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม และกรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกรำฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5
5
แล้ว  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/24)]
2

1. 94 2. 104 3. 158 4. 258 5. 264

78. กำหนดให้ 𝑓, 𝑔, ℎ : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥) ℎ(𝑥) และ ℎ(𝑥) > 0 ทุก 𝑥 ∈ ℝ
ถ้ำสมมติวำ่ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| ≤ |𝑥 − 𝑦|2562 สำหรับทุก 𝑥, 𝑦 ∈ ℝ
ℎ ′ (7)
𝑓(7) = 8 และ 𝑔′ (7) = 4 แล้ว จงหำค่ำของ 2 [สมำคม (พ.ย. 2562/14)]
(ℎ(7))

.0123456789
คลังโจทย์ 35

79. ค่าของ lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥) ) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/4)]
a 0  x  
1 1
ก. 0 ข. ∞ ค. 2
ง. −2

.0123456789
คลังโจทย์ 1

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถาม 2 ข้อถัดจากนี ้


ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหว่างสถานีสองสถานี คือ สถานี ก และ สถานี ข ซึง่ อยูห่ า่ งกันเป็ น
ระยะทาง 𝑆 เมตร ในแนวเส้นตรง โดยรถไฟเริม่ ต้นเคลือ่ นที่จากหยุดนิ่งที่สถานี ก ไปจนหยุดนิง่ อีกครัง้ ที่สถานี ข
2
รถไฟมีความเร่งสูงสุดเท่ากับ 𝐴 เมตรต่อวินาที โดยรถไฟจะเคลือ่ นที่แบบระบบขับเคลือ่ นโดยอัตโนมัติเป็ น 3 ช่วง
ดังนี ้
2
 ช่วงแรก ช่วงเวลา 𝑇 วินาทีแรก รถไฟมีความเร่งเพิ่มขึน้ ในอัตราสม่าเสมอ จาก 0 ถึง 𝐴 เมตรต่อวินาที
 ช่วงกลาง รถไฟจะเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัว
 ช่วงท้าย ช่วงเวลา 𝑇 วินาที ก่อนรถไฟถึงสถานี ข รถไฟจะชะลอตัวในลักษณะทีค ่ วามเร่งลดลงในอัตรา
2
สม่าเสมอจาก 𝐴 ถึง 0 เมตรต่อวินาที

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและความเร่งของรถไฟนีท้ ี่เคลือ่ นที่จากสถานี ก ไปยังสถานี ข เป็ นดังนี ้


ความเร่ง (เมตรต่อวินาที2 )

เวลา (วินาที)
0
𝑇 𝑇
สถานี ก สถานี ข

1. ในช่วงเวลาที่รถไฟเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงตัวนัน้ รถไฟวิ่งด้วยความเร็วคงตัวกี่เมตรต่อวินาที


[PAT 1 (มี.ค. 2564/34)]
𝐴𝑇 𝐴𝑇 3
1. 𝐴 2. 𝐴𝑇 3. 2
4. 𝐴𝑇 2 5. 3

ตอบ -
ข้อนี ้ โจทย์กาหนดให้ชว่ งกลางมีความเร็วคงตัว แสดงว่าช่วงกลางมีความเร่ง = 0
ขัดแย้งกับกราฟช่วงกลาง ที่มีความเร่ง = 𝐴
ดังนัน้ ข้อนีโ้ จทย์ผิด

2. รถไฟเคลือ่ นที่จากสถานี ก ถึงสถานี ข ใช้เวลากี่วินาที [PAT 1 (มี.ค. 2564/35)]


1. 𝐴𝑆 + 𝑇 2. 𝐴𝑇 𝑆
+𝑇 3. 𝐴𝑇𝑆 2 + 𝑇 4. 𝐴𝑇2𝑆
+
4𝑇
3
5. 3𝑆
𝐴𝑇 3
+
5𝑇
3

ตอบ -
ข้อนีโ้ จทย์ผิด

3. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม ถ้ำ 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥 เมื่อ 𝑥>0 แล้ว 𝑓 ′ (1) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/7)]
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5
ตอบ 4
จำก 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥
𝑓( 𝑘 ) = 𝑥
ให้ √𝑥 − 1 = 𝑘
√𝑥 = 𝑘+1
𝑥 = (𝑘 + 1)2
𝑓( 𝑘 ) = (𝑘 + 1)2
𝑓( 𝑘 ) = 𝑘 2 + 2𝑘 + 1
𝑓′ ( 𝑘 ) = 2𝑘 + 2
𝑓′ ( 1 ) = 2(1) + 2 =4
.0123456789
จำก 𝑓(√𝑥 − 1) = 𝑥
𝑓( 𝑘 ) = 𝑥
ให้ √𝑥 − 1 = 𝑘
√𝑥 = 𝑘+1
2 คลังโจทย์ 𝑥 = (𝑘 + 1)2
𝑓( 𝑘 ) = (𝑘 + 1)2
𝑓( 𝑘 ) = 𝑘 2 + 2𝑘 + 1
𝑓′ ( 𝑘 ) = 2𝑘 + 2
𝑓′ ( 1 ) = 2(1) + 2 =4

4. ถ้ ำ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 ทุก 𝑥 ∈ [−2, 3] แล้ วพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ ง 𝑦 = |𝑓(𝑥)| ที่อยูเ่ หนือแกน 𝑋 บนช่วงปิ ด [−2, 3]
มีคำ่ เท่ำกับเท่ำใด [สมำคม (พ.ย. 2560/19)]
ตอบ 28 3
มีคำ่ สัมบูรณ์ ครอบ 𝑓(𝑥) อยู่ → ส่วนที่อยูไ่ ต้ แกน 𝑋 จะถูกเปลีย่ นให้ ขึ ้นมำอยูเ่ หนือแกน 𝑋
ดังนัน้ ข้ อนี ้หำพื ้นที่ตงแต่
ั ้ −2 ถึง 3 ที่อยูร่ ะหว่ำงเส้ นโค้ ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 แบบปกติได้ เลย
หำจุดตัดแกน 𝑋 เพื่อใช้ เป็ นจุดแบ่งกำรช่วงอินทิเกรต → 𝑥 2 − 1 = 0
(𝑥 + 1)(𝑥 − 1) = 0
𝑥 = −1 , 1
ดังนัน้ ต้ องแบ่งช่วงอินทิเกรตเป็ น [−2, −1] , [−1, 1] และ [1, 3] แล้ วเปลีย่ นค่ำเป็ นบวกก่อน ค่อยเอำมำรวมกัน
1 1 3
 (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥  (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥  (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥
2 1 1
𝑥3 −1 𝑥3 1 𝑥3 3
= ( 3 − 𝑥) | = ( 3 − 𝑥) | = ( 3 − 𝑥) |
−2 −1 1
−1 −8 1 −1 1
= (3 + 1) − ( 3 + 2) = (3 − 1) − ( 3 + 1) = (9 − 3) − (3 − 1)
2 −2 −2 2 −2
= 3
− 3
= 3
− 3
= 6 − 3
4 4 20
= = −3 =
3 3
4
→ เปลีย่ นเป็ นบวกได้ 3
4 4 20 28
จะได้ พื ้นที่ = 3
+3+ 3
= 3

3−|𝑥|
เมื่อ 𝑥<3
5. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = { 3−𝑥 เมื่อ 𝑎 เป็ นจำนวนจริง
𝑎𝑥 + 10 เมื่อ 𝑥 ≥ 3
ถ้ำฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง แล้ว ค่ำของ 𝑓(𝑎 − 6) + 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑎 + 6) เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ก.พ. 2561/35)]

ตอบ 0.5
𝑓 ต่อเนื่อง แปลว่ำทัง้ สองสูตรต้องได้คำ่ เท่ำกันตรงรอยต่อ 𝑥 → 3− , 𝑥 = 3 , 𝑥 → 3+
เมื่อ 𝑥 → 3− จะใช้สตู รบน และเนื่องจำก 𝑥 เป็ นบวก ดังนัน้ |𝑥| = 𝑥
จะได้ lim 𝑓(𝑥) = lim 3−|𝑥| 3−𝑥
3−𝑥
= lim 3−𝑥 = 1 …(1)
x 3  x 3  x 3 

เมื่อ 𝑥=3 กับ 𝑥→3 +


จะใช้สตู รล่ำง จะได้ 𝑓(3) = lim 𝑓(𝑥) = 3𝑎 + 10 …(2)
x 3

เนื่องจำก 𝑓 ต่อเนื่อง จะได้ (1) = (2) : 3𝑎 + 10 = 1


𝑎 = −3
ดังนัน้ 𝑓(𝑎 − 6) + 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑎 + 6) = 𝑓(−3 − 6) + 𝑓(−3) + 𝑓(−3 + 6)
= 𝑓(−9) + 𝑓(−3) + 𝑓(3)
3−|−9| 3−|−3|
= 3−(−9)
+ 3−(−3) + (−3)(3) + 10
−6 0
= 12
+ 6
+ 1 = 0.5

.0123456789
คลังโจทย์ 3

(√𝑥 − 1)(3𝑥 − 2)
6. ค่ำของ lim
x1 3𝑥 2 − 𝑥 − 2
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2563/28)]
1 1 1
1. −
10
2. 0 3. 10
4. 5
5. 1

ตอบ 3
0
แทน 𝑥=1 จะได้ 0
→ ต้องจัดรูปให้ 𝑥−1 ตัดกัน → ตัวเศษ ต้องคูณ √𝑥 + 1 และตัวส่วนต้องแยกตัวประกอบ
(√𝑥 − 1)(3𝑥 − 2) √𝑥 + 1 (√𝑥 − 1)(3𝑥 − 2)
lim 3𝑥 2 − 𝑥 − 2
= lim ∙ (𝑥 − 1)(3𝑥 + 2)
x1 x1 √𝑥 + 1
(𝑥 − 1) (3𝑥 − 2)
= lim
x1 (√𝑥 + 1)(𝑥 − 1)(3𝑥 + 2)

(3𝑥 − 2) 3(1) − 2 1
= lim (√𝑥 + 1)(3𝑥 + 2)
= (√1+1)(3(1)+2)
= 10
x1

7. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 ดังนี ้


𝑌

𝑋
−3 −2 −1 0 1 2 3 4
−1

−2

ข้อใดไม่ถูกต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2565/24)]


1. 𝑓(0) = 𝑓(3) 2. 𝑥→2
lim 𝑓(𝑥) = 2
1 3
3. 𝑥→0
lim− 𝑓(𝑥) = lim+ 𝑓 (𝑥) 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง (2 , 2)
𝑥→1
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง [1, 2)
ตอบ 2
1. ที่ 𝑥 = 0 และ 3 กราฟมีจดุ อยู่ดา้ นล่างที่ 𝑦 = −1 เหมือนกัน ดังนัน้ 𝑓(0) = 𝑓(3) = −1 → ถูก
2. 𝑥→2
lim 𝑓(𝑥) จะดูค่า 𝑓 บริเวณ 𝑥 ใกล้ๆ 2 (ไม่ได้ดต ู รง 𝑥 = 2) ซึ่งบริเวณนัน้ กราฟมีค่า 𝑦 ประมาณ 3 → ผิด
3. lim 𝑓(𝑥)
𝑥→0−
คือบริเวณ 𝑥 น้อยกว่า 0 นิดๆ ซึ่งกราฟมีค่า 𝑦 ประมาณ −1
lim 𝑓(𝑥)
𝑥→1+
คือบริเวณ 𝑥 มากกว่า 1 นิดๆ ซึ่งกราฟมีค่า 𝑦 ประมาณ −1 เท่ากัน → ถูก
4. บนช่วงระหว่าง 𝑥 = 12 กับ 32 กราฟต่อเนื่องเป็ นเส้นเดียว ดังรูป
ดังนัน้ 𝑓 ต่อเนื่องบนช่วง (12 , 32)
ช้อ 5.
5. บนช่วง [1, 2) (รวม 1 แต่ไม่รวม 2) กราฟต่อเนื่องเป็ นเส้นเดียว 1 1 3
2 2

ดังนัน้ 𝑓 ต่อเนื่องบนช่วง [1, 2) ช้อ 4. 1 2

.0123456789
4 คลังโจทย์

2 1 8
8. พิจำรณำ lim (
x  2 𝑥−2
+ 𝑥+2 − 𝑥 2 −4) ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/8)]

1. หำค่ำไม่ได้ 2. มีคำ่ เท่ำกับ − 34 3. มีคำ่ เท่ำกับ − 14


4. มีคำ่ เท่ำกับ 14 5. มีคำ่ เท่ำกับ 34
ตอบ 5
แทน 𝑥 = 2 จะเห็นว่ำมีสองตัวที่สว่ น = 0 ลบกันอยู่ ดังนัน้ ต้องจัดรูปให้ 𝑥−2 ตัดกันก่อน
2 1 8 1 2 8
+ 𝑥+2 − 𝑥 2 −4 = + 𝑥−2 − (𝑥−2)(𝑥+2) 1
𝑥−2 𝑥+2
1 2(𝑥+2) − 8 𝑥+2
ไม่ตอ้ งเอำไปรวมก็ได้ เพรำะหำ lim
x2
ได้
= + (𝑥−2)(𝑥+2)
𝑥+2
1 2𝑥 − 4
= 𝑥+2
+ (𝑥−2)(𝑥+2)
1 2(𝑥−2)
= + (𝑥−2)(𝑥+2)
𝑥+2
1 2
= 𝑥+2
+ 𝑥+2
3
= 𝑥+2
3 3
แทน 𝑥 = 2 ใหม่ จะได้ ลิมิต =
2+2
=
4

𝑥 4 −1
9. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(1) = 1 และสาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ , 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 +1
ค่าของ 𝑓(−2) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/5)]
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
ตอบ ก
𝑥 4 −1 (𝑥 2 −1)(𝑥 2 +1)
𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 +1
= 𝑥 2 +1
= 𝑥2 − 1 (ตัวส่วน 𝑥 2 + 1 ไม่มีทางเป็ น 0 อยูแ่ ล้ ว จึงตัดบนล่างได้ เลย)
𝑥3 13
อินทิเกรต จะได้ 𝑓(𝑥) = 3 − 𝑥+𝑐 → แทน 𝑥 = 1 จะได้ 𝑓(1) = 3
−1+𝑐
โจทย์กาหนด 1 =
1
−1+𝑐
3
5
3
= 𝑐

𝑥3 5 (−2)3 5
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 3
−𝑥+3 → จะได้ 𝑓(−2) = 3
− (−2) + 3 = 1

10. ถ้ำเส้นโค้งเส้นหนึง่ ผ่ำนจุด (8, 10) และมีควำมชันของเส้นโค้งที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ เป็ น 𝑥3


3

แล้ว เส้นโค้งนีผ้ ำ่ นจุดในข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/7)]


1. (0, 0) 2. (0, 1) 3. (0, 2) 4. (0, 4) 5. (0, 6)
ตอบ 5
1
𝑥3
ควำมชันของเส้นโค้ง หำได้จำก 𝑦 ′ → จะได้สรุปได้วำ่ 𝑦′ = 3
4 4
𝑥3 𝑥3
อินทิเกรต จะได้ 𝑦 = 4
∙3
+𝑐 =
4
+𝑐
3
4

เส้นโค้งผ่ำน (8, 10) แสดงว่ำ 𝑥 = 8 , 𝑦 = 10 ต้องทำให้สมกำรเส้นโค้งเป็ นจริง → 10 =


83
4
+𝑐
3 4
√8
10 = 4
+𝑐
6 = 𝑐
4
𝑥3
จะได้สมกำรเส้นโค้งคือ 𝑦 = 4
+6
4
03
จุดที่อยูบ่ นเส้นโค้ง จะได้ทำให้สมกำรเส้นโค้งเป็ นจริง → แทน 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 = +6 = 6
.0123456789 4
ตอบ 5
1
𝑥3
ควำมชันของเส้นโค้ง หำได้จำก 𝑦 ′
→ จะได้สรุปได้วำ่ ′
𝑦 = 3
4
𝑥3 𝑥3
4
คลังโจทย์ 5
อินทิเกรต จะได้ 𝑦 = 4
∙3
+𝑐 =
4
+𝑐
3
4

เส้นโค้งผ่ำน (8, 10) แสดงว่ำ 𝑥 = 8 , 𝑦 = 10 ต้องทำให้สมกำรเส้นโค้งเป็ นจริง → 10 =


83
4
+𝑐
3 4
√8
10 = 4
+𝑐
6 = 𝑐
4
𝑥3
จะได้สมกำรเส้นโค้งคือ 𝑦 = 4
+6
4
03
จุดที่อยูบ่ นเส้นโค้ง จะได้ทำให้สมกำรเส้นโค้งเป็ นจริง → แทน 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 = 4
+6 = 6
ดังนัน้ กรำฟผ่ำนจุด (0, 6)
|𝑥−2|
11. lim 2 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/8)]
x 2 𝑥 +5𝑥−14

1 1 1 1
1. −5 2. −9 3. 0 4. 9
5. 5

ตอบ 2
|2−2| 0
แทน 𝑥 = 2 จะได้ 22 +5(2)−14
=0 → ต้องจัดรูปให้ 𝑥 − 2 ตัดกันก่อน
เมื่อ 𝑥 → 2− จะได้วำ่ 𝑥 น้อยกว่ำ 2 นิดๆ ซึง่ จะทำให้ 𝑥 − 2 < 0
𝑘 ;𝑘 ≥ 0
จำกสมบัติของค่ำสัมบูรณ์ จะได้ |𝑥 − 2| = −(𝑥 − 2) |𝑘| = {
−𝑘 ;𝑘 < 0
|𝑥−2| −(𝑥−2)
ดังนัน้ lim 𝑥2+5𝑥−14 = lim (𝑥−2)(𝑥+7)
x 2 x 2
1 1 1
= lim − 𝑥+7 = − 2+7 = −9
x 2

12. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงที่ไม่เท่ำกับศูนย์ และให้ 𝑓 (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 1 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥


2
และ 𝑓(−1) = 0 ถ้ำเรนจ์ของ 𝑓 เท่ำกับ [0, ∞) แล้วค่ำของ  𝑓 (𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
1

[PAT 1 (ก.พ. 2563/17)]


1. 5 2. 7 3. 8 4. 9 5. 11
ตอบ 4
จำก 𝑓 (−1) = 𝑎(−1)2 + 𝑏(−1) + 1
0 = 𝑎−𝑏+1
𝑏−1 = 𝑎 …(∗)
โจทย์ให้เรนจ์ = [0, ∞) แสดงว่ำ 𝑓(𝑥) เป็ นพำรำโบลำหงำย โดยที่จุดยอดจะมีพิกดั Y เท่ำกับ 0
𝑏 4𝑎𝑐 − 𝑏2 4𝑎 − 𝑏 2
ใช้สตู ร (− 2𝑎 , 4𝑎
) จะได้พิกดั Y ของ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 1 คือ 4𝑎
4𝑎 − 𝑏 2
ดังนัน้ 4𝑎
= 0
2
4(𝑏 − 1) − 𝑏 = 0
0 = 𝑏2 − 4𝑎 + 4
0 = (𝑏 − 2)2
𝑏 = 2 → แทนใน (∗) จะได้ 𝑎 = 2−1 = 1
2 2
𝑥3 2
จะได้  𝑓 (𝑥) 𝑑𝑥 =  (𝑥 2 + 2𝑥 + 1) 𝑑𝑥 =
3
+ 𝑥2 + 𝑥 |
1 1 −1
8 −1
= (3 + 4 + 2) − ( 3 + 12 − 1) = 9

.0123456789
6 คลังโจทย์

13. กำหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = { 𝑥 เมื่อ 𝑥<1
𝑥−1 เมื่อ 𝑥>1
ถ้ำ 𝑓(0) = 0 แล้ว 𝑓 (2) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2563/33)]
1. 1 2. 1.5 3. 2 4. 2.5 5. 3
ตอบ 1
𝑥2
เมื่อ + 𝑐1 เมื่อ 𝑥<1
จำก 𝑓 ′ (𝑥) = { 𝑥 𝑥<1 → อินทิเกรต จะได้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥 2 2
𝑥−1 เมื่อ 𝑥>1
2
− 𝑥 + 𝑐2 เมื่อ 𝑥 > 1
(เนื่องจำกทัง้ สองกรณีใช้คนละสูตร ดังนัน้ 𝑐1 กับ 𝑐2 อำจไม่เท่ำกันได้)
02
โจทย์กำหนดให้ 𝑓 (0) = 0 → จะหำ 𝑓(0) ต้องใช้สตู รของกรณี 𝑥 < 1 จะได้ 𝑓(0) =
2
+ 𝑐1
0 = 𝑐1
โจทย์กำหนดให้ 𝑓 ต่อเนื่อง → สูตรของ 𝑓 ทัง้ สองกรณี ต้องมีค่ำเท่ำกันตรงรอยต่อ
𝑥2 𝑥2
→ นั่นคือ เมื่อ 𝑥=1 จะได้ 2
+ 𝑐1 = 2
− 𝑥 + 𝑐2
12 12
+0 = − 1 + 𝑐2
2 2
1 = 𝑐2
22
หำ 𝑓(2) ต้องใช้สตู รของกรณี 𝑥>1 จะได้ 𝑓(2) =
2
− 2 + 𝑐2 = 2 − 2 + 1 = 1

14. ให้ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง และให้ 𝑓(𝑥) = −𝑥3 − 12𝑥2 − 45𝑥 + 𝑐 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥
ถ้ำค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 53 แล้วค่ำของ 𝑓(𝑐) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2563/41)]
ตอบ 33
จุดสูงสุดสัมพัทธ์ เกิดเมื่อ 𝑓′ (𝑥) เปลี่ยนจำกบวกเป็ นลบ : 𝑓 (𝑥) = −𝑥 3 − 12𝑥 2 − 45𝑥 + 𝑐
𝑓 ′ (𝑥) = −3𝑥 2 − 24𝑥 − 45
= −3(𝑥 2 + 8𝑥 + 15)
= −3(𝑥 + 5)(𝑥 + 3)
−3 ที่คูณอยู่ดำ้ นหน้ำ จะทำให้ − + −
เครื่องหมำยสลับเป็ นตรงข้ำม
−5 −3
จะเห็นว่ำ ′(
𝑓 𝑥) เปลี่ยนจำกบวกเป็ นลบที่ 𝑥 = −3 → ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์เกิดที่ 𝑥 = −3
→ จะได้ 𝑓 (−3) = 53
)3
−(−3 − 12(−3 )2 − 45(−3) + 𝑐 = 53
27 − 108 +135 + 𝑐 = 53
𝑐 = −1
จะได้ 𝑓 (𝑐) = 𝑓(−1) = −(−1)3 − 12(−1)2 − 45(−1) + (−1)
= 1 − 12 + 45 −1 = 33

.0123456789
คลังโจทย์ 7

15. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥3 + 𝑎𝑥2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจำนวนจริง


ถ้ำ 𝑓 มีค่ำวิกฤตที่ 𝑥 = −1 และ 𝑥 = 2 แล้ว พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
ก. 𝑓 มีค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ท่ี 𝑥 = −1
ข. 𝑓 มีค่ำต่ ำสุดสัมพัทธ์ท่ี 𝑥 = 2
ค. บนช่วง (−1, 2) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม
ง. บนช่วง (−∞, −1) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด
จำนวนข้อควำมที่ถกู ต้องเท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/21)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมถูกต้อง) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 3
จำก 𝑓 (𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 + 2𝑎𝑥 + 𝑏
ดังนัน้ 𝑓′ (𝑥) เป็ นพหุนำมกำลัง 2 ซึ่งมีตวั เลขที่คณ
ู 𝑥2 คือ 3
และเนื่องจำก 𝑓 มีค่ำวิกฤตที่ 𝑥 = −1, 2 จะสรุปได้ว่ำ 𝑓′ (−1) = 0 และ 𝑓 ′ (2) = 0
จำกข้อมูลทัง้ หมด จะสรุปได้ว่ำ 𝑓′ (𝑥) = 3(𝑥 + 1)(𝑥 − 2)
+ − +
และจะระบุเครื่องหมำยของ 𝑓 ′ (𝑥) ได้
−1 2
ก. 𝑓 𝑥) เปลี่ยนจำก + เป็ น − ที่ 𝑥 = −1 → เป็ นจุดสูงสุดสัมพัทธ์ 
′(

ข. 𝑓′ (𝑥) เปลี่ยนจำก − เป็ น + ที่ 𝑥 = 2 → เป็ นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ 


ค. บนช่วง (−1, 2) จะเห็นว่ำ 𝑓′ (𝑥) เป็ นลบ → เป็ นฟั งก์ชนั ลด 
ง. บนช่วง (−∞, −1) จะเห็นว่ำ 𝑓′ (𝑥) เป็ นบวก → เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม 

.0123456789
8 คลังโจทย์

16. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วงเปิ ด (0 , 6) และกราฟของ 𝑓 ′ เป็ นดังรูป


𝑓 ′ (𝑥)
2

𝑥
0 1 2 3 4 5 6
−1

−2

ข้อใดไม่ถกู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2564/24)]


1. 𝑓 มีจดุ วิกฤตที่ 𝑥 = 1
2. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และ 𝑥 = 4
3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์บนช่วง [2 , 5]
4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (1 , 3)
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ค่าคงตัวบนช่วง (0 , 1)
ตอบ 5
ข้อนีต้ อ้ งระวังให้ดี เพราะกราฟทีโ่ จทย์ให้ เป็ นกราฟของ 𝑦 = 𝑓 ′ (𝑥) ไม่ใช่ 𝑦 = 𝑓(𝑥) การใช้งานจะไม่เหมือนกัน
1. จุดวิกฤติ คือจุดที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 หรือ 𝑓 ′ (𝑥) หาค่าไม่ได้
จะเห็นว่าที่ 𝑥 = 1 กราฟ 𝑓 ′(𝑥) ไม่มีจดุ (วงกลมกลวงๆ คือไม่มีจดุ ) ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) หาค่าไม่ได้ → 1. ถูก
2. ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ เกิดเมื่อ 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจากลบ (กราฟอยูค่ รึง่ ล่างแกน 𝑋) เป็ นบวก (กราฟอยูค่ รึง่ บนแกน 𝑋)
จะเห็นว่าที่ 𝑥 = 1 กับ 𝑥 = 4 กราฟเปลีย่ นจากข้างลางขึน้ ข้างบน → 2. ถูก
3. โจทย์ให้กราฟต่อเนื่องบน (0, 6) แสดงว่า กราฟต่อเนื่องบน [2, 5] (𝑓(2) และ 𝑓(5) หาค่าได้)
𝑓 จึงต้องมีคา่ สูงสุดและต่าสุดสัมบูรณ์บน [2, 5] → 3. ถูก
4. บนช่วง (1 , 3) จะเห็นว่า 𝑓 ′ เป็ นบวก (กราฟอยูค่ รึง่ บนแกน 𝑋) ดังนัน้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม → 4. ถูก
5. บนช่วง (0 , 1) จะเห็นว่า 𝑓 ′ เป็ นลบ (กราฟอยูค่ รึง่ ล่างแกน 𝑋) ดังนัน้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด ไม่ใช่คา่ คงตัว → 5. ผิด

17. ในช่วงเทศกาลวันปี ใหม่ ร้านเบเกอรีแห่งหนึง่ ผลิตเค้กสูตรพิเศษทีม่ ีขอ้ จากัดในการผลิต จึงจะผลิตตามสั่งได้ไม่เกิน


12 ก้อน โดยมีกาไรจากการขายเค้ก 𝑛 ก้อน เท่ากับ 300𝑛 − 45𝑛2 + 2𝑛3 บาท
ร้านเบเกอรีแห่งนีจ้ ะได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายเค้กกี่กอ้ น [PAT 1 (มี.ค. 2564/41)]
ตอบ 5
คือต้องหาค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของ 𝑓(𝑛) = 300𝑛 − 45𝑛2 + 2𝑛3 เมื่อ 𝑛 ∈ [0, 12]
𝑓 ′ (𝑛) = 300 − 90𝑛 + 6𝑛2
= 6(50 − 15𝑛 + 𝑛2 )
= 6(𝑛 − 5)(𝑛 − 10)
+ − +

5 10
จากเครือ่ งหมายของ 𝑓 ′ (𝑛)
จะได้วา่ 𝑓 เพิ่มขึน้ ในช่วง (0, 5) , ลดลงในช่วง (5, 10) และเพิ่มอีกในช่วง (10, 12)
ดังนัน้ จุดทีม่ ีโอกาสเกิดค่าสูงสุดสัมบูรณ์ คือ 𝑛 = 5 และ 𝑛 = 12 เท่านัน้
𝑓(5) = 300(5) − 45(52 ) + 2(53 ) 𝑓(12) = 300(12) − 45(122 ) + 2(123 )
= 5(300 − 225 + 50 ) = 12(300 − 540 + 288 )
= 625 = 576
𝑓(5) มากกว่า ดังนัน้ จะได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายเค้ก 5 ก้อน

.0123456789
𝑓 ′ (𝑛) = 300 − 90𝑛 + 6𝑛2
= 6(50 − 15𝑛 + 𝑛2 )
= 6(𝑛 − 5)(𝑛 − 10)
+ − + คลังโจทย์ 9
5 10
จากเครือ่ งหมายของ 𝑓 ′ (𝑛)
จะได้วา่ 𝑓 เพิ่มขึน้ ในช่วง (0, 5) , ลดลงในช่วง (5, 10) และเพิ่มอีกในช่วง (10, 12)
ดังนัน้ จุดทีม่ ีโอกาสเกิดค่าสูงสุดสัมบูรณ์ คือ 𝑛 = 5 และ 𝑛 = 12 เท่านัน้
𝑓(5) = 300(5) − 45(52 ) + 2(53 ) 𝑓(12) = 300(12) − 45(122 ) + 2(123 )
= 5(300 − 225 + 50 ) = 12(300 − 540 + 288 )
= 625 = 576
𝑓(5) มากกว่า ดังนัน้ จะได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายเค้ก 5 ก้อน

18. ให้ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) = −𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓(0) = 3 และ 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓(1) เท่ากับเท่าใด
[กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/22)]
1. −1 2. 1 3. 3 4. 5 5. 7
ตอบ 4
𝑓 เป็ นพหุนามกาลัง 3 ทีม
่ ีคา่ สูงสุด ต่าสุด สัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1, −1
แสดงว่า 𝑓 ′(𝑥) ต้องอยูใ่ นรูป 𝑑(𝑥 − 1)(𝑥 + 1) เมื่อ 𝑑 เป็ นจานวนจริง …(∗)
= 𝑑(𝑥 2 − 1)
= 𝑑𝑥 2 − 𝑑
𝑑𝑥 3
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = 3
− 𝑑𝑥 +𝑒 เมื่อ 𝑒 เป็ นจานวนจริง …(∗∗)
𝑑(03 )
แทน 𝑥 = 0 : 𝑓(0) = 3
− 𝑑(0) + 𝑒
3 = 𝑒
และโจทย์กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = −𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
เทียบสัมประสิทธิ์ของพจน์ 𝑥 3 กับ 𝑓(𝑥) ใน (∗∗) จะได้ 𝑑3 = −1
𝑑 = −3
จะเห็นว่า 𝑑 เป็ นลบ ทาให้เครือ่ งหมายของ 𝑓 ′ (𝑥) ใน (∗) เป็ นดังรูป − + −

จะได้ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1 และ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 ตรงตามที่โจทย์กาหนด −1 1

−3(13 )
แทน 𝑥=1, 𝑒=3 และ 𝑑 = −3 ใน (∗∗) จะได้ 𝑓(1) = 3
− (−3)(1) + 3 = 5

19. ให้ 𝐿 เป็ นเส้นตรงซึง่ มีความชันเท่ากับ −2 และสัมผัสพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2


พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 เท่ากับกี่ตารางหน่วย [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/26)]
ตอบ 81
จุดที่ 𝐿 สัมผัสพาราโบลา จะเป็ นจุดที่พาราโบลามีความชันเท่ากับ 𝐿 (= −2)
ความชันของพาราโบลา จะหาได้จากการดิฟสมการพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2
𝑦′ = −2𝑥 หาจุดที่ความชัน = −2
−2 = −2𝑥 โดยแทน 𝑦 ′ = −2
1 = 𝑥
ซึง่ บนพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2 เมื่อ 𝑥 = 1 จะได้ 𝑦 = 17 − 12 = 16
ดังนัน้ จุดที่ 𝐿 สัมผัสพาราโบลาคือ (1, 16)
จากสูตร สมการเส้นตรงที่มีความชัน −2 และผ่านจุด (1, 16) คือ 𝑦−16
𝑥−1
= −2
𝑦 − 16 = −2𝑥 + 2
𝑦 = −2𝑥 + 18
พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 จะเป็ น ∆ มุมฉากที่มีจดุ มุมอยูท่ จี่ ดุ กาเนิดและจุดตัดแกน 𝑋 แกน 𝑌
จุดตัดแกน 𝑋 : แทน 𝑦 = 0 จุดตัดแกน 𝑌 : แทน 𝑥 = 0 18
0 = −2𝑥 + 18 𝑦 = −2(0) + 18
𝑥= 9 𝑦= 18
.0123456789 จะได้จดุ ตัดแกน 𝑋 คือ (9, 0) จะได้จดุ ตัดแกน 𝑌 คือ (0, 18)
ดังนัน้ จุดที่ 𝐿 สัมผัสพาราโบลาคือ (1, 16)
จากสูตร สมการเส้นตรงที่มีความชัน −2 และผ่านจุด (1, 16) คือ 𝑦−16
= −2
10 คลังโจทย์ 𝑥−1
𝑦 − 16 = −2𝑥 + 2
𝑦 = −2𝑥 + 18
พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 จะเป็ น ∆ มุมฉากที่มีจดุ มุมอยูท่ จี่ ดุ กาเนิดและจุดตัดแกน 𝑋 แกน 𝑌
จุดตัดแกน 𝑋 : แทน 𝑦 = 0 จุดตัดแกน 𝑌 : แทน 𝑥 = 0 18
0 = −2𝑥 + 18 𝑦 = −2(0) + 18
𝑥= 9 𝑦= 18
จะได้จดุ ตัดแกน 𝑋 คือ (9, 0) จะได้จดุ ตัดแกน 𝑌 คือ (0, 18) 9
1
จะได้พนื ้ ที่ = 2
× ฐาน × สูง
1
= 2
× 9 × 18 = 81

20. ให้ 𝑓(𝑥) = 8 − 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥


กราฟของ 𝑓 และกราฟของ 𝑔 ตัดกัน ดังรูป
𝑌
𝑔

𝑋
0
𝑓
ส่วนที่แรเงามีพืน้ ที่เท่ากับกี่ตารางหน่วย [PAT 1 (มี.ค. 2565/25)]
16√2 32√2 8
1. 3
2. 3
3. 3
(4√2 + 1)
16 32
4. 3
(√2 + 2) 5. 3
(√2 − 1)

ตอบ 5
หาจุดตัดกราฟตรงส่วนที่แรเงาใน 𝑄1 โดยการแก้ระบบสมการ 𝑦 = 8 − 𝑥 2 …(1)
𝑦 = 𝑥2 …(2)
(1) + (2) : 2𝑦 = 8
𝑦 = 4
(2) : 4 = 𝑥2
𝑄1 จะมี 𝑥 > 0
2 = 𝑥
หาจุดที่ 𝑓 ตัดแกน 𝑋 ตรงส่วนที่แรเงาใน 𝑄1 → แทน 𝑦 = 0 : 0 = 8 − 𝑥2
𝑥2 = 8 𝑄1 จะมี 𝑥 > 0
𝑥 = √8
จะได้พิกดั ดังรูป (2,4) ดังนัน้ ส่วนที่แรเงา จะประกอบด้วย พืน้ ที่ใต้ 𝑔 จาก 0 ถึง 2 และพืน้ ที่ใต้ 𝑓 จาก 2 ถึง √8
𝑔 2 √8
𝑓
= ∫ 𝑔(𝑥) 𝑑𝑥 + ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
0 2
0 2 √8 𝑥3 2 𝑥 3 √8
= | + 8𝑥 − |
3 3
0 2
8 8√8 8
= 3
−0 + (8√8 − 3
) − (16 − )
3
32 16√8
= − 3
+ 3
32√2 32 32
= − = (√2 − 1)
3 3 3

.0123456789
คลังโจทย์ 11

21. ให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้าบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 แกน 𝑋 เส้นตรง 𝑥 = 0 และ


เส้นตรง 𝑥 = 5 มีพนื ้ ที่เท่ากับ 135 ตารางหน่วย แล้วความชันของเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 ที่ 𝑥 = 𝑎
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2565/45)]
ตอบ 18
เนื่องจาก 𝑎 เป็ นบวก ดังนัน้ 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 จะเป็ นบวกเสมอ
ทาให้พืน้ ที่ท่ีปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 และแกน 𝑋 จะอยู่เหนือแกน 𝑋
5
จะได้พืน้ ที่ตงั้ แต่ 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 5 คือ ∫ 𝑎𝑥 2 + 2 𝑑𝑥
0
𝑎𝑥 3 5
135 = + 2𝑥 |
3
0

𝑎(53 ) 𝑎(03 )
135 = ( + 2(5)) − ( + 2(0))
3 3

𝑎(52 )
27 = 3
+2
81 = 25𝑎 + 6
3 = 𝑎
แทนในสมการเส้นโค้ง จะได้ 𝑦 = 3𝑥 2 + 2
𝑦 ′ = 6𝑥 → เมื่อ 𝑥=𝑎=3 จะได้ความชันเส้นสัมผัส = 6(3) = 18

22. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓′ (𝑥) = 2𝑥 + 1 ถ้ำ ℎ(𝑥) = 𝑓(𝑥 2 ) แล้ว ℎ ′ (𝑥 ) เท่ำกับเท่ำใด
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/24)]
1. 4𝑥 + 2 2. 2𝑥2 + 1 3. 4𝑥 2 + 2𝑥
4. 4𝑥 3 + 2𝑥 5. 4𝑥 3 + 4𝑥
ตอบ 4
ให้ 𝑔(𝑥) = 𝑥2 จะได้ ℎ(𝑥) = 𝑓 (𝑥2 ) = 𝑓(𝑔(𝑥)) = (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥)
ใช้สตู รดิฟฟั งก์ชนั ประกอบ จะได้ ℎ′ (𝑥) = (𝑓 ∘ 𝑔)′ (𝑥) = 𝑓′ (𝑔(𝑥)) ∙ 𝑔′ (𝑥)
𝑑𝑥 2
= (2𝑔 (𝑥) + 1) ∙ 𝑑𝑥
= (2𝑥 2 + 1) ∙ 2𝑥
= 4𝑥 3 + 2𝑥

.0123456789
12 คลังโจทย์

23. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จำก ℝ ไป ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) เท่ำกับจำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 𝑥
พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
(ก) 𝑥→𝑐
lim 𝑓 (𝑥) มีค่ำ สำหรับทุก 𝑐 ∈ ℝ
(ข) ฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง (𝑛, 𝑛 + 1] เมื่อ 𝑛 เป็ นจำนวนเต็ม
(ค) 𝑓′ (𝑥) = 1 เมื่อ 𝑥 ∈ (𝑛, 𝑛 + 1) และ 𝑛 เป็ นจำนวนเต็ม
จำกข้อควำม (ก) (ข) และ (ค) ข้ำงต้น ข้อใดถูกต้อง [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/25)]
1. ข้อควำม (ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่ำนัน้ 2. ข้อควำม (ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่ำนัน้
3. ข้อควำม (ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่ำนัน้ 4. ข้อควำม (ก) และ (ค) ถูกต้องเท่ำนัน้
5. ข้อควำม (ข) และ (ค) ถูกต้องเท่ำนัน้
ตอบ 2
ลองแทน 𝑥 ด้วยค่ำต่ำงๆ ดู จำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 0.5 คือ 1
จำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 0.99 คือ 1
จำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 1 คือ 1
จำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ที่มำกกว่ำหรือเท่ำกับ 1.1 คือ 2
จะเห็นว่ำ 𝑓(𝑥) คือกำรปั ดเศษขึน้ ให้เป็ นจำนวนเต็มนั่นเอง
(ก) จำกค่ำที่ลอง จะเห็นว่ำ 𝑓(0.99) = 1 ในขณะที่ 𝑓(1.1) = 2
ดังนัน้ 𝑥 → 1− กับ 𝑥 → 1+ จะมีค่ำ 𝑓(𝑥) ไม่เท่ำกัน จึงไม่มีลมิ ิตเมื่อ 𝑥 → 1 (ก) ผิด
(ข) ถ้ำวำดกรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) จะได้ดงั รูป
จะเห็นว่ำเส้นกรำฟต่อเนื่องบนช่วง (𝑛, 𝑛 + 1] เมื่อ 𝑛 เป็ นจำนวนเต็ม (ข) ถูก
(ค) ในแต่ละช่วง (𝑛, 𝑛 + 1] กรำฟจะเป็ นเส้นแนวนอน ที่มีค่ำ 𝑦 เท่ำเดิม (∆𝑦 = 0)
จะได้ควำมชัน = ∆𝑦 ∆𝑥
0
= ∆𝑥 = 0 ดังนัน ้ 𝑓′ (𝑥) = 0 (ค) ผิด

24. ให้ 𝑓 (𝑥) = −𝑥 2 + 𝑘เมื่อ 𝑘 เป็ นจำนวนจริงบวก ถ้ำพืน้ ที่ท่ีปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 เท่ำกับ
36 ตำรำงหน่วย แล้ว 𝑓 (−1) + 𝑓 (1) เท่ำกับเท่ำใด [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/29)]

ตอบ 16
หำจุดตัดแกน 𝑋 → แทน 𝑦 = 0 : 0 = −𝑥 2 + 𝑘
𝑥2 = 𝑘
𝑥 = ±√𝑘
เนื่องจำก สปส ของ 𝑥2 เป็ นลบ จะเป็ นพำรำโบลำคว่ำ → จะวำดกรำฟได้ดงั รูป −√𝑘 √𝑘
√𝑘
จะได้พืน้ ที่ใต้โค้ง คือ ∫ (−𝑥 2 + 𝑘) 𝑑𝑥
−√𝑘
𝑥3 √𝑘
= − 3
+ 𝑘𝑥 |
−√𝑘
4
= (−
√𝑘
3
+ 𝑘√𝑘) − (−
(−√𝑘 )
3
+ 𝑘(−√𝑘))
ดังนัน้ 3
𝑘√𝑘 = 36
3 3
𝑘√𝑘 = 27
𝑘√𝑘 𝑘√𝑘 3
= − + 𝑘√𝑘 − + 𝑘√𝑘 √𝑘 = 33
3 3
1 1 √𝑘 = 3
= 𝑘√𝑘 (− 3 + 1 −3 +1 )
4
𝑘 = 9
= 3
𝑘√𝑘 จะได้ 𝑓 (𝑥) = −𝑥 2 + 9
ดังนัน้ 𝑓 (1) + 𝑓(−1) = (−(1)2 + 9) + (−(−1)2 + 9) = 16

.0123456789
√𝑘
จะได้พืน้ ที่ใต้โค้ง คือ ∫ (−𝑥 2 + 𝑘) 𝑑𝑥
−√𝑘
𝑥3 √𝑘 คลังโจทย์ 13
= − 3
+ 𝑘𝑥 |
−√𝑘
4
= (−
√𝑘
3
+ 𝑘√𝑘) − (−
(−√𝑘 )
3
+ 𝑘(−√𝑘))
ดังนัน้ 3
𝑘√𝑘 = 36
3 3
𝑘√𝑘 = 27
𝑘√𝑘 𝑘√𝑘 3
= − + 𝑘√𝑘 − + 𝑘√𝑘 √𝑘 = 33
3 3
1 1 √𝑘 = 3
= 𝑘√𝑘 (− 3 + 1 −3 +1 )
4
𝑘 = 9
= 3
𝑘√𝑘 จะได้ 𝑓 (𝑥) = −𝑥 2 + 9
ดังนัน้ 𝑓 (1) + 𝑓(−1) = (−(1)2 + 9) + (−(−1)2 + 9) = 16

2
𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
25. ค่ำของ  2 𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/34)]
 4 𝑥|𝑥+2|−𝑥 −2

ตอบ 3
ถอดเครื่ องหมำยค่ำสัมบูรณ์ |𝑥 + 2| ก่อน
โจทย์จะอินทิเกรตในช่วง 𝑥 = −4 ถึง 𝑥 = −2 ซึง่ ในช่วงนี ้จะเห็นว่ำ 𝑥 + 2 ≤ 0
ดังนัน้ |𝑥 + 2| จะเปลีย่ น 𝑥 + 2 ให้ เป็ นบวกโดยกำรคูณลบเข้ ำไป จะได้ |𝑥 + 2| = −(𝑥 + 2)
𝑘 , 𝑘≥0
หมำยเหตุ : สมบัติคำ่ สัมบูรณ์ |𝑘| = {
−𝑘 , 𝑘<0
𝑘 , 𝑘>0
จะย้ ำยกรณี 𝑘 = 0 ไปไว้ สตู รล่ำง เป็ น |𝑘| = {
−𝑘 , 𝑘≤0
ก็ได้ เพรำะเมื่อ 𝑘 = 0 จะได้ 𝑘 = −𝑘

𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥 𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
ดังนัน้ 𝑥|𝑥+2|−𝑥 2 −2
= 𝑥(−(𝑥+2))−𝑥 2 −2
𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
= −𝑥 2 −2𝑥 −𝑥 2 −2
𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
=
−2𝑥 2 −2𝑥−2
𝑥(𝑥 2 +𝑥+1) 𝑥
= −2(𝑥 2 +𝑥+1)
= −2
2 2
𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥 𝑥 𝑥 2 −2 (−2)2 (−4)2
ดังนัน้  2 𝑑𝑥 =  − 𝑑𝑥 = − | = (− )− (− ) = −1 + 4 = 3
 4 𝑥|𝑥+2|−𝑥 −2 2 4 4
−4
4 4

1 2𝑥 3
26. ค่ำของ lim (1 − 𝑥 2 +1
) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 2558/13)]
x 1 √1−𝑥

1. 0 2. 0.5 3. 1
4. 2 5. 4
ตอบ 1
1 2𝑥 1 𝑥 +1−2𝑥 3 −2𝑥 +𝑥 +1 2 3 3 2
จัดให้อยูใ่ นรูปเศษส่วน จะได้ √1−𝑥 (1 − 𝑥 2 +1) = 1−𝑥 ( 𝑥 2 +1 ) = 1−𝑥 (𝑥2 +1)
√ √
ซึง่ ถ้ำแทน 𝑥 = 1 จะได้ 00 ดังนัน้ ทัง้ เศษและส่วน ต้องมี 𝑥 − 1 เป็ นตัวประกอบ
เอำเศษ มำหำรสังเครำะห์ ด้วย 𝑥 − 1 จะได้ผลหำร −2𝑥 2 − 𝑥 − 1 ดังรูป
1 −2 1 0 1
−2𝑥 3 +𝑥 2 +1 (𝑥−1)(−2𝑥 2 −𝑥−1) −(1−𝑥)(−2𝑥 2 −𝑥−1)
−2 −1 −1 ดังนัน้ √1−𝑥 (𝑥 2 +1)
=
√1−𝑥 (𝑥 2 +1)
=
√1−𝑥 (𝑥 2 +1)
−2 −1 −1 0 2
−(√1−𝑥) (−2𝑥 2 −𝑥−1)
=
√1−𝑥 (𝑥 2 +1)
ตัด √1 − 𝑥 ทัง้ เศษและส่วน −√1−𝑥 (−2𝑥 2 −𝑥−1)
= (𝑥 2 +1)
−√1−1 (–2(12 )−1−1) −(0)(–2(12 )−1−1)
แทน 𝑥 = 1 ใหม่ จะได้ (12 +1)
= 2
= 0

.0123456789
14 คลังโจทย์

27. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม ซึง่ 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 และ เมื่อ 𝑥 < −1
𝐺(𝑥) = {
𝑥+5
เมื่อ 𝑥 ≥ −1
𝑓(𝑥)
ถ้ำ 𝐺(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓 มีคำ่ ต่ำสุดสัมพัทธ์เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/25)]
1. −2 2. −1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 5
3𝑥 3 6𝑥 2
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 จะได้ 𝑓(𝑥) =
3

2
+𝑐
3 2
= 𝑥 − 3𝑥 + 𝑐 …(∗)

𝐺(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = −1 ดังนัน้ บริเวณรอยต่อที่ 𝑥 = −1 ต้องได้ 𝑥 + 5 = 𝑓(𝑥)


−1 + 5 = 𝑓(−1)
4 = (−1)3 − 3(−1)2 + 𝑐
8 = 𝑐
แทนใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 8
ค่ำ สูงสุด/ต่ำสุด สัมพัทธ์ จะเกิดที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 → 3𝑥 2 − 6𝑥 = 0
3𝑥(𝑥 − 2) = 0
+ − +
𝑥=0, 2
0 2
ค่ำต่ำสุดสัมพัทธ์ จะเกิด ณ จุดที่ 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจำก − เป็ น + นั่นคือ ที่ 𝑥=2
จะได้คำ่ ต่ำสุดสัมพัทธ์ = 𝑓(2) = 23 − 3(22 ) + 8 = 4

28. ให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง ถ้ากราฟของ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 ผ่านจุด (0, 1) , (1, 3) และจุด (2, 2)
แล้วพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) และเส้นตรง 𝑦 = 𝑥 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 2560/17)]
1. 52 ตารางหน่วย 2. 83 ตารางหน่วย 3. 3 ตารางหน่วย
7
4. 2
ตารางหน่วย 5. 5 ตารางหน่วย
ตอบ 3
กราฟผ่าน (0, 1), (1, 3), (2, 2) → แสดงว่าแทนทัง้ 3 จุดในกราฟ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แล้วสมการเป็ นจริง
(0, 1) : 1 = 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 𝑐
1= 𝑐
(1, 3) : 3 = 𝑎(12 ) + 𝑏(1) + 𝑐 (2, 2) : 2 = 𝑎(22 ) + 𝑏(2) + 𝑐
3= 𝑎 +𝑏 +1 2 = 4𝑎 + 2𝑏 + 1
2= 𝑎 +𝑏 …(1) 1 = 4𝑎 + 2𝑏 …(2)
(1) × 2 : 4 = 2𝑎 + 2𝑏 …(3)
3
2 = −2 +𝑏 (2) − (3) : −3 = 2𝑎
3
7
= 𝑏 แทนค่า 𝑎 ใน (1) −2 = 𝑎
2
3 7
จะได้ 𝑓(𝑥) = − 𝑥 2 + 𝑥 + 1
2 2

𝑎 เป็ นลบ จะได้ 𝑓 เป็ นพาราโบลาคว่า → วาดส่วนที่ปิดล้อมกับเส้นตรง 𝑦 = 𝑥 ได้ดงั รูป (1, 3) 𝑦=𝑥
จะเห็นว่า 𝑥=0 ถึง 𝑥=2 กราฟพาราโบลาอยูเ่ หนือเส้นตรงตลอดทัง้ ช่วง
2 (2, 2)
3 7
ดังนัน้ จะไม่ตอ้ งแบ่งอินทิเกรต จะได้พนื ้ ที่ =  (− 𝑥 2 + 𝑥 + 1) − (𝑥) 𝑑𝑥
2 2 (0, 1)
0
2
3 5
=  − 2 𝑥 2 + 2 𝑥 + 1 𝑑𝑥
0
2
.0123456789 1 3 5 2
(1) × 2 : 4 = 2𝑎 + 2𝑏 …(3)
3
2= −2 +𝑏 (2) − (3) : −3 = 2𝑎
3
7
= 𝑏 แทนค่า 𝑎 ใน (1) −2 = 𝑎
2
3 7
คลังโจทย์ 15
จะได้ 𝑓(𝑥) = − 𝑥2
2
+
2
𝑥 +1

𝑎 เป็ นลบ จะได้ 𝑓 เป็ นพาราโบลาคว่า → วาดส่วนที่ปิดล้อมกับเส้นตรง 𝑦 = 𝑥 ได้ดงั รูป (1, 3) 𝑦=𝑥
จะเห็นว่า 𝑥=0 ถึง 𝑥=2 กราฟพาราโบลาอยูเ่ หนือเส้นตรงตลอดทัง้ ช่วง
2 (2, 2)
3 7
ดังนัน้ จะไม่ตอ้ งแบ่งอินทิเกรต จะได้พนื ้ ที่ =  (− 2 𝑥 2 +
2
𝑥 + 1) − (𝑥) 𝑑𝑥 (0, 1)
0
2
3 5
=  − 2 𝑥 2 + 2 𝑥 + 1 𝑑𝑥
0
1 5 2
= − 𝑥3 + 𝑥2 + 𝑥 | = (−4 + 5 + 2) − (0) = 3
2 4
0

29. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5 และ 𝑔(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง


1
ถ้า (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(0) = 2 ,  𝑓 −1 (𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥 = 1 และ (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(𝑥) มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1
0

แล้วค่าของ 𝑔(1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2560/33)]

ตอบ 6
จาก (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(0) = 2 หา 𝑓 −1 : 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5
𝑓 −1 (𝑔(0)) = 2 𝑦 = 2𝑥 + 5
𝑔(0) = 𝑓(2) 𝑦−5
= 𝑥
2 2
𝑎(0 ) + 𝑏(0) + 𝑐 = 2(2) + 5 𝑥−5
𝑐 = 9 = 𝑦
2
ดังนัน้ 𝑔(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 9 ดังนัน้ 𝑓 −1 (𝑥) =
𝑥−5
2

จะได้ (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓 −1 (𝑔(𝑥)) 1


= 𝑓 −1 (𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 9)  𝑓 −1 (𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥 = 1
𝑎𝑥 2 +𝑏𝑥+9 − 5 0
= 2 1
𝑎 𝑏
=
𝑎 2
𝑥 +
𝑏
𝑥 +2  2 𝑥 2 + 2 𝑥 + 2 𝑑𝑥 = 1
2 2 0
𝑎 3 𝑏 2 1
ดิฟ 6
𝑥 + 4
𝑥 + 2𝑥 | = 1
0
𝑏 𝑎 𝑏
𝑎𝑥 + ( 6+4+2)−0 = 1
มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 2
𝑏 𝑎 𝑏
แสดงว่า ดิฟ = 0 เมื่อ 𝑥 = 1 𝑎(1) + 2 = 0 6
+ +2
4
= 1
2𝑎 + 𝑏 = 0 …(1) 2𝑎 + 3𝑏 = −12 …(2)
(2) − (1) : 2𝑏 = −12
𝑏 = −6
(1) : 2𝑎 − 6 = 0
𝑎 = 3
แทนค่า 𝑎, 𝑏 จะได้ 𝑔(𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 + 9 ดังนัน้ 𝑔(1) = 3(12 ) − 6(1) + 9 = 6

.0123456789
16 คลังโจทย์

𝑥 (𝑥+1)
3 𝑥−3
30. ค่าของ lim 3
x  3 √𝑥−2 − 1
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2560/38)]

ตอบ 81
3 (3+1)
ถ้าแทน 𝑥 = 3 จะได้ 3 3(3) −3
√3−2 − 1
81−81 0
= 1−1 = 0 ดังนัน ้ ต้องจัดรูป ให้ 𝑥 − 3 โผล่ออกมาตัดกันก่อน
โดย ตัวเศษ จะใช้การแยกตัวประกอบ และ ตัวส่วน จะทาให้เป็ นผลต่างกาลังสามเพื่อกาจัดรูทสาม ดังนี ้
2 3 2 3 3 2 3
3𝑥 𝑥 − 3(𝑥+1) 3𝑥 𝑥 − 3𝑥 31
3 3
√𝑥−2 + √𝑥−2+1 3𝑥 (𝑥 −3) ( √𝑥−2 + √𝑥−2+1) 3𝑥 (𝑥 −3) ( √𝑥−2 + √𝑥−2+1)
3 = 3 ∙3 2 3
= 3 3 = 𝑥−3
√𝑥−2 − 1 √𝑥−2 − 1 √𝑥−2 + √𝑥−2+1 √𝑥−2 − 13
2
= 3 ( √𝑥 − 2 + 3√𝑥 − 2 + 1)
𝑥 3

คูณ น2 + นล + ล2 ทัง้ เศษและส่วนเพื่อเข้าสูตร


(น − ล)(น2 + นล + ล2 ) = น3 − ล3 เมื่อตัด 𝑥−3 ได้แล้ว ลองแทน 𝑥 = 3 ใหม่
2
จะได้ 3 3
33 (√3 − 2 + √3 − 2 + 1) = 81

31. กำหนดพำรำโบลำ 𝑝(𝑥) = 2017𝑥 2 − 2560𝑥 − 743


ให้ 𝐿1 และ 𝐿2 เป็ นเส้ นสัมผัสพำรำโบลำ 𝑝(𝑥) ที่จดุ (−10, 𝑝(−10)) และที่จดุ (1000, 𝑝(1000)) ตำมลำดับ
ถ้ ำ 𝐿1 และ 𝐿2 ตัดกันที่จดุ (𝑥0, 𝑦0 ) แล้ ว 𝑥0 มีคำ่ เท่ำใด [สมำคม (พ.ย. 2560/22)]
ตอบ 495
เปลีย่ นเลขเยอะๆ ให้ เป็ นตัวแปรให้ หมด เพรำะสุดท้ ำยแล้ ว มันน่ำจะตัดกันเองได้
ให้ 𝑎 = 2017 , 𝑏 = −2560 , 𝑐 = −734 จะได้ 𝑝(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
ดิฟ จะได้ ควำมชันเส้ นสัมผัส → 𝑝′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏
ให้ 𝑚 = −10 ให้ 𝑛 = 1000
จะได้ 𝐿1 ผ่ำนจุด (𝑚, 𝑝(𝑚)) และมีควำมชัน 𝑝′ (𝑚) จะได้ 𝐿2 ผ่ำนจุด (𝑛, 𝑝(𝑛)) และมีควำมชัน 𝑝′ (𝑛)
𝑦−𝑝(𝑚) 𝑦−𝑝(𝑛)
𝐿1 : = 𝑝′ (𝑚) 𝐿2 :
𝑥−𝑛
= 𝑝′ (𝑛)
𝑥−𝑚
𝑦 = 𝑥𝑝′ (𝑚) − 𝑚𝑝′ (𝑚) + 𝑝(𝑚) 𝑦 = 𝑥𝑝′ (𝑛) − 𝑛𝑝′ (𝑛) + 𝑝(𝑛)

แก้ ระบบสมกำร 𝐿1 กับ 𝐿2 เพื่อหำจุดตัด จะได้


𝑥𝑝′ (𝑚) − 𝑚𝑝′ (𝑚) + 𝑝(𝑚) = 𝑥𝑝′ (𝑛) − 𝑛𝑝′ (𝑛) + 𝑝(𝑛)
𝑥𝑝′ (𝑚) − 𝑥𝑝′ (𝑛) = 𝑚𝑝′ (𝑚) − 𝑛𝑝′ (𝑛) − 𝑝(𝑚) + 𝑝(𝑛)
𝑚𝑝′ (𝑚)−𝑛𝑝′ (𝑛)−𝑝(𝑚)+𝑝(𝑛)
𝑥 = 𝑝′ (𝑚)−𝑝′ (𝑛)
2𝑎𝑚2 +𝑏𝑚−2𝑎𝑛2 −𝑏𝑛−𝑎𝑚2 −𝑏𝑚−𝑐+𝑎𝑛2 +𝑏𝑛+𝑐
𝑥 = 2𝑎𝑚+𝑏−2𝑎𝑛−𝑏
2𝑎𝑚2 −2𝑎𝑛2 −𝑎𝑚2 +𝑎𝑛2
𝑥 = 2𝑎𝑚−2𝑎𝑛
𝑎𝑚2 −𝑎𝑛2
𝑥 = 2𝑎𝑚−2𝑎𝑛
𝑎(𝑚−𝑛)(𝑚+𝑛)
𝑥 = 2𝑎(𝑚−𝑛)
𝑚+𝑛 −10+1000
𝑥 = 2
= 2
= 495

.0123456789
คลังโจทย์ 17

32. จงหำจำนวนจริง 𝑥 ทังหมดที


้ ่ทำให้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 1) มีคำ่ สูงสุดสัมพัทธ์หรื อค่ำต่ำสุด
สัมพัทธ์ [สมำคม (พ.ย. 2560/29)]
ตอบ 0 , 54 , 2
หำสูตรดิฟ 3 ตัวคูณกันได้ จำกกำรแบ่งกลุม่ 𝑢𝑣𝑤 = 𝑢(𝑣𝑤)
(𝑢𝑣𝑤)′ = 𝑢′ (𝑣𝑤) + 𝑢(𝑣𝑤)′
= 𝑢′ 𝑣𝑤 + 𝑢(𝑣 ′ 𝑤 + 𝑣𝑤 ′ )
= 𝑢′ 𝑣𝑤 + 𝑢𝑣 ′ 𝑤 + 𝑢𝑣𝑤 ′
ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) = 4(𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)3 (𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)4 3(𝑥 + 1)2 (𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)4 (𝑥 + 1)3 (1)
= (𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)2 (4(𝑥 + 1)(𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)3(𝑥 − 1) + (𝑥 − 2)(𝑥 + 1))
= (𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)2 ( 4𝑥 2 − 4 + 3𝑥 2 − 9𝑥 + 6 + 𝑥2 − 𝑥 − 2 )
3 2 2
(𝑥 − 2) (𝑥 + 1) ( 8𝑥 − 10𝑥 )
=
= (𝑥 − 2)3 (𝑥 + 1)2 (2𝑥)(4𝑥 − 5)

จุดสัมพัทธ์ คือจุดที่ 𝑓 ′(𝑥) เปลีย่ นเครื่องหมำย (จำกบวกเป็ นลบ หรื อลบเป็ นบวก) ซึง่ จะเกิดเมื่อวงเล็บยกกำลังคีเ่ ป็ น 0
จะได้ จดุ สัมพัทธ์เกิดเมื่อ 𝑥 = 2 , 0 , 54
6
33. สมกำรของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥+1
ที่จดุ (1, 3) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/9)]
1. 𝑥 + 𝑦 = 4 2. 3𝑥 − 2𝑦 = −3 3. 3𝑥 + 2𝑦 = 9
4. 2𝑥 − 3𝑦 = −7 5. 2𝑥 + 3𝑦 = 11
ตอบ 3
หำควำมชันที่จดุ (1, 3) → ต้องหำ 𝑦 ′ : 𝑦 =
6
𝑥+1
= 6(𝑥 + 1)−1
𝑑
𝑦′ = (−1)6(𝑥 + 1)−2 ∙ 𝑑𝑥 (𝑥 + 1)
= −6(𝑥 + 1)−2
6 3
ที่จดุ (1, 3) → แทน 𝑥 = 1 จะได้ 𝑦 ′ = −6(1 + 1)−2 = − 4 = − 2

จะได้สมกำรเส้นตรงที่ผำ่ น (1, 3) และมีควำมชัน − 32


สมกำรกรำฟเส้นตรงที่ผ่ำนจุด (𝑎, 𝑏)
คือ 𝑦−3 = −2
3
𝑥−1 และมีควำมชัน = 𝑚 คือ 𝑦−𝑏 =𝑚
2𝑦 − 6 = −3𝑥 + 3 𝑥−𝑎

3𝑥 + 2𝑦 = 9

2√𝑥 𝑥 2 −23+√𝑥 √𝑥
34. lim
x 4 √𝑥−2
มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2561/14)]

1. 32 2. 64 3. 80 4. 96 5. 128

ตอบ 4
2 2
2√𝑥 𝑥 2 −23+√𝑥 √𝑥 2√𝑥 (√𝑥 ) −23 2√𝑥 √𝑥
lim = lim
x 4 √𝑥−2 x 4 √𝑥−2
4
2√𝑥 √𝑥 − 232√𝑥 √𝑥
= lim
x 4 √𝑥−2
3
ดึงตัวร่วม 2√𝑥 √𝑥
2√𝑥 𝑥 (√𝑥 − 23 )
= lim √ 𝑥−2
x 4 √
2 𝑎3 − 𝑏 3 = (𝑎 − 𝑏)(𝑎2 + 𝑎𝑏 + 𝑏 2 )
2√𝑥 √𝑥 (√𝑥−2)(√𝑥 +2√𝑥+22)
= lim
x 4 √𝑥−2
2
= lim 2√𝑥 √𝑥 (√𝑥 + 2√𝑥 + 22 )
x 4
2
= 2√4 √4 (√4 + 2√4 + 22 ) = 8(4 + 4 + 4) = 96

.0123456789
18 คลังโจทย์

35. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏√𝑥 + 1
เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝑓(0) = 1 และ 𝑓 ′ (1) = 𝑓 ′(4) = 0 แล้ว (𝑓 ∘ 𝑓)(4) มีคำ่ เท่ำกับ
ข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2561/15)]
1. 1.25 2. 1.75 3. 2.25 4. 2.75 5. 3.25
ตอบ 1
จำก 𝑓′(1) = 0 𝑓′(4) = 0
2𝑎(1) + 𝑏√1 + 1 = 0 2𝑎(4) + 𝑏√4 + 1 = 0
2𝑎 + 𝑏 + 1 = 0 …(1) 8𝑎 + 2𝑏 + 1 = 0 …(2)
กำจัด 𝑎 → 4×(1) − (2) : (8𝑎 + 4𝑏 + 4) − (8𝑎 + 2𝑏 + 1) = 0
2𝑏 + 3 = 0
3
𝑏 = −2
3
แทน 𝑏 ใน (1) : 2𝑎 + (− 2) + 1 = 0
1
2𝑎 = 2
1
𝑎 = 4

1 3 1 3 1
แทนค่ำ 𝑎, 𝑏 ใน 𝑓 ′ (𝑥) จะได้ 𝑓 ′ (𝑥) = 2 (4) 𝑥 − 2 √𝑥 + 1 = 2
𝑥 − 2
𝑥2 + 1
3
1 2
อินทิเกรต จะได้ 𝑓(𝑥) = 4
𝑥 − 𝑥 2 +𝑥 + 𝑐
และจำก 𝑓(0) = 1
3
1
4
(02 ) − 0 +0+𝑐 = 1
2
3
1 2
𝑐 = 1 จะได้ 𝑓(𝑥) = 4
𝑥 − 𝑥2 + 𝑥 + 1
3
1
ดังนัน้ (𝑓 ∘ 𝑓)(4) = 𝑓(𝑓(4)) = 𝑓 ( (42 ) − 42 + 4 + 1)
4
= 𝑓( 4 − 8 + 4 + 1)
= 𝑓( 1 )
3
1
= 4
(12 ) −
12 + 1 + 1
= 0.25 − 1 + 1 + 1 = 1.25

36. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจำนวนจริง


ถ้ำ 𝑓(−1) + 𝑓(1) = 14 , 𝑓 ′ (1) = 2𝑓(1) และ 𝑓 ′ (0) + 𝑓 ′′ (0) = 6
1
แล้ว  𝑓(3𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2561/36)]
0

ตอบ 11
จำก 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 จะได้ 𝑓(−1) + 𝑓(1) = 14
𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏 𝑎(−1)2 + 𝑏(−1) + 𝑐 + 𝑎(1)2 + 𝑏(1) + 𝑐 = 14
𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑎 2𝑎 + 2𝑐 = 14
𝑎 + 𝑐 = 7 …(1)

และจำก 𝑓 ′ (1) = 2𝑓(1) และจำก 𝑓 ′ (0) + 𝑓 ′′ (0) = 6


2𝑎(1) + 𝑏 = 2(𝑎(1)2 + 𝑏(1) + 𝑐) 2𝑎(0) + 𝑏 + 2𝑎 = 6
2𝑎 + 𝑏 = 2𝑎 + 2𝑏 + 2𝑐 2𝑎 + 𝑏 = 6 …(3)
0 = 𝑏 + 2𝑐 …(2)
(3) − (2) : (2𝑎 + 𝑏) − (𝑏 + 2𝑐) = 6 − 0 (1) + (4) : 𝑎 + 𝑐 + 𝑎 − 𝑐 = 7 + 3
2𝑎 − 2𝑐 = 6 2𝑎 = 10
𝑎−𝑐 = 3 …(4) 𝑎 = 5
แทนใน (4) : 5 − 𝑐 = 3
2 = 𝑐
แทนใน (2) : 𝑏 + 2(2) = 0
.0123456789
𝑎 + 𝑐 = 7 …(1)

และจำก 𝑓 ′ (1) = 2𝑓(1) และจำก 𝑓 ′ (0) + 𝑓 ′′ (0) = 6


2𝑎(1) + 𝑏 = 2(𝑎(1)2 + 𝑏(1) + 𝑐) 2𝑎(0) + 𝑏 + 2𝑎 = 6
2𝑎 + 𝑏 = 2𝑎 + 2𝑏 + 2𝑐 2𝑎 + 𝑏
คลังโจทย์
= 6 …(3)
19
0 = 𝑏 + 2𝑐 …(2)
(3) − (2) : (2𝑎 + 𝑏) − (𝑏 + 2𝑐) = 6 − 0 (1) + (4) : 𝑎 + 𝑐 + 𝑎 − 𝑐 = 7 + 3
2𝑎 − 2𝑐 = 6 2𝑎 = 10
𝑎−𝑐 = 3 …(4) 𝑎 = 5
แทนใน (4) : 5 − 𝑐 = 3
2 = 𝑐
แทนใน (2) : 𝑏 + 2(2) = 0
𝑏 = −4
แทน 𝑎, 𝑏, 𝑐 จะได้ 𝑓(𝑥) = 5𝑥 2 − 4𝑥 + 2
𝑓(3𝑥) = 5(3𝑥)2 − 4(3𝑥) + 2
= 45𝑥 2 − 12𝑥 + 2
1 1
 𝑓(3𝑥) 𝑑𝑥 = 15𝑥 3 − 6𝑥 2 + 2𝑥 |
0 0
= (15 − 6 + 2) − 0 = 11

37. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 1 เมื่อ 𝑎, 𝑏 เป็ นจำนวนจริง


1
𝑓(𝑥) − 𝑓(2) 1 𝑓′ (𝑥) − 𝑓′ (4)
ถ้ำ lim 𝑥−2
= 0 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 4
แล้ว lim 𝑥−4
เท่ำกับเท่ำใด
x2 0 x4

[PAT 1 (ก.พ. 2561/37)]

ตอบ 18
𝑓(𝑥) − 𝑓(2)
จำกนิยำม จะได้ lim
x2 𝑥−2
คือ อนุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 = 2 → = 𝑓 ′ (2)
𝑓(𝑥) − 𝑓(2)
ดังนัน้ lim 𝑥 − 2 = 𝑓 ′ (2)
x2
= 0

จำก 𝑓(𝑥) = 3 2
𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 + 1
𝑓′(𝑥) = 3𝑎𝑥 2 + 2𝑏𝑥 12𝑎 + 4𝑏 = 0
𝑓′(2) = 3𝑎(22 ) + 2𝑏(2) 3𝑎 + 𝑏 = 0
= 12𝑎 + 4𝑏 𝑏 = −3𝑎 …(∗)
1
1
และจำก  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =
4
𝑎 −3𝑎
+ 3 +1 = 4
1
0
1
จำก (∗) 4
𝑎𝑥 4 𝑏𝑥 3 1 𝑎 − 4𝑎 + 4 = 1
+ +𝑥| =
4 3
0
4 −3𝑎 = −3
𝑎 𝑏 1 𝑎 = 1
(4 + 3 + 1) − 0 = 4
แทนใน (∗) จะได้ 𝑏 = −3(1) = −3
𝑓′ (𝑥) − 𝑓′ (4)
จำกนิยำม จะได้ lim
x4 𝑥−4
คือ อนุพนั ธ์ของ 𝑓′(𝑥) เมื่อ 𝑥 = 4 → = 𝑓 ′′ (4)

จำก 𝑓′(𝑥) = 3𝑎𝑥 2 + 2𝑏𝑥


= 3(1)𝑥 2 + 2(−3)𝑥
= 3𝑥 2 − 6𝑥
𝑓′′(𝑥) = 6𝑥 − 6
𝑓′′(4) = 6(4) − 6 = 18

.0123456789
20 คลังโจทย์

𝑓(𝑥)
38. กาหนดให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั มีสมบัติวา่ lim 2
x1 𝑥 −1
= 1 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
[สมาคม (พ.ย. 2561/5)]
ก. 𝑓(1) = 0 ข. 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1
ค. lim
x1
𝑓(𝑥) = 0 ง. lim
x1
𝑓(𝑥) ไม่มีคา่

ตอบ ค
𝑓(𝑥) 𝑓(𝑥)
ก. lim
x1 𝑥 2 −1 คือค่าประมาณของ 𝑥 2 −1
เมื่อ 𝑥 เข้ าใกล้ 1 ซึง่ เป็ นคนละอย่างกับ ค่าของ 𝑥𝑓(𝑥)
2 −1 เมื่อ 𝑥 = 1

(ถึงแม้ วา่ ส่วนใหญ่มนั จะเท่ากัน แต่ก็มีบางทีที่สองค่านีอ้ าจไม่เท่ากันได้ )


จึงสรุปอะไรเกี่ยวกับ 𝑓(1) ไม่ได้ (เนือ่ งจาก 𝑓(1) คือค่าของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 = 1) → ก. ผิด
ข. ต่อเนื่องเมื่อ lim
x1
𝑓(𝑥) = 𝑓(1) แต่เราไม่ร้ ู เกี่ยวกับ 𝑓(1) จึงไม่ร้ ู วา่ ต่อเนื่องหรื อไม่ → ข. ผิด

ค. เมื่อ 𝑥 เข้ าใกล้ 1 จะทาให้ ตวั ส่วน 𝑥 2 − 1 เข้ าใกล้ 12 − 1 = 0


ดังนัน้ เมื่อ 𝑥 เข้ าใกล้ 1 จะต้ องทาให้ ตวั เศษเข้ าใกล้ 0 ด้ วย จึงจะเข้ ารูปแบบ 00 ที่ทาให้ lim 𝑓(𝑥)
2
x1 𝑥 −1
หาค่าได้
นัน่ คือ lim
x1
𝑓(𝑥) ต้ องเป็ น 0 → ค. ถูก
ง. เนื่องจาก ค. ถูก จึงทาให้ ง. ผิด

39. กำหนดให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นพำรำโบลำมีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, 0) Y


𝑦 = 𝑓(𝑥)
และ 𝑦 = 𝑔(𝑥) เป็ นพำรำโบลำมีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (1, 4) ซึง่ มีกรำฟดังรูป
(1, 4)
พืน้ ที่ของบริเวณที่แรเงำ มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/22)]
1. 1 ตำรำงหน่วย 2. 43 ตำรำงหน่วย X
0
3. 32 ตำรำงหน่วย 4. 53 ตำรำงหน่วย 𝑦 = 𝑔(𝑥)
5. 2 ตำรำงหน่วย
ตอบ 2
𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจดุ ยอด (ℎ, 𝑘) อยูท่ ี่ (0, 0)
เทียบกับรูปสมกำร 𝑦 = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎(𝑥 − 0)2 + 0
𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2
กรำฟผ่ำน (1, 4)
4 = 𝑎(12 )
4 = 𝑎 → จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 2
ทำแบบเดียวกันเพื่อหำสมกำรของ 𝑔(𝑥)
𝑦 = 𝑔(𝑥) มีจดุ ยอด (ℎ, 𝑘) อยูท่ ี่ (1, 4) จะได้ 𝑔(𝑥) = 𝑎(𝑥 − 1)2 + 4
กรำฟผ่ำน (0, 0)
0 = 𝑎(0 − 1)2 + 4
−4 = 𝑎 → จะได้ 𝑔(𝑥) = −4(𝑥 − 1)2 + 4
= −4(𝑥 2 − 2𝑥 + 1) + 4
= −4𝑥 2 + 8𝑥
1
จะได้พนื ้ ที่ที่แรเงำ =  (เส้นบน − เส้นล่ำง) 𝑑𝑥 1
0 =  (−8𝑥 2 + 8𝑥) 𝑑𝑥
1 0
=  ( 𝑔(𝑥) − 𝑓(𝑥) ) 𝑑𝑥 8 1
0 = − 𝑥 3 + 4𝑥 2 |
3
1 0
8 4
=  (−4𝑥 2 + 8𝑥 − 4𝑥 2)
𝑑𝑥 = (− 3 + 4) − (0) = 3
0

.0123456789
คลังโจทย์ 21

40. ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นเส้นโค้งผ่ำนจุด (0, 1) และจุด (1, 1) และเส้นสัมผัสของเส้นโค้งที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ มีควำมชัน
เท่ำกับ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝑓 ′ (0) = 1 และ 𝑓 ′′(1) = 2 แล้วฟั งก์ชนั 𝑓 มี
ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/10)]
1. 1127
2. 13
27
3. 31
27
4. 34 27
5. 43 27

ตอบ 3
ควำมชัน คือ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แสดงว่ำ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 ซึง่ จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏
แทน 𝑥 = 0 แทน 𝑥 = 1
𝑓 ′ (0) = 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 𝑐 𝑓 ′′ (1) = 2𝑎(1) + 𝑏
1 = 𝑐 2 = 2𝑎 + 𝑏
2 − 2𝑎 = 𝑏
แทนค่ำ 𝑏 , 𝑐 ใน 𝑓 ′(𝑥) จะได้ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + (2 − 2𝑎)𝑥 + 1
𝑎𝑥 3 (2−2𝑎)𝑥 2 อินทิเกรต
𝑓(𝑥) = + +𝑥+𝑑
3 2

แทน 𝑥 = 0 : แทน 𝑥 = 1 :
( 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่ำน (0, 1) แสดงว่ำ 𝑓(0) = 1 ) ( 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่ำน (1, 1) แสดงว่ำ 𝑓(1) = 1 )
𝑎(0)3 (2−2𝑎)(0)2 𝑎(1)3 (2−2𝑎)(1)2
𝑓(0) = + +0+𝑑 𝑓(1) = + +1+𝑑
3 2 3 2
1 = 𝑑 𝑎
1 = 3
+ 1−𝑎 +1+1
2
3
𝑎 = 2
𝑎 = 3

3𝑥 3 (2−2(3))𝑥 2
แทนค่ำ 𝑑 , 𝑎 จะได้ 𝑓(𝑥) =
3
+
2
+𝑥+1
3 2
= 𝑥 − 2𝑥 + 𝑥 + 1 ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ จะเกิดเมื่อ
𝑓 ′ (𝑥)
= 3𝑥 2 − 4𝑥 + 1 𝑓′ (𝑥) เปลี่ยนจำกบวกเป็ นลบ
= (3𝑥 − 1)(𝑥 − 1)
+ − +
→ สูงสุดสัมพัทธ์ เมื่อ 𝑥 = 13
1
1
3

1 1 1 3 1 2 1
แทน 𝑥=
3
จะได้ ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ 𝑓( ) = ( ) − 2( ) + ( ) + 1
3 3 3 3
1 2 1 1−6+9+27 31
= 27
− 9
+ 3
+1 = 27
= 27

41. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนำมกำลังสอง ซึง่ มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง ถ้ำเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่ำนจุด (2, 2)
2
และมีจดุ สูงสุดสัมพัทธ์ที่จดุ (1, 3) แล้วค่ำของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/22)]
1
16
1. 7 2. 6 3. 3
4.14
3
5. 8
3

ตอบ 2
ฟั งก์ชนั กำลังสองจะมีกรำฟเป็ นรูปพำรำโบลำ และจุดสูงสุด (1, 3) จะคือจุดยอด (ℎ, 𝑘)
เทียบกับรูปสมกำร 𝑦 = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 จะได้สมกำรกรำฟคือ 𝑦 = 𝑎(𝑥 − 1)2 + 3
กรำฟผ่ำน (2, 2) แสดงว่ำ (2, 2) ต้องทำให้สมกำรกรำฟเป็ นจริง → 2 = 𝑎(2 − 1)2 + 3
−1 = 𝑎
จะได้ 𝑓(𝑥) = (−1)(𝑥 − 1)2 + 3
= (−1)(𝑥 2 − 2𝑥 + 1) + 3 = −𝑥 2 + 2𝑥 + 2
2 2
𝑥3
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − 3
+ 𝑥 2 + 2𝑥 |
1 −1
23 (−1)3
.0123456789 = (− + 22 + 2(2)) − (− + (−1)2 + 2(−1))
เทียบกับรูปสมกำร 𝑦 = 𝑎 𝑥 − ℎ + 𝑘 จะได้สมกำรกรำฟคือ 𝑦 = 𝑎 𝑥−1 +3
กรำฟผ่ำน (2, 2) แสดงว่ำ (2, 2) ต้องทำให้สมกำรกรำฟเป็ นจริง → 2 = 𝑎(2 − 1) + 3 2

−1 = 𝑎
22 คลั
งโจทย์ 𝑓(𝑥)
จะได้ = (−1)(𝑥 − 1)2 + 3
= (−1)(𝑥 2 − 2𝑥 + 1) + 3 = −𝑥 2 + 2𝑥 + 2
2 2
𝑥3
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − 3
+ 𝑥 2 + 2𝑥 |
1 −1
23 2 (−1)3
= (− 3 + 2 + 2(2)) − (− 3
+ (−1)2 + 2(−1))
8 1
= −3 +4 + 4 −3 − 1 + 2 = 6

42. ให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง ให้ เป็ นฟั งก์ชนั ทีม่ ีอนุพนั ธ์และสอดคล้องกับ
𝑓:ℝ→ℝ
𝑓(𝑥 + ℎ) − 𝑓(𝑥) = 2ℎ + (6𝑥 + 1)ℎ2 + 2𝑥(3𝑥 + 1)ℎ สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 และ ℎ
3

ถ้ำค่ำต่ำสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 4 แล้วค่ำของ 𝑓(2) + 𝑓(− 12) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้


[PAT 1 (ก.พ. 2562/26)]
1. 28 2. 32 3. 34 4. 36 5. 40
ตอบ 1
𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥) 2ℎ 3 +(6𝑥+1)ℎ 2 +2𝑥(3𝑥+1)ℎ
จำกสูตร 𝑓 ′ (𝑥) = lim
h0 ℎ
= lim
h0 ℎ
2 (6𝑥
= lim 2ℎ + + 1)ℎ + 2𝑥(3𝑥 + 1)
h0

= 2𝑥(3𝑥 + 1)
+ − +
ค่ำต่ำสุดสัมพัทธ์ จะเกิดเมื่อ −
1
0
3
𝑓′ (𝑥) เปลี่ยนจำกลบเป็ นบวก
ต่ำสุดสัมพัทธ์ เมือ่ 𝑥 = 0

โจทย์ให้คำ่ ต่ำสุดสัมพัทธ์ คือ 4 ดังนัน้ 𝑓(0) = 4
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) เพื่อหำ 𝑓(𝑥) → จำก 𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑥(3𝑥 + 1)
𝑓 ′ (𝑥) = 6𝑥 2 + 2𝑥
อินทิเกรต
𝑓(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑥 2 + 𝑐 …(∗)
แทน 𝑥 = 0 𝑓(0) = 2(03 ) + 02 + 𝑐
4 = 𝑐

แทนค่ำ 𝑐=4 ใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑥 2 + 4


1 1 3 1 2
ดังนัน้ 𝑓(2) + 𝑓(− ) = 2(23 ) + 22 + 4 + 2 (− ) + (− ) + 4
2 2 2
1 1
= 16 + 4 + 4 + −4 + 4
+ 4 = 28

𝑥 𝑥+√1+𝑥 √
43. ค่ำของ lim 3
x0 √8+𝑥 − 2
เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2562/39)]

ตอบ 12
ลองแทน 𝑥 = 0 จะได้ 00 → ต้องจัดรูปให้ 𝑥 โผล่มำตัดกันก่อน
 เศษมี 𝑥 พร้อมตัดอยูแ่ ล้ว → ไม่ตอ้ งจัดรู ปเศษ
 ส่วนเป็ น √ ต้องคูณให้เข้ำสูตรผลต่ำงกำลังสำม (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) น3 − ล3
3
=
2 3 2 3
𝑥√𝑥+√1+𝑥
3 3
√8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 (𝑥√𝑥+√1+𝑥)( √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 )
3 ∙3 2 3
= 3 3
√8+𝑥 − 2 √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 √8+𝑥 − 23
3 2 3
(𝑥√𝑥+√1+𝑥)( √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 )
= 𝑥
3 3 2
= (√𝑥 + √1 + 𝑥) ( √8 + 𝑥 + 2 √8 + 𝑥 + 22 )
2
ตัด 𝑥 ได้แล้ว ลองแทน 𝑥 = 0 ใหม่ 3 3
→ (√0 + √1 + 0) ( √8 + 0 + 2 √8 + 0 + 22 )
=( 1 )( 4 + 4 + 4) = 12

.0123456789
√ √ √
3 ∙3 2 3
= 3 3
√8+𝑥 − 2 √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 √8+𝑥 − 23
3 2 3
(𝑥√𝑥+√1+𝑥)( √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 )
= 𝑥
2
คลังโจทย์ 23
3 3
= (√𝑥 + √1 + 𝑥) ( √8 + 𝑥 + 2 √8 + 𝑥 + 22 )
2
ตัด 𝑥 ได้แล้ว ลองแทน 𝑥 = 0 ใหม่ 3 3
→ (√0 + √1 + 0) ( √8 + 0 + 2 √8 + 0 + 22 )
=( 1 )( 4 + 4 + 4) = 12

44. ให้ ℝ เป็ นเซตของจำนวนจริงให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั


2
𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 + 4 ;𝑥 ≥ 0
โดยที่ 𝑓(𝑥) = { เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง
4𝑥 + 𝑐 ;𝑥 < 0
1
9
ถ้ำ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริงและสอดคล้องกับ 𝑓 ′ (3) + 𝑓(3) = 45 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =
2
0

แล้วค่ำของ 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑐) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.พ. 2562/42)]

ตอบ 76
𝑓 ต่อเนื่อง แสดงว่ำตรงรอยต่อของทัง้ สองสูตร (ที่ 𝑥 = 0) ต้องได้คำ่ เท่ำกัน 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 4 = 4(0) + 𝑐
4 = 𝑐
เมื่อ 𝑥 = 3 ≥ 0 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 4 → ใช้ใน 𝑓 ′ (3) + 𝑓(3) = 45
𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏 2
2𝑎(3) + 𝑏 + 𝑎(3 ) + 𝑏(3) + 4 = 45
15𝑎 + 4𝑏 = 41 …(1)
1 1
และเมื่อ 𝑥 ∈ (0, 1) จะได้ 𝑥 ≥ 0 จะได้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  (𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 4) 𝑑𝑥
0 0
9 𝑎𝑥 3 𝑏𝑥 2 1
2
= 3
+ 2 + 4𝑥 |
0
9 𝑎 𝑏
= ( + + 4) − (0)
2 3 2
27 = 2𝑎 + 3𝑏 + 24
2𝑎 + 3𝑏 = 3 …(2)
3×(1) − 4×(2) : 3(15𝑎 + 4𝑏) − 4(2𝑎 + 3𝑏) = 3(41) − 4(3)
37𝑎 = 111
𝑎 = 3 → แทนใน (2) : 2(3) + 3𝑏 = 3
𝑏 = −1
3𝑥 2 − 𝑥 + 4 ;𝑥 ≥ 0
แทนค่ำ 𝑎 = 3 , 𝑏 = −1 , 𝑐 = 4 จะได้ 𝑓(𝑥) = {
4𝑥 + 4 ;𝑥 < 0
และจะได้ 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑐) = 𝑓(3) + 𝑓(−1) + 𝑓(4)
= 3(32 ) − 3 + 4 + 4(−1) + 4 + 3(42 ) − 4 + 4 = 76

.0123456789
24 คลังโจทย์

𝑥
𝑥 − 𝑥2
เมื่อ 𝑥<0
45. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั นิยำมโดย 𝑓 (𝑥 ) = 𝑎𝑥 2 + (𝑏−𝑎)𝑥 − 𝑏
เมื่อ 0≤𝑥<1 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
𝑥 −1

{ (𝑥 + 𝑏 )2 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
ถ้ำฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง แล้ว 𝑓(𝑎 + 𝑏) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2563/34)]
1
1. 25 2. 16 3. 9 4. 4 5. 6

ตอบ 1
พิจำรณำควำมต่อเนื่องที่ 𝑥=0 จะได้ พิจำรณำควำมต่อเนื่องที่ 𝑥=1 จะได้
lim 𝑓(𝑥) = 𝑓(0) = lim 𝑓(𝑥) lim 𝑓 (𝑥) = 𝑓(1) = lim 𝑓(𝑥)
x 0 x 0 x 1 x 1
𝑥 𝑎𝑥 2 + (1−𝑎)𝑥 − 1
lim 𝑥 − 𝑥2 แทน 𝑥 = 0 ใน lim แทน 𝑥 = 1 ใน
x 0 x 1 𝑥−1
𝑥 𝑎𝑥 2 + (𝑏−𝑎)𝑥 − 𝑏
ได้เลย 𝑎𝑥 2− 𝑎𝑥 +𝑥−1 (𝑥 + 𝑏)2 ได้เลย
lim 𝑥−1 lim
x 0 𝑥(1 − 𝑥) x 1 𝑥−1
1 𝑎(0)2 +(𝑏−𝑎)(0)−𝑏 𝑎𝑥(𝑥 − 1) + (𝑥 − 1)
lim = lim 𝑥−1
= (1 + 1)2
x 0 1−𝑥 0−1 x 1
1 −𝑏 (𝑥 − 1)(𝑎𝑥 + 1)
= lim 𝑥−1
= 4
1−0 −1 x 1
1 = 𝑏 lim 𝑎𝑥 + 1 = 4
x 1

𝑎(1) + 1 = 4
𝑎 = 3
จะได้ 𝑓 (𝑎 + 𝑏) = 𝑓(3 + 1) = 𝑓(4) → ใช้สตู รกรณี 𝑥>1
= (4 + 1)2 = 25

46. ถ้ำพืน้ ที่ท่ีปิดล้อมด้วยกรำฟของพำรำโบลำซึ่งมีจุดยอดอยู่ท่ี (0, −9) และแกน 𝑋 มีค่ำเท่ำกับ 9 ตำรำงหน่วย


แล้ว สมกำรพำรำโบลำคือข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/22)]
1. 𝑦 = 𝑥2 − 9 2. 𝑦 = 2𝑥2 − 9 3. 𝑦 = 4𝑥2 − 9
4. 𝑦 = 8𝑥 2 − 9 5. 𝑦 = 16𝑥 2 − 9

ตอบ 5
พำรำโบลำที่มีจดุ ยอด (ℎ, 𝑘) = (0, −9) และสำมำรถปิ ดล้อมพืน้ ที่กับแกน 𝑋 ได้ จะเป็ น
พำรำโบลำหงำยดังรูป → แทนค่ำ ℎ, 𝑘 ในรูปสมกำร 𝑦 = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 ; 𝑎>0
2 (0, −9)
𝑦 = 𝑎(𝑥 − 0) + (−9)
𝑦 = 𝑎𝑥 2 − 9 …(∗)
หำพืน้ ที่ท่ีปิดล้อมกับแกน 𝑋 ต้องอินทิเกรตในช่วงที่กรำฟตัดแกน 𝑋
หำจุดตัดแกน 𝑋 โดยแทน 𝑦 = 0 จะได้ 0 = 𝑎𝑥2 − 9
9
𝑎
= 𝑥2
3 3
±
3
√𝑎
= 𝑥 → ต้องอินทิเกรตตั้งแต่ −
√𝑎
ถึง 𝑎
3
3
a
𝑎𝑥 3
จะได้  2 √𝑎
𝑎𝑥 − 9 𝑑𝑥 = 3
− 9𝑥 | 3
3 −

a √𝑎

𝑎 3 3 3 𝑎 3 3 3
= ( ( ) − 9 ( )) − ( (− ) − 9 (− ))
3 √𝑎 √𝑎 3 √𝑎 √𝑎

9 27 9 27 36
= ( − )−( − + ) = −
√𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎

โจทย์ให้พืน้ ที่ = 9 ตำรำงหน่วย ดังนัน้ |−


36
| = 9
√𝑎

.0123456789 4 = √𝑎
 −
a √𝑎

𝑎 3 3 3 𝑎 3 3 3
= ( ( ) − 9 ( )) − ( (− ) − 9 (− ))
3 √𝑎 √𝑎 3 √𝑎 √𝑎

9 27 9 27 36
คลังโจทย์ 25
= ( − )−( − + ) = −
√𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎

โจทย์ให้พืน้ ที่ = 9 ตำรำงหน่วย ดังนัน้ |−


36
| = 9
√𝑎
4 = √𝑎
16 = 𝑎
แทนใน (∗) จะได้สมกำรพำรำโบลำคือ 𝑦 = 16𝑥 2 − 9

47. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {𝑥 + 5 เมื่อ 𝑥 > 𝑎 และ 𝑎 > 0
𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 ≤ 𝑎
และให้ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้า 𝑥→𝑎
lim− (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) − lim+ (𝑓 ∘ 𝑔)(√𝑥)
𝑥→𝑎
= 2 แล้วค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 2564/45)]
ตอบ 2
lim (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) lim (𝑓 ∘ 𝑔)(√𝑥)
𝑥→𝑎 − 𝑥→𝑎 +
= lim− 𝑔(𝑓(𝑥)) 𝑥 → 𝑎 − คือ 𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ = lim+ 𝑓 (𝑔(√𝑥))
𝑥→𝑎 𝑥→𝑎
= lim− 𝑔(𝑥 + 1) ต้องใช้ 𝑓 สูตรล่าง 2
𝑥→𝑎 = lim+ 𝑓 ( √𝑥 )
𝑥→𝑎
= lim− (𝑥 + 1)2
𝑥→𝑎 = lim+ 𝑓( 𝑥 ) 𝑥 → 𝑎 + คือ 𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ
𝑥→𝑎
= (𝑎 + 1)2 ต้องใช้ 𝑓 สูตรบน
= lim+ 𝑥 + 5
𝑥→𝑎
= 𝑎+5

แทนในสมการ lim (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) − lim+ (𝑓 ∘ 𝑔)(√𝑥) = 2


𝑥→𝑎 − 𝑥→𝑎
(𝑎 + 1)2 − (𝑎 + 5) = 2
2
𝑎 + 2𝑎 + 1 −𝑎−5 = 2
𝑎2 + 𝑎 − 6 = 0
(𝑎 − 2)(𝑎 + 3) = 0
𝑎 = 2 , −3
โจทย์ให้ 𝑎 > 0

48. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง ซึง่ 𝑓(0) = 10 , 𝑓(3) = 9


และ 𝑓 ′ (𝑥) = {𝑥 2+ 𝑎𝑥 เมื่อ 𝑥 < 1 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
2

𝑥 + 𝑎 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
𝑎 เท่ากับเท่าใด [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/25)]
1. 4 2. 2 3. 0 4. −2 5. −4
ตอบ 5
𝑥3 𝑎𝑥 2
+ + 𝑐1 เมื่อ 𝑥<1
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) ทัง้ สองเงื่อนไข จะได้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥33 2

เมื่อ 𝑥 ≥ 1 3
+ 𝑎𝑥 + 𝑐2
(เนื่องจากแต่ละเงื่อนไขของ 𝑓(𝑥) เป็ นคนละสูตร ดังนัน้ 𝑐1 กับ 𝑐2 จึงไม่จาเป็ นต้องเท่ากัน)
แทน 𝑥 = 0 : (0 < 1 → ใช้สตู รบน) แทน 𝑥 = 3 : (3 ≥ 1 → ใช้สตู รล่าง)
03 𝑎(02 ) 33
จะได้ 𝑓(0) = 3
+ 2
+ 𝑐1 จะได้ 𝑓(3) = 3 + 3𝑎 + 𝑐2
10 = 𝑐1 …(1) 9 = 9 + 3𝑎 + 𝑐2
−3𝑎 = 𝑐2 …(2)
𝑥3 𝑎𝑥 2
+ 2 + 10 เมื่อ 𝑥<1
แทน (1) และ (2) กลับไปใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = 3
{ 𝑥3
3
+ 𝑎𝑥 − 3𝑎 เมื่อ 𝑥≥1

และโจทย์ให้ 𝑓 ต่อเนื่อง ดังนัน้ ทัง้ สองสูตร ต้องได้คา่ เท่ากันตรงรอยต่อระหว่างสูตร (ที่ 𝑥 = 1)


13 𝑎(12 ) 13
3
+ 2
+ 10 = 3
+ 𝑎(1) − 3𝑎
.0123456789
10 = 𝑐1 …(1) 9 = 9 + 3𝑎 + 𝑐2
−3𝑎 = 𝑐2 …(2)
𝑥3 𝑎𝑥 2
+ + 10 เมื่อ 𝑥<1
26 คลั
งโจทย์
แทน (1) และ (2) กลับไปใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥33 2

3
+ 𝑎𝑥 − 3𝑎 เมื่อ 𝑥≥1

และโจทย์ให้ 𝑓 ต่อเนื่อง ดังนัน้ ทัง้ สองสูตร ต้องได้คา่ เท่ากันตรงรอยต่อระหว่างสูตร (ที่ 𝑥 = 1)


13 𝑎(12 ) 13
3
+ 2
+ 10 = 3
+ 𝑎(1) − 3𝑎
1 𝑎 1
3
+ 2 + 10 = 3
+ 𝑎 − 3𝑎
5𝑎
2
= −10
𝑎 = −4

49. ให้จดุ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจุดบนพาราโบลา 9𝑥2 + 10𝑦 = 81


ถ้าเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐴 และเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐵 ตัดกันที่จดุ (0, 9)
แล้วระยะห่างระหว่างจุด 𝐴 และ 𝐵 เท่ากับกี่หน่วย [PAT 1 (มี.ค. 2565/44)]
ตอบ 2
𝑦−9
ความชันเส้นสัมผัส หาได้จาก 𝑦 ′ ความชันจาก (0, 9) ไปยังจุด (𝑥, 𝑦) บนพาราโบลาคือ 𝑥−0
9𝑥 2 + 10𝑦 = 81 สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 8.1 − 0.9𝑥 2 8.1−0.9𝑥 2 − 9
81−9𝑥 2 = 𝑥
𝑦 = 10 −0.9𝑥 2−0.9
= 8.1 − 0.9𝑥 2 = 𝑥
𝑦′ = −1.8𝑥
−0.9𝑥 2 −0.9
ดังนัน้ −1.8𝑥 = 𝑥
−1.8𝑥 2 = −0.9𝑥 2 − 0.9
−0.9𝑥 2 = −0.9 แทนในสมการพาราโบลา : 𝑦 = 8.1 − 0.9𝑥 2
𝑥2 = 1 = 8.1 − 0.9(1)
𝑥 = ±1 = 7.2
จะได้จดุ A และ B คือ (1, 7.2) และ (−1, 7.2) ซึ่งจะห่างกัน 1 − (−1) = 2

.0123456789
คลังโจทย์ 27

𝑥+𝑏−4 , 𝑥≤𝑎
50. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑎 , 𝑎<𝑥≤𝑏 เมือ่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
2𝑏𝑥 − 𝑎 , 𝑥>𝑏
และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง พิจำรณำข้ อควำมต่อไปนี ้
(ก) (𝑓 ∘ 𝑓)(𝑎 − 𝑏) = 𝑎 − 𝑏
(ข) 𝑓(𝑎 + 𝑏) = 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏)
(ค) 𝑓 ′ (𝑓(2)) = 𝑓(𝑓 ′ (2))
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง [PAT 1 (มี.ค. 2559/17)]
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสำมข้
้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสำมข้
้ อ
ตอบ 1
𝑓 ต่อเนื่อง แสดงว่ำ 𝑓 ต้ องมีคำ่ เท่ำกันตรงบริ เวณรอยต่อของแต่ละสมกำร
ที่รอยต่อตรง 𝑥 = 𝑎 จะได้ ที่รอยต่อตรง 𝑥=𝑏 จะได้
𝑥 + 𝑏 − 4 = 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑎 𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑎 = 2𝑏𝑥 − 𝑎
𝑥=𝑎 𝑥=𝑏
𝑎 + 𝑏 − 4 = 𝑎2 + 𝑏𝑎 + 𝑎 𝑏2 + 𝑏2 + 𝑎 = 2𝑏 2 − 𝑎
𝑏 − 4 = 𝑎2 + 𝑏𝑎 2𝑎 = 0
𝑎 = 0
𝑏−4 = 0 + 0
𝑏 = 4
𝑥 , 𝑥≤0
จะได้ 𝑎=0, 𝑏=4 → แทนใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = {𝑥 2 + 4𝑥 , 0<𝑥≤4
8𝑥 , 𝑥>4
แทน 𝑎, 𝑏 และ ในตัวเลือกในแต่ละข้ อ จะได้ ดงั นี ้
𝑓
(ก) (𝑓 ∘ 𝑓)(0 − 4) = 0 − 4 (ข) 𝑓(0 + 4) = 𝑓(0) + 𝑓(4)
𝑓(𝑓(−4)) = −4 𝑓( 4 ) = 0 + 𝑓(4) ใช้ สตู รแรกหำ 𝑓(0)
สูตรแรก 𝑓( 4 ) = 𝑓(4) 
𝑓( −4 ) = −4
สูตรแรก −4 = −4 

1 , 𝑥≤0
(ค) ดิฟจะได้ 𝑓′(𝑥) = {2𝑥 + 4 , 0<𝑥≤4 ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑓(2)) = 𝑓(𝑓 ′ (2))
8 , 𝑥>4 𝑓 ′ (22 + 4(2)) = 𝑓(2(2) + 4)
𝑓 ′ ( 12 ) = 𝑓(8)
8 = 8(8)
8 = 64 ×

.0123456789
28 คลังโจทย์

51. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ ำอัตรำกำรเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของ 𝑓(𝑥) เทียบ
1
กับ 𝑥 เมื่อค่ำของ 𝑥 เปลีย่ นจำก −1 เป็ น 1 เท่ำกับ −2 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 2
1
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3−ℎ)
แล้ วค่ำของ lim
h0 ℎ
เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/40)]

ตอบ 48
อัตรำกำร ปป เฉลีย่ จำก −1 ถึง 1 = −2
และจำก
1
 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 2
𝑓(1) − 𝑓(−1) 1
= −2 1
1 − (−1) 𝑥4 3𝑥 2
− + 𝑏𝑥 | = 2
(13 +𝑎(1)+𝑏) − ((−1)3 +𝑎(−1)+𝑏) 4 2
= −2 −1
2
14 3(1)2 (−1)4 3(−1)2
1+𝑎+𝑏 +1 + 𝑎 − 𝑏 = −4 (4 − 2
+ 𝑏(1) ) − ( 4
− 2
+ 𝑏(−1) ) = 2
2𝑎 = −6 1 3 1 3
𝑎 = −3 4
−2 + 𝑏 −4 +2 +𝑏 = 2
2𝑏 = 2
แทนค่ำ 𝑎 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 + 𝑏 𝑏 = 1
แทนค่ำ 𝑏 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 + 1
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3−ℎ) 𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥)
โจทย์ถำม lim
h0 ℎ
ซึ
ง ่ จะคล้ ำยๆกั
บ นิ ยำมของอนุ
พ น
ั ธ์ lim
h0 ℎ
= 𝑓 ′ (𝑥)

จำก 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 + 1
𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 3

ดังน้ น lim
h0
𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥)

= 3𝑥 2 − 3
แทน 𝑥 = 3
จำก (1) แทน ℎ ด้ วย −ℎ จะได้
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3) 𝑓(3+(−ℎ))−𝑓(3)
lim = 3(32 ) − 3 lim −ℎ
= 24
h0 ℎ h0
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3)
lim
h0 ℎ
= 24 …(1) −ℎ → 0 มี ควำมหมำยเหมือนกันกับ ℎ → 0
𝑓(3+(−ℎ))−𝑓(3)
lim −ℎ
= 24
h0
−𝑓(3−ℎ)+𝑓(3)
lim ℎ
= 24 …(2)
h0
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3) −𝑓(3−ℎ)+𝑓(3)
(1) + (2) : lim ℎ
+ ℎ
= 48
h0
𝑓(3+ℎ) − 𝑓(3−ℎ)
lim ℎ
= 48
h0

𝑓(3+ℎ)−𝑓(3−ℎ)
หมำยเหตุ : ข้ อนี ้ ช่วงครึ่งหลัง จะใช้ โลปิ ตำลก็ได้ (เพรำะ lim
h0 ℎ
อยูใ่ นรูป 00 )
ดิฟบน 𝑓(3+ℎ)−𝑓(3−ℎ) (𝑓′ (3+ℎ))(1) − (𝑓′ (3−ℎ))(−1)
ใช้ ดิฟล่ำง
จะได้ lim
h0 ℎ
= lim
h0 1
′ (3)
= 𝑓 + 𝑓 ′ (3)
= 3(3)2 − 3 + 3(3)2 − 3 = 48

|𝑥 2 −𝑥−2|
52. ค่ำของ lim 2 3 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/42)]
x 2  2− √𝑥 +4

ตอบ 9
ก่อนอื่น พิจำรณำเครื่ องหมำยบวกลบของ 𝑥 2 − 𝑥 − 2 เพื่อถอดค่ำสัมบูรณ์กอ่ น
(𝑥 − 2)(𝑥 + 1)
𝑥 → 2− คือ 𝑥 น้ อยกว่ำ 2 นิดๆ ซึง่ จะทำให้ 𝑥 − 2 เป็ นลบ และ ทำให้ 𝑥 + 1 เป็ นบวก
ดังนัน้ 𝑥 2 − 𝑥 − 2 = (𝑥 − 2)(𝑥 + 1) = (ลบ)(บวก) = ลบ
จำกสมบัติ |𝐴| = −𝐴 เมื่อ 𝐴 < 0 จะได้ |𝑥 2 − 𝑥 − 2| = −(𝑥 2 − 𝑥 − 2)
|𝑥 2 −𝑥−2| −(𝑥 2 −𝑥−2)
ดังนัน้ lim  2 3 = lim 3
2− √𝑥 2 +4
→ ถ้ ำแทน 𝑥 = 2 จะได้ 00 ดังนัน้ ต้ องจัดรูปให้ 𝑥 − 2 ตัดกันก่อน
x 2 2− √𝑥 +4 x 2
3
−(𝑥+1)(𝑥−2) 22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4
3 2 เศษ → แยกตัวประกอบ
.0123456789
ก่อนอื่น พิจำรณำเครื่ องหมำยบวกลบของ 𝑥 2 − 𝑥 − 2 เพื่อถอดค่ำสัมบูรณ์กอ่ น
(𝑥 − 2)(𝑥 + 1)
𝑥 → 2− คือ 𝑥 น้ อยกว่ำ 2 นิดๆ ซึง่ จะทำให้ 𝑥 − 2 เป็ นลบ และ ทำให้ 𝑥 + 1 เป็ นบวก คลังโจทย์ 29
ดังนัน้ 𝑥 2 − 𝑥 − 2 = (𝑥 − 2)(𝑥 + 1) = (ลบ)(บวก) = ลบ
จำกสมบัติ |𝐴| = −𝐴 เมื่อ 𝐴 < 0 จะได้ |𝑥 2 − 𝑥 − 2| = −(𝑥 2 − 𝑥 − 2)
|𝑥 2 −𝑥−2| −(𝑥 2 −𝑥−2)
ดังนัน้ lim 3
2− √𝑥 2 +4
= lim 3
2− √𝑥 2 +4
→ ถ้ ำแทน 𝑥 = 2 จะได้ 00 ดังนัน้ ต้ องจัดรูปให้ 𝑥 − 2 ตัดกันก่อน
x 2  x 2
3
−(𝑥+1)(𝑥−2) 22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4
3 2 เศษ → แยกตัวประกอบ
= lim ∙
x 2
3
2− √𝑥 2 +4 3 3
22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4
2
ส่วน → คูณให้ เข้ ำสูตร
3
−(𝑥+1)(𝑥−2)(22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4 )
3 2 (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) = น3 − ล3
= lim 8−(𝑥 2 +4)
x 2
3 3 2
(𝑥+1)(𝑥−2)(22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4 )
= lim 𝑥 2 −4
x 2
3 3 2
(𝑥+1)(𝑥−2)(22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4 )
= lim (𝑥−2)(𝑥+2)
x 2
3 3 2
(𝑥+1) (22 +2 √𝑥 2 +4+ √𝑥 2 +4 )
= lim (𝑥+2)
x 2
3 3 2
(2+1) (22 +2 √22 +4+ √22 +4 ) (3)(4+4+4)
= (2+2)
= 4
= 9

53. กำหนดให้ 𝐶 เป็ นเส้นโค้ง 𝑦 = 2 + 𝑥|𝑥 − 1| เมื่อ 𝑥 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝐿 เป็ นเส้นตรงที่สมั ผัสกับเส้นโค้ง 𝐶 ที่
จุด (0, 2) และให้ 𝑁 เป็ นเส้นตรงที่ตงั้ ฉำกกับเส้นตรง 𝐿 ณ จุด (0, 2) แล้วเส้นตรง 𝑁 ผ่ำนจุดในข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ต.ค. 2558/14)]
1. (−1, 3) 2. (1, 5) 3. (−2, 5)
4. (3, −2) 5. (−3, 4)
ตอบ 1
หำควำมชันชองเส้นโค้ง 𝑦 = 2 + 𝑥|𝑥 − 1| ณ จุด (0, 2) ก่อน
บริเวณจุด (0, 2) มีคำ่ 𝑥 ประมำณ 0 ซึง่ จะทำให้ 𝑥 − 1 เป็ นลบ ดังนัน้ |𝑥 − 1| = −(𝑥 − 1)
จะได้ที่บริเวณ (0, 2) สมกำรเส้นโค้งคือ 𝑦 = 2 + 𝑥(−(𝑥 − 1)) เมื่อ 𝐴 ≥ 0
= 2 − 𝑥2 + 𝑥 |𝐴| = { 𝐴
−𝐴 เมื่อ 𝐴 < 0
ดิฟ 𝑦 จะได้ควำมชัน บริเวณ (0, 2) คือ 𝑦 ′ = 0 − 2𝑥 + 1
ดังนัน้ ควำมชัน ณ จุด (0, 2) → แทน 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 ′ = 0 − 2(0) + 1 = 1 ดังนัน้ เส้นตรง 𝐿 มีควำมชัน = 1
เนื่องจำก เส้นตรง 𝑁 ตัง้ ฉำกกับเส้นตรง 𝐿 → ควำมชัน 𝑁 กับ 𝐿 ต้องคูณกันได้ −1
→ จะได้ เส้นตรง 𝑁 มีควำมชัน = −1 (เพรำะ −1 × 1 = −1)
เนื่องจำกเส้นตรง 𝑁 ผ่ำนจุด (0, 2) ด้วย → ใช้สตู ร 𝑦−𝑦
𝑥−𝑥
1 𝑦−2
= 𝑚 จะได้สมกำรเส้นตรง 𝑁 คือ 𝑥−0 = −1
1
𝑦 − 2 = −𝑥
𝑥+𝑦 = 2
ดังนัน้ จุดทีจ่ ะอยูบ่ นเส้นตรง 𝑁 ได้ ต้องแทนในสมกำร 𝑥 + 𝑦 = 2 แล้วเป็ นจริง
1. −1 + 3 = 2 จริง 2. 1 + 5 ≠ 2 3. −2 + 5 ≠ 2
4. 3 + (−2) ≠ 2 5. −3 + 4 ≠ 2
จะเห็นว่ำมีขอ้ 1. ข้อเดียว ที่อยูบ่ นเส้นตรง 𝑁

.0123456789
30 คลังโจทย์

2𝑥
54. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 −1(𝑥) = 𝑥+1 สำหรับทุก
สมำชิก 𝑥 ในเรนจ์ของ 𝑓 พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
(ก) 2𝑓 ′(4) − 𝑓(4) = 3
(ข) 𝑓 ′′(𝑓(4)) = 𝑓(𝑓 ′′(4))
(ค) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (0, 2)
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 2558/15)]
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สำมข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สำมข้อ
ตอบ 2
(ก) จะหำ 𝑓(𝑥) และ 𝑓 ′ (𝑥) แล้ว แทน 𝑥 = 4
2𝑥 2𝑥
จำก 𝑓 −1(𝑥) = 𝑥+1 ย้ำยข้ำง 𝑓 −1 ไปเป็ น 𝑓 อีกข้ำง จะได้ 𝑥 = 𝑓 (𝑥+1 )
2𝑥
𝑘 ให้ 𝑘 = 𝑥+1
− = 𝑓( 𝑘 )
𝑘−2
𝑘𝑥 + 𝑘 = 2𝑥
𝑘𝑥 − 2𝑥 = −𝑘
𝑥(𝑘 − 2) = −𝑘
𝑘
𝑥 = − 𝑘−2
𝑥
เปลีย่ นชื่อตัวแปร 𝑘 เป็ น 𝑥 จะได้ 𝑓(𝑥) = − 𝑥−2 …(∗)
(𝑥−2)(1)−(𝑥)(1)
ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) = − (𝑥−2)2 𝑑 𝑑
𝑑 บน (ล่ำง ∙ บน)−(บน ∙ 𝑑𝑥 ล่ำง)
𝑑𝑥
=
𝑥−2 − 𝑥
− (𝑥−2)2 𝑑𝑥
(ล่ำง) = (ล่ำง) 2

2
= (𝑥−2)2
…(∗∗)
4
จำก (∗) จะได้ 𝑓(4) = − 4−2 = −2 1
ดังนัน้ 2𝑓 ′ (4) − 𝑓(4) = 2 (2) − (−2) = 3 → (ก) ถูก
จำก (∗∗) จะได้ 𝑓 ′(4) = (4−2)2 = 12
2

𝑑 𝑑
(ข) ดิฟ (∗∗) จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) =
𝑑𝑥
2(𝑥 − 2)−2 = −4(𝑥 − 2)−3 ∙
𝑑𝑥
(𝑥 − 2)
= −4(𝑥 − 2)−3 ∙ 1
4
จำกข้อ (ก) = − (𝑥−2)3 …(∗∗∗)
4 1
ดังนัน้ 𝑓 ′′ (𝑓(4)) = 𝑓 ′′ (−2) = − (−2−2)3 = 16
4 1 −
1

1
1 ไม่เท่ำกัน → (ข) ผิด
และ 𝑓(𝑓 ′′ (4))
= 𝑓 (− (4−2)3 ) = 𝑓 (− 2) = − 1
2
= − 2
5 = −5
− −2 −
2 2
จำก (∗∗∗)

(ค) ฟั งก์ชนั เพิ่ม จะต้องมี 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก


2
จำก (∗∗) จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = (𝑥−2) 2 → จะเห็นว่ำ ตัวส่วน (𝑥 − 2)2 เป็ นบวกเสมอ
2
ดังนัน้ (𝑥−2) 2 จะเป็ นบวกเสมอ (ยกเว้นที่ 𝑥 = 2 จะหำค่ำไม่ได้) → ดังนัน ้ 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวกบนช่วง (0, 2) → (ค) ถูก

.0123456789
คลังโจทย์ 31

55. กำหนดให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง ให้ 𝑓: ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่สำมำรถหำอนุพนั ธ์ได้ และสอดคล้องกับ
𝑥 2 +𝑥−6
lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
= 6 และ 1 + 𝑓(𝑥) ≥ 0 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥
ถ้ำเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 = 4 ตัดกับกรำฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2 แล้วค่ำของ 𝑓 ′ (2) เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ต.ค. 2558/33)]
ตอบ 5
โจทย์ให้ เส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 = 4 ตัดกับกรำฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2
แทน 𝑥 = 2 ในสมกำรเส้นตรง จะได้ 6(2) − 𝑦 = 4
8 = 𝑦 → จะได้จด ุ ตัดคือ (2, 8)
ดังนัน้ (2, 8) อยูบ่ นกรำฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ด้วย จะได้ 𝑓(2) = 8 …(∗)
𝑥 +𝑥−6 2 22 +2−6 0 0
พิจำรณำ lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
จะเห็นว่ำ ถ้ำแทน 𝑥=2 จะได้ √1+𝑓(2) − 3
=
√1+8 − 3
= 0

ลิมิตอยูใ่ นรูป 00 → จะใช้กฎของโลปิ ตำลได้ จำก (∗)


𝑑 2
𝑥 2 +𝑥−6 𝑥 +𝑥−6
𝑑𝑥
lim = lim 𝑑
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3 x2 √1+𝑓(𝑥)−3
𝑑𝑥

= lim
2𝑥+1 ดิฟลูกโซ่
1
x2 1 − 𝑑
2
(1+𝑓(𝑥)) 2 ∙
𝑑𝑥
(1+𝑓(𝑥))
2𝑥+1
= lim 1
x2 1 −
(1+𝑓(𝑥)) 2 ∙ 𝑓′ (𝑥)
2 แทน 𝑥 = 2
2(2)+1
= 1
1 −
(1+𝑓(2)) 2 ∙ 𝑓′ (2)
2
5 จำก (∗)
= 1
1
(1+ 8 )−2 ∙ 𝑓′ (2)
2
5 30
= 1 = 𝑓′ (2)
∙ 𝑓′ (2)
6

𝑥 +𝑥−6 2 30 30
แต่โจทย์ให้ lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
= 6 ดังนัน้ 𝑓′ (2)
= 6 จะได้ 𝑓 ′ (2) = 6
= 5

𝑥3 , 𝑥 < −1
56. กำหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = { 𝑎𝑥 + 𝑏 , −1 ≤ 𝑥 < 1 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
ถ้ำฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่อง สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 แล้วค่ำ  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 2558/34)]
2

ตอบ 9.25
ตรงรอยต่อ 𝑥 = −1 จะได้ (−1)3 = 𝑎(−1) + 𝑏
𝑥3 , 𝑥 < −1 −1 = −𝑎 + 𝑏
𝑓(𝑥) = { 𝑎𝑥 + 𝑏 , −1 ≤ 𝑥 < 1 𝑎−𝑏 = 1 …(1)
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
ตรงรอยต่อ 𝑥 = 1 จะได้ 𝑎(1) + 𝑏 = 3(12 ) + 2
𝑎 +𝑏 = 5 …(2)
(1) + (2) : 2𝑎 = 6
𝑎 = 3
แทนใน (2) : 3 + 𝑏 = 5
𝑏 = 2
𝑥3 , 𝑥 < −1
แทนค่ำ 𝑎, 𝑏 จะได้ 𝑓(𝑥) = { 3𝑥 + 2 , −1 ≤ 𝑥 < 1
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
จะหำ  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 ต้องแบ่งเป็ น 3 ช่วงตำมเงื่อนไขของ 𝑓(𝑥)
.0123456789 2
𝑎 +𝑏 = 5 …(2)
(1) + (2) : 2𝑎 = 6
𝑎 = 3
32 คลังโจทย์ แทนใน (2) : 3 + 𝑏 = 5
𝑏 = 2
𝑥3 , 𝑥 < −1
แทนค่ำ 𝑎, 𝑏 จะได้ 𝑓(𝑥) = { 3𝑥 + 2 , −1 ≤ 𝑥 < 1
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
จะหำ  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 ต้องแบ่งเป็ น 3 ช่วงตำมเงื่อนไขของ 𝑓(𝑥)
2
1 1 2
=  𝑥 3 𝑑𝑥 +  3𝑥 + 2 𝑑𝑥 +  3𝑥 2 + 2 𝑑𝑥
2 1 1
𝑥 4 −1 3𝑥 2 1 2
= 4
| + 2
+ 2𝑥 | + 𝑥 3 + 2𝑥 |
−2 −1 1
(−1)4 (−2)4 3(1)2 3(−1)2
= ( 4
− 4
) + (( 2
+ 2(1)) − ( 2
+ 2(−1))) + ((23 + 2(2)) − (13 + 2(1)))
1 3 3
= 4
− 4 + 2
+ 2 −2 +2 + 12 − 3 = 9.25

(𝑥 + 1)2 − 5 เมื่อ 𝑥 < −1


57. ถ้ำ 𝑓(𝑥) = { −5 เมื่อ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1
(𝑥 − 1) − 5 เมื่อ
2
𝑥>1
แล้ว (𝑓 ∘ 𝑓) (2) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/10)]

1. −12 2. −8 3. 0
4. 8 5. 12
ตอบ 1
จำกสูตร ดิฟลูกโซ่ ในรูปแบบฟั งก์ชนั คอมโพสิท (𝑔 ∘ 𝑓)′(𝑥) = 𝑔′ (𝑓(𝑥)) ∙ 𝑓 ′(𝑥)
จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓)′ (2) = 𝑓 ′( 𝑓(2) ) ∙ 𝑓 ′ (2) หำ 𝑓(2) ใช้สตู รล่ำง เพรำะ 2 > 1
= 𝑓 ′ ((2 − 1)2 − 5) ∙ 𝑓 ′ (2)
= 𝑓 ′( −4 ) ∙ 𝑓 ′ (2) …(∗)

หำ 𝑓 ′(−4) : เมื่อ 𝑥 < −1 จะได้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 + 1)2 − 5


𝑓 ′ (𝑥) = 2(𝑥 + 1)(1)
𝑓 ′ (−4) = 2(−4 + 1) = −6
หำ 𝑓 ′(2) : เมื่อ 𝑥 > 1 จะได้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 1)2 − 5 แทนใน (∗)
𝑓 ′ (𝑥) = 2(𝑥 − 1)(1)
𝑓 ′ (2) = 2(2 − 1) = 2 จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓)′ (2) = (−6)(2)
= −12
𝑥𝑓(𝑥) − 2559𝑓(2559)
58. กาหนดให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์บน ℝ โดยที่ x lim
2559 𝑥 − 2559
= 7677

ถ้ า 𝑓(2559) = 2559 แล้ ว ค่าของ 𝑓 ′(2559) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/6)]
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
ตอบ ข
จะเห็นว่า ถ้ าแทน 𝑥 = 2559 ในลิมิต จะได้ 𝑥𝑓(𝑥) −𝑥 −2559𝑓(2559)
2559
อยูใ่ นรูป 00 → สามารถใช้ กฎของโลปิ ตาลได้

น ล ′ + ล น′ 2559𝑓(2559) เป็ นค่าคงที่ → ดิฟ = 0 โจทย์ให้ 𝑓(2559) = 2559


ดิฟบน 𝑥𝑓′ (𝑥) + 𝑓(𝑥)(1) − 0 2559𝑓′ (2559)+𝑓(2559)(1) − 0
ดิฟล่าง
= 1
→ แทน 𝑥 = 2559 จะได้ 1
′ (2559)
= 2559𝑓 + 2559

โจทย์ให้ คา่ ลิมิต = 7677 ดังนัน้ 2559𝑓 ′ (2559) + 2559 = 7677


2559𝑓 ′ (2559) = 5118
𝑓 ′ (2559) = 2

.0123456789
น ล ′ + ล น′ 2559𝑓(2559) เป็ นค่าคงที่ → ดิฟ = 0 โจทย์ให้ 𝑓(2559) = 2559
ดิฟบน 𝑥𝑓′ (𝑥) + 𝑓(𝑥)(1) − 0 2559𝑓′ (2559)+𝑓(2559)(1) − 0
ดิฟล่าง
= 1
→ แทน 𝑥 = 2559 จะได้ 1 คลังโจทย์ 33
′ (2559)
= 2559𝑓 + 2559

โจทย์ให้ คา่ ลิมิต = 7677 ดังนัน้ 2559𝑓 ′ (2559) + 2559 = 7677


2559𝑓 ′ (2559) = 5118
𝑓 ′ (2559) = 2

3 7 𝑎
59. ถ้ า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งซึง่ lim
x 0
(𝑥 2 +𝑥 + 𝑥 2 −𝑥 + 𝑥 3 −𝑥) = 𝑏 จงหาค่าของ 𝑎+𝑏

[สมาคม (พ.ย. 2559/16)]


ตอบ −14
3 7 𝑎 3 7 𝑎
𝑥 2 +𝑥
+ 𝑥 2 −𝑥 + 𝑥 3 −𝑥 = 𝑥(𝑥+1)
+ 𝑥(𝑥−1) + 𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)

=
3(𝑥−1) + 7(𝑥+1) + 𝑎 ถ้ า 4 + 𝑎 ≠ 0 จะหาค่าลิมิตไม่ได้
𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)
10𝑥 + 4 + 𝑎
=
𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)
→ ถ้ า 𝑥 → 0 จะได้ 4+𝑎 0
แต่โจทย์ให้ หาลิมิตได้ = 𝑏 ดังนัน้ 4+𝑎= 0
10𝑥 𝑎 = −4
=
𝑥(𝑥−1)(𝑥+1)
10 10
= (𝑥−1)(𝑥+1)
→ แทน 𝑥 → 0 ใหม่ จะได้ ลมิ ิต (−1)(1)
= −10
จะได้ 𝑏 = −10
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = −4 + −10 = −14

1 1
60. ถ้ำ 𝑎 เป็ นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับ  𝑎(1 − 𝑥 2)
𝑑𝑥 =  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 แล้ว 𝑎 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1 1

[PAT 1 (ต.ค. 2559/26)]


2𝜋 2𝜋 3𝜋 𝜋 3𝜋
1. 5
2. 7
3. 7
4. 3
5. 8

ตอบ 5
1 1
 𝑎(1 − 𝑥 2 ) 𝑑𝑥  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 → จะอินทิเกรตไม่ออก
1 1
1
= 𝑎  1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 ต้องหำจำกพืน้ ที่ใต้กรำฟ 𝑦 = √1 − 𝑥 2 ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 1
1
𝑦2 = 1 − 𝑥2 ; 𝑦 ≥ 0
𝑥3 1
= 𝑎 ( 𝑥− | ) 𝑥2 + 𝑦2 = 1
3
−1 เพรำะ 𝑦 = ผลรูท
1 −1 เป็ นวงกลม ที่ 𝑦 ≥ 0
= 𝑎 ( (1 − ) − (−1 −
3 3
)) จะเป็ นลบไม่ได้
1 1
= 𝑎 ( 1−3 +1− )
3 −1 1
4𝑎
= 1
3
ดังนัน้  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 = พืน้ ที่ครึง่ วงกลม รัศมี 1 หน่วย (ครึง่ บน)
1
1 𝜋
= 2
𝜋(12 ) = 2
4𝑎 𝜋 3𝜋
โจทย์ให้สองฝั่งเท่ำกัน ดังนัน้ 3
=
2
ซึง่ จะได้ 𝑎=
8

.0123456789
34 คลังโจทย์

3
61. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = |𝑥 − 1| + |𝑥 + 2| เมื่อ −3 ≤ 𝑥 ≤ 3 ค่ำของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ำกับเท่ำใด
3

[PAT 1 (ต.ค. 2559/35)]


ตอบ 23
จะแบ่งกำรอินทิเกรตในช่วง [3, −3] ที่ 𝑥 = 1 และ −2
𝑥−1: − − +
เพื่อให้รูเ้ ครือ่ งหมำยบวกลบของ 𝑥 − 1 และ 𝑥 + 2 ที่อยูใ่ นค่ำสัมบูรณ์ 𝑥+2: − + +
𝑎 , 𝑎≥0
แล้วใช้สมบัติ |𝑎| = {
−𝑎 , 𝑎<0
เพื่อถอดเครือ่ งหมำยค่ำสัมบูรณ์ −2 1

3 2 1 3
 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
3 3 2 1
2 1 3
=  −(𝑥 − 1) − (𝑥 + 2) 𝑑𝑥 +  −(𝑥 − 1) + (𝑥 + 2) 𝑑𝑥 +  (𝑥 − 1) + (𝑥 + 2) 𝑑𝑥
3 2 1
2 1 3
=  −2𝑥 − 1 𝑑𝑥 +  3 𝑑𝑥 +  2𝑥 + 1 𝑑𝑥
3 2 1
−2 1 3
= −𝑥 2 − 𝑥 | + 3𝑥 | + 𝑥2 + 𝑥 |
−3 −2 1
= (−(−2)2 − (−2)) − (−(−3) − (−3)) + 2
3(1) − 3(−2) + (32 + 3) − (12 + 1)
= 4 + 9 + 10
= 23

62. ถ้ำ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีกรำฟดังรูป Y


พืน้ ที่ 16 ตำรำงหน่วย
3
พืน้ ที่ 6 ตำรำงหน่วย
แล้ว  (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
0

[กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/23)]


X
1. 6 2. 10 0 1 3
𝑦 = 𝑓(𝑥)
3. 12 4. 16
5. 32
ตอบ 3
𝑎 , 𝑎≥0
แบ่งกำรอินทิเกรตเป็ นช่วง เพื่อให้รูเ้ ครือ่ งหมำยบวกลบ แล้วใช้สมบัติ |𝑎| = {
−𝑎 , 𝑎<0
ถอดค่ำสัมบูรณ์
3 1 3
 (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 =  ( |𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 +  (|𝑓(𝑥)| − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥
0 0 1

จำกกรำฟ ช่วง (0, 1) → 𝑓(𝑥) เป็ นลบ ช่วง (1, 3) → 𝑓(𝑥) เป็ นบวก
ดังนัน้ |𝑓(𝑥)| = −𝑓(𝑥) ดังนัน้ |𝑓(𝑥)| = 𝑓(𝑥)
1 3
=  (−𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 +  ( 𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥
0 1
1 3
=  −2𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  0 𝑑𝑥
0 1
1

จำกกรำฟ (พืน้ ที่ใต้ = −2  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 + 0


0
แกน X จะเป็ นลบ) = −2 (−6) = 12

.0123456789
คลังโจทย์ 35

63. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำมดีกรีสำม ซึง่ มีคำ่ วิกฤตที่ 𝑥 = 4 และ 𝑥 = −4 พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
ก. 𝑓 ′′(−4) ∙ 𝑓 ′′(4) < 0
ข. 𝑓(4√3) = 2𝑓(0)
ค. 𝑓(−4) + 𝑓(4) = 2𝑓(0)
ง. ค่ำเฉลีย่ เลขคณิตของ 𝑓(−2) , 𝑓(−1) , 𝑓(0) , 𝑓(1) , 𝑓(2) เท่ำกับ 𝑓(0)
จำนวนข้อควำมทีถ่ กู เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/27)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 4
จำก 𝑓(𝑥) มีดีกรี 3 จะได้ 𝑓 ′(𝑥) มีดีกรี 2
ค่ำวิกฤตเกิดที่ 𝑥 = 4 และ 𝑥 = −4 ดังนัน้ สมกำร 𝑓 ′ (𝑥) = 0 มีคำตอบคือ 4, −4
จะได้ 𝑓 ′(𝑥) ต้องอยูใ่ นรูป 𝑎(𝑥 + 4)(𝑥 − 4)
= 𝑎𝑥 2 − 16𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจำนวนจริงใดๆ ที่ 𝑎 ≠ 0
𝑎𝑥 3
ดิฟต่อจะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 อินทิเกรตจะได้ 𝑓(𝑥) = 3
− 16𝑎𝑥 + 𝑐
ก. 𝑓 ′′ (−4) ∙ 𝑓 ′′ (4) = 2𝑎(−4) ∙ 2𝑎(4) = −64𝑎2 < 0 → ก. ถูก
(เมื่อ 𝑎 ≠ 0 → 𝑎2 จะเป็ นบวกเสมอ)
3
𝑎(4√3) 𝑎(03 )
ข. 𝑓(4√3) =
3
− 16𝑎(4√3) + 𝑐 2𝑓(0) = 2 (
3
− 16𝑎(0) + 𝑐)
= 64√3𝑎 − 64√3𝑎 + 𝑐 = 2( 𝑐)
= 𝑐 = 2𝑐
จะเห็นว่ำ 𝑐 ≠ 2𝑐 ดังนัน
้ 𝑓(4√3) ≠ 2𝑓(0) → ข. ผิด
𝑎(−4)3 𝑎(4)3
ค. 𝑓(−4) + 𝑓(4) = 3
− 16𝑎(−4) + 𝑐 + 3
− 16𝑎(4) + 𝑐 → ตัดกันเหลือ 𝑐 + 𝑐 = 2𝑐
เท่ำกับ 2𝑓(0) ที่เคยทำ
ตัดกันได้ ตัดกันได้
ในข้อ ข. → ค. ถูก
𝑓(−2) + 𝑓(−1) + 𝑓(0) + 𝑓(1) + 𝑓(2)
ง. ค่ำเฉลีย่ = 5
𝑎𝑥 3
สังเกตว่ำ 𝑥 ทุกตัวที่อยูใ่ น 𝑓(𝑥) = 3 − 16𝑎𝑥 + 𝑐 ถูกยกกำลังคี่ (𝑥 3 , 𝑥 1 )
ดังนัน้ 𝑓(𝑘) กับ 𝑓(−𝑘) จะตัดกันได้เสมอ (เหมือนกับ 𝑓(−4) + 𝑓(4) ในข้อ ค.)
𝑎(−2)3 𝑎(2)3
𝑓(−2) + 𝑓(2) = 3
− 16𝑎(−2) + 𝑐 + 3
− 16𝑎(2) + 𝑐 → ตัดกันเหลือ 𝑐 + 𝑐 = 2𝑐
𝑎(−1)3 𝑎(1)3
𝑓(−1) + 𝑓(1) =
3
− 16𝑎(−1) + 𝑐 +
3
− 16𝑎(1) + 𝑐 → ตัดกันเหลือ 𝑐 + 𝑐 = 2𝑐
𝑎(03 )
และ 𝑓(0) = 3
− 16𝑎(0) + 𝑐 = 𝑐
𝑓(−2)+𝑓(−1)+𝑓(0)+𝑓(1)+𝑓(2) 𝑓(−2)+𝑓(2) + 𝑓(−1)+𝑓(1) + 𝑓(0)
ดังนัน้ 5
=
5
2𝑐 + 2𝑐 + 𝑐 5𝑐
= 5
= 5
= 𝑐 = 𝑓(0) → ง. ถูก

.0123456789
36 คลังโจทย์

𝑥 + √𝑥 2 + 5 , 𝑥 ≥ 𝑎
64. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓(𝑥) = { 15
2
, 𝑥<𝑎
√𝑥 +5
ถ้าฟั งก์ชนั 𝑓 มีความต่อเนื่องทุกจานวนจริง 𝑥 แล้วค่าของ 𝑓(𝑎) + 𝑓(−𝑎) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 2560/41)]

ตอบ 10
𝑓 ต่อเนื่อง แสดงว่าค่า 𝑓 ของแต่ละสูตร ต้องมีคา่ เท่ากันตรงรอยต่อของสูตร
15
รอยต่อของสูตร อยูท่ ี่ 𝑥 = 𝑎 ดังนัน้ 𝑎 + √𝑎2 + 5 = 2
√𝑎 +5 คูณ √𝑎2 + 15 ตลอด
2
𝑎√𝑎2 +5+𝑎 +5 = 15
𝑎√𝑎2 + 5 = 10 − 𝑎2
ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง
𝑎2 (𝑎2 + 5) = (10 − 𝑎2 )2
𝑎4 + 5𝑎2 = 100 − 20𝑎2 + 𝑎4
25𝑎2 = 100
𝑎2 = 4
𝑎 = ±2

เนื่องจากมีการยกกาลังสองทัง้ สองข้าง → ต้องตรวจคาตอบ


15 15
𝑎 = 2 : 2 + √22 + 5 = 𝑎 = −2 : −2 + √(−2)2 + 5 =
√22 +5 √(−2)2 +5
15 15
2+ 3 = 3
 −2 + 3 = 
3

𝑥 + √𝑥 2 + 5 , 𝑥≥2
จะได้ 𝑎=2 แทนในสูตรของ 𝑓 จะได้ 𝑓(𝑥) = { 15
, 𝑥<2
√𝑥 2 +5
ดังนัน้ 𝑓(𝑎) + 𝑓(−𝑎) = 𝑓(2) + 𝑓(−2)
15
= 2 + √22 + 5 + = 10
√(−2)2 +5

65. ให้ 𝑓(𝑥) = {4𝑥 − 8 เมื่อ 𝑥 < 2 และ 𝑔(𝑥) = [𝑓(𝑥)]2


𝑥2 − 4 เมื่อ 𝑥 ≥ 2
ถ้ำ 𝑔′(𝑐) = −8 แล้ว 𝑐 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/21)]
1. −2 2. − 54 3. 1 4. 74 5. 2
ตอบ 4

จำก 𝑔(𝑥) = [𝑓(𝑥)]2 จะได้ 𝑔(𝑥) = {


(4𝑥 − 8)2 เมื่อ 𝑥<2
(𝑥 2 − 4) 2
เมื่อ 𝑥≥2
หำ 𝑔 ′ (𝑥)
→ ต้องดิฟทัง้ สองสูตร
เมื่อ 𝑥 < 2 เมื่อ 𝑥 > 2
𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
(4𝑥 − 8)2 = 2(4𝑥 − 8) 𝑑𝑥 (4𝑥 − 8) (𝑥 2 − 4)2 = 2(𝑥 2 − 4) 𝑑𝑥 (𝑥 2 − 4)
𝑑𝑥 𝑑𝑥
= 2(4𝑥 − 8) 4 = 2(𝑥 2 − 4) 2𝑥
= 8(4𝑥 − 8) = 4𝑥(𝑥 2 − 4)

และตรงรอยต่อ 𝑥 = 2 จะได้ฝ่ ังซ้ำยเป็ น และฝั่งขวำ 4(2)(22 − 4) = 0


8(4(2) − 8) = 0 → เท่ำกัน
ดังนัน้ 𝑔′ (2) หำได้ และจะเขียนได้เป็ น 𝑔′(𝑥) = { 8(4𝑥2− 8) เมื่อ 𝑥 < 2
4𝑥(𝑥 − 4) เมื่อ 𝑥 ≥ 2
โจทย์ให้ 𝑔′(𝑐) = −8 แต่จะเห็นว่ำ −8 มำจำก 4𝑥(𝑥 2 − 4) ไม่ได้
เพรำะเมื่อ 𝑥 ≥ 2 จะได้ 𝑔′(𝑥) ≥ 4(2)(22 − 4) ≥ 0 แต่ −8 < 0
ดังนัน้ −8 ต้องมำจำก 8(4𝑥 − 8) → 𝑔′ (𝑐) = 8(4𝑐 − 8)
−8 = 8(4𝑐 − 8)
.0123456789 −1 = 4𝑐 − 8
𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
(4𝑥 − 8)2 = 2(4𝑥 − 8) 𝑑𝑥 (4𝑥 − 8) (𝑥 2 − 4)2 = 2(𝑥 2 − 4) 𝑑𝑥 (𝑥 2 − 4)
𝑑𝑥 𝑑𝑥
= 2(4𝑥 − 8) 4 = 2(𝑥 2 − 4) 2𝑥
= 8(4𝑥 − 8) = 4𝑥(𝑥 2 − 4) คลังโจทย์
37
และตรงรอยต่อ 𝑥 = 2 จะได้ฝ่ ังซ้ำยเป็ น และฝั่งขวำ 4(2)(22 − 4) = 0
8(4(2) − 8) = 0 → เท่ำกัน
ดังนัน้ 𝑔′ (2) หำได้ และจะเขียนได้เป็ น 𝑔′(𝑥) = { 8(4𝑥2− 8) เมื่อ 𝑥 < 2
4𝑥(𝑥 − 4) เมื่อ 𝑥 ≥ 2
โจทย์ให้ 𝑔′(𝑐) = −8 แต่จะเห็นว่ำ −8 มำจำก 4𝑥(𝑥 2 − 4) ไม่ได้
เพรำะเมื่อ 𝑥 ≥ 2 จะได้ 𝑔′(𝑥) ≥ 4(2)(22 − 4) ≥ 0 แต่ −8 < 0
ดังนัน้ −8 ต้องมำจำก 8(4𝑥 − 8) → 𝑔′ (𝑐) = 8(4𝑐 − 8)
−8 = 8(4𝑐 − 8)
−1 = 4𝑐 − 8
7
4
= 𝑐

66. ให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั กำลังสอง โดยทีก่ รำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจดุ ต่ำสุดที่ (0, −9) และตัดแกน 𝑥 ที่จดุ (𝑥1, 0)
และ (𝑥2, 0) ถ้ำพืน้ ที่ซงึ่ ปิ ดล้อมด้วยกรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) และแกน 𝑥 จำก 𝑥1 ถึง 𝑥2 เท่ำกับ 18 ตำรำงหน่วย
แล้ว 𝑓(2) มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/22)]
1. −5 2. −3 3. 0 4. 3 5. 7
ตอบ 5
จุดต่ำสุดของฟังก์ชนั กำลังสอง คือจุดยอดของพำรำโบลำหงำยนั่นเอง → จะได้จดุ ยอดคือ (ℎ, 𝑘) = (0, −9)
จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 = 𝑎(𝑥 − 0)2 − 9 = 𝑎𝑥 2 − 9
หำจุดตัดแกน 𝑥 ต้องแทน 𝑦 = 0 → 𝑎𝑥 2 − 9 = 0
9
𝑥2 = 𝑎
3 พำรำโบลำหงำย → 𝑎 เป็ นบวก
𝑥 = ±
√𝑎
3
3
a
𝑎
หำพืน้ ที่ →  (𝑎𝑥 2 − 9)𝑑𝑥 = (3 𝑥 3 − 9𝑥) |
√𝑎

3 3
 −
a √𝑎

𝑎 3 3 3 𝑎 3 3 3
= [3 ( 𝑎) − 9 ( 𝑎)] − [3 (− ) − 9 (− )]
√ √ √𝑎 √𝑎
9 27 9 27 36
= − 𝑎 + − = −
√𝑎 √ √𝑎 √𝑎 √𝑎

โจทย์ให้พนื ้ ที่ = 18 → ดังนัน้ |−


36
√𝑎
| = 18
36
= 18
√𝑎
2 = √𝑎
4 = 𝑎
แทนค่ำ 𝑎 ใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 2 − 9
𝑓(2) = 4(22 ) − 9 = 7

67. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามดีกรี 2 มีคา่ ต่าสุดเมื่อ 𝑥 = 3 และ 𝐹(2𝑥) เป็ นปฏิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥)
ถ้ า 𝐹 ′(2) = −5 และ 𝐹 ′′(−2) = −4 พื ้นที่ปิดล้ อมของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 3
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2561/11)]
ก. 16.5 ข. 18 ค. 33 ง. 36
ตอบ ง
𝑏
ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 → จากสมบัติของฟั งก์ชนั กาลังสอง ค่าสูงสุด/ตา่ สุด จะเกิดเมื่อ 𝑥 = − 2𝑎
𝑏
โจทย์ให้ 𝑓 มีคา่ ตา่ สุดเมื่อ 𝑥 = 3 ดังนัน้ − 2𝑎 = 3 → 𝑏 = −6𝑎 → จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 − 6𝑎𝑥 + 𝑐 …(∗)
จะได้ 𝐹(2𝑥) = ปฎิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) = 𝑎3 𝑥 3 − 3𝑎𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑑 เป็ นค่าคงที่ใดๆ
𝑎 𝑘 3 𝑘 2
แทน 𝑥 ด้ วย 𝑘2 จะได้ 𝐹 (2 (2 ))
𝑘
= ( )
3 2
− 3𝑎 (2 ) + 𝑐 (2 ) + 𝑑
𝑘

𝑎 3 3𝑎 𝑐
.0123456789 𝐹(𝑘) = 𝑘 − 𝑘2 + 𝑘 +𝑑
ตอบ ง
𝑏
ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 → จากสมบัติของฟั งก์ชนั กาลังสอง ค่าสูงสุด/ตา่ สุด จะเกิดเมื่อ 𝑥 = − 2𝑎
𝑏
โจทย์
38 คลั ให้ 𝑓 มีคา่ ตา่ สุดเมื่อ 𝑥 = 3 ดังนัน้ − 2𝑎
งโจทย์ = 3 → 𝑏 = −6𝑎 → จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 − 6𝑎𝑥 + 𝑐 …(∗)
จะได้ 𝐹(2𝑥) = ปฎิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) = 𝑎3 𝑥 3 − 3𝑎𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑑 เป็ นค่าคงที่ใดๆ
𝑎 𝑘 3 𝑘 2
แทน 𝑥 ด้ วย 𝑘2 จะได้ 𝑘
𝐹 (2 (2 )) = ( )
3 2
− 3𝑎 (2 ) + 𝑐 (2 ) + 𝑑
𝑘

𝑎 3 3𝑎 2 𝑐
𝐹(𝑘) = 24
𝑘 − 4
𝑘 + 2
𝑘 +𝑑
𝑎 2 3𝑎 𝑐
𝐹 ′ (𝑘) = 8
𝑘 − 2
𝑘 + 2
𝑎 3𝑎
𝐹 ′′ (𝑘) = 4
𝑘 − 2

จาก 𝐹 ′′ (−2) = −4 และจาก 𝐹 ′ (2) = −5


𝑎 3𝑎 𝑎 3𝑎 𝑐
(−2) − = −4 (22 ) − (2) + = −5
4 2 8 2 2
−2𝑎 = −4 1 − 6 +
𝑐
= −5
𝑎 = 2 2
𝑐 = 0
แทนค่า 𝑎=2, 𝑐=0 ใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 12𝑥 → ตัดแกน 𝑥 ที่ 2𝑥 2 − 12𝑥 = 0
2𝑥(𝑥 − 6) = 0
𝑥 = 0, 6
ดังนัน้ จาก 𝑥=0 ถึง 𝑥=3 ไม่ผา่ นจุดตัดแกน 𝑥
3 3
2 3
 2𝑥 2 − 12𝑥 𝑑𝑥 = 3
𝑥 − 6𝑥 2 |
0 0
2 2
= (3 (33 ) − 6(32 )) − (3 (03 ) − 6(02 )) = −36 → จะได้ พื ้นที่ = |−36| = 36

68. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 2𝑥 + 3 และ 𝑔(𝑥) = 𝑓 −1 (𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ผกผันของ 𝑓(𝑥)
ค่ำของ 𝑔′ (6) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/21)]
1. 16 2. 15 3. 13 4. 12 5. 1
ตอบ 2
จำก 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 2𝑥 + 3
−1 (𝑥 3
𝑥 = 𝑓 + 2𝑥 + 3)
𝑥 = 𝑔 (𝑥 3 + 2𝑥 + 3)
𝑑 ดิฟลูกโซ่
1 = 𝑔′ (𝑥 3 + 2𝑥 + 3) ∙ 𝑑𝑥 (𝑥 3 + 2𝑥 + 3)
1 = 𝑔′ (𝑥 3 + 2𝑥 + 3) ∙ (3𝑥 2 + 2) …(∗)
ต้องกำรหำค่ำของ 𝑔′ (6) → จะเทียบให้ 𝑥 3 + 2𝑥 + 3 = 6
𝑥 3 + 2𝑥 − 3 = 0
แยกตัวประกอบด้วยทฤษฎีเศษ โดยไล่แทน 𝑥 = ±1 , ±3 → 𝑥 = 1 จะได้ 13 + 2(1) − 3 = 0 จริง
หำรสังเคระห์ 1 1 0 2 −3
1 1 3
จะได้ 𝑥 3 + 2𝑥 − 3 = (𝑥 − 1)(𝑥 2 + 𝑥 + 3) = 0
1 1 3 0
แทนใน (∗)
𝑥 = 1 หรือ 𝑥2 + 𝑥 + 3 = 0

1 = 𝑔′ (13 + 2(1) + 3) ∙ (3(12 ) + 2) ไม่มีคำตอบ เพรำะ


1 = 𝑔′ ( 6 )∙( 5 ) 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 = 12 − 4(1)(3)
1 ′ < 0
= 𝑔( 6 )
5

.0123456789
คลังโจทย์ 39

1
69. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 60 𝑥(𝑥 2 − 49) เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
และให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นพืน้ ที่ของบริเวณที่แรเงา ดังรูป
𝑌
𝑓

(𝑝, 1) 𝐴 (𝑞, 1)
𝑦=1
𝐵
𝑋
0 𝐶
𝑦 = −1
(𝑟, −1) (𝑠, −1)

ข้อใดไม่ถกู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2564/25)]


0 7 𝑞
1. ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 2. 𝐴 = ∫ (𝑓(𝑥) − 1) 𝑑𝑥
−7 0 𝑝
0 7
3. 𝐵 = ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 4. 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7 0
𝑠 7
5. 𝐶 = ∫ (𝑓(𝑥) + 1) 𝑑𝑥 − ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
𝑟 0

ตอบ 3
1
1. ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = ∫ 60
𝑥(𝑥 2 − 49) 𝑑𝑥
𝑥3 49𝑥
= ∫ 60
− 60
𝑑𝑥
𝑥4 49𝑥 2
= 240
− 120
+𝑘 → จะเห็นว่า 𝑥 ทุกตัว ถูกยกกาลังคูท่ งั้ หมด
= 𝐹(𝑥) แปลว่าจะแทน 𝑥 ด้วย 7 หรือ −7 ลงไป ก็ได้คา่ เท่ากัน
0 0
ดังนัน้ ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7 7 𝐹(0) − 𝐹(7)
7
= −(𝐹(7) − 𝐹(0))
= −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
0
→ ข้อ 1. ถูก
2. 𝐴 คือพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 𝑓(𝑥) และ 𝑦=1 ตัง้ แต่ 𝑥=𝑝 ถึง 𝑥=𝑞
𝑞
ดังนัน้ 𝐴 = ∫ (𝑓(𝑥) − 1) 𝑑𝑥 → 2. ถูก
𝑝
0
3. ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 คือพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦=1 และ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัง้ แต่ 𝑥 = −7 ถึง 𝑥 = 0
−7
1
เมื่อ 𝑥 = −7 จะได้ 𝑓(𝑥) =
60
(−7)((−7)2 − 49)
1
= 60
(−7)( 0 ) = 0 → จะได้ (−7, 0) ซึง่ เป็ นจุดตัดแกน 𝑋
0 𝑌
ดังนัน้ ∫ (1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 คือพืน้ ที่ที่แรเงาดังรูป 𝑓
−7 +

(พืน้ ที่เสีย้ วบน เป็ นลบ เพราะ 𝑦 = 1 อยูใ่ ต้ 𝑦 = 𝑓(𝑥)) 𝐵 +
𝑦=1
𝑋
เมื่อคิดเครือ่ งหมายบวกลบแล้ว ไม่เท่ากับพืน้ ที่ 𝐵 แน่นอน → 3. ผิด −7 0
0
4. 𝐴+𝐵 คือพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วย 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 ตัง้ แต่ −7 ถึง 0 ซึง่ จะเท่ากับ ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7
7
และจากที่ขอ้ 1. เป็ นจริง จะทาให้ 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 ด้วย → 4. ถูก
0
1
5. เมื่อ 𝑥=7 จะได้ 𝑓(𝑥) = 60
(7)(72 − 49)
1
= 60
(7)( 0 ) = 0 → จะได้ (7, 0) ซึง่ เป็ นจุดตัดแกน 𝑋
7
จากรูป จะเห็นว่าพืน้ ที่รวม 𝐶+𝐷 จะหาได้จาก ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝑌
𝑓
0
.0123456789
เมื่อคิดเครือ่ งหมายบวกลบแล้ว ไม่เท่ากับพืน้ ที่ 𝐵 แน่นอน → 3. ผิด −7 0
0
4. 𝐴+𝐵 คือพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วย 𝑦 = 𝑓(𝑥) กับแกน 𝑋 ตัง้ แต่ −7 ถึง 0 ซึง่ จะเท่ากับ ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
−7
40 คลังโจทย์ 7
และจากที่ขอ้ 1. เป็ นจริง จะทาให้ 𝐴 + 𝐵 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 ด้วย → 4. ถูก
0
1
5. เมื่อ 𝑥=7 จะได้ 𝑓(𝑥) =
60
(7)(72 − 49)
1
= 60
(7)( 0 ) = 0 → จะได้ (7, 0) ซึง่ เป็ นจุดตัดแกน 𝑋
7
จากรูป จะเห็นว่าพืน้ ที่รวม 𝐶+𝐷 จะหาได้จาก ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝑌
𝑓
0
แต่ 𝐶+𝐷 เป็ นพืน้ ที่ใต้แกน 𝑋 ต้องคูณลบ 0 𝐶 7
𝑋
7 𝑦 = −1
(𝑟, −1) 𝐷 (𝑠, −1)
นั่นคือ 𝐶 + 𝐷 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 …(∗)
0
และ 𝐷 คือพืน้ ที่ที่อยูร่ ะหว่าง 𝑦 = −1 และ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัง้ แต่ 𝑥=𝑟 ถึง 𝑥 = 𝑠
𝑠
ดังนัน้ 𝐷 = ∫ (−1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 → แทนใน (∗) :
𝑟 𝑠 7
𝐶 + ∫ (−1 − 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 = −∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
𝑟 0
𝑠 7
𝐶 = ∫ (1 + 𝑓(𝑥)) 𝑑𝑥 − ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 → 5. ถูก
𝑟 0

70. กำหนดให้ ℝ เป็ นเซตของจำนวนจริ ง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ทกุ อันดับ และ
สอดคล้ องกับ 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) และ 𝑔′ (𝑥) = 4𝑥 3 + 9𝑥 2 + 2 สำหรับทุกจำนวนจริ ง 𝑥
พิจำรณำข้ อควำมต่อไปนี ้
(ก) ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 6
(ข) ค่ำตำ่ สุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ำกับ 2
(ค) อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงของ (𝑓 + 𝑔)(𝑥) เทียบกับ 𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 1 เท่ำกับ 12
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง [PAT 1 (มี.ค. 2559/28)]
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสำมข้
้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสำมข้
้ อ
ตอบ 1
อินทิเกรต 𝑔′ (𝑥) = 4𝑥 3 + 9𝑥 2 + 2
4𝑥 9𝑥 4 3
จะได้ 𝑔(𝑥) =
4
+
3
+ 2𝑥 + 𝑐 = 𝑥 4 + 3𝑥 3 + 2𝑥 + 𝑐 …(∗)
จำก 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) แทน 𝑔(𝑥) จำก (∗) จะได้ 𝑥 4 + 3𝑥 3 + 2𝑥 + 𝑐 = 𝑥𝑓(𝑥) แทน 𝑥 = 0
4 3)
0 + 3(0 + 2(0) + 𝑐 = (0) 𝑓(0)
𝑐 = 0
แทน 𝑐=0 ใน (∗) จะได้ 𝑔(𝑥) = 𝑥 4 + 3𝑥 3 + 2𝑥 = 𝑥𝑓(𝑥) ÷ 𝑥 ตลอด
𝑥 3 + 3𝑥 2 + 2 = 𝑓(𝑥) …(∗∗)
ก. และ ข. หำค่ำสัมพัทธ์ของ 𝑓 ต้ องดูเครื่ องหมำยของ 𝑓 ′ (𝑥)
จำก 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 3𝑥 2 + 2 → ดิฟจะได้ 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 + 6𝑥
= 3𝑥(𝑥 + 2)

ขึ ้น ลง ขึ ้น สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −2

+ − + ต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥= 0

−2 0
ดังนัน้ ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ = 𝑓(−2) = + 3(−2) + 2 = 6 → ก. ถูก
(−2)3 2

ค่ำตำ่ สุดสัมพัทธ์ = 𝑓(0) = (0)3 + 3(0)2 + 2 = 2 → ข. ถูก


ค. อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงของ (𝑓 + 𝑔)(𝑥) ขณะที่ 𝑥 = 1 คือ (𝑓 + 𝑔)′ (1) นัน่ เอง
(𝑓 + 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑥) + 𝑔(𝑥) = 𝑥 3 + 3𝑥 2 + 2 + 𝑥 4 + 3𝑥 3 + 2𝑥
.0123456789 4 3 2
+ − + ต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥= 0

−2 0
ดังนัน้ ค่ำสูงสุดสัมพัทธ์ = 𝑓(−2) = + 3(−2) + 2 = 6 → ก. ถูก
(−2)3 2
คลังโจทย์ 41
ค่ำตำ่ สุดสัมพัทธ์ = 𝑓(0) = (0)3 + 3(0)2 + 2 = 2 → ข. ถูก
ค. อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงของ (𝑓 + 𝑔)(𝑥) ขณะที่ 𝑥 = 1 คือ (𝑓 + 𝑔)′ (1) นัน่ เอง
(𝑓 + 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑥) + 𝑔(𝑥) = 𝑥 3 + 3𝑥 2 + 2 + 𝑥 4 + 3𝑥 3 + 2𝑥
= 𝑥 4 + 4𝑥 3 + 3𝑥 2 + 2𝑥 + 2

ดิฟ จะได้ (𝑓 + 𝑔)′ (𝑥) = 4𝑥 3 + 12𝑥 2 + 6𝑥 + 2


ดังนัน้ (𝑓 + 𝑔)′ (1) = 4(1)3 + 12(1)2 + 6(1) + 2 = 24 → ค. ผิด

71. จงหาสมการของพาราโบลาคว่าที่ผา่ นจุดกาเนิดและจุด (2, 4) ที่ทาให้ พื ้นที่ใต้ กราฟพาราโบลารูปนี ้เมื่อเทียบกับ


แกน 𝑋 มีคา่ น้ อยที่สดุ [สมาคม (พ.ย. 2559/30)]
ตอบ 𝑦 = −2𝑥 2 + 6𝑥
ให้ สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 → กราฟควา่ จะได้ 𝑎 < 0
→ ผ่านจุด (0, 0) จะได้ 0 = 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 𝑐 → ผ่านจุด (2, 4) จะได้ 4 = 𝑎(22 ) + 𝑏(2)
0= 𝑐 4 = 4𝑎 + 2𝑏
2 = 2𝑎 + 𝑏
เหลือ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥
2 − 2𝑎 = 𝑏 …(∗)
𝑎 เป็ นลบ ดังนัน้ 𝑏 จะเป็ นบวก

หาพื ้นที่ใต้ กราฟเทียบกับแกน 𝑋 ต้ องอินทิเกรตระหว่าง จุดตัดแกน 𝑋


0 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥
แทน 𝑦 = 0 0 = 𝑥(𝑎𝑥 + 𝑏)
𝑏
𝑥 = 0 , −𝑎
b

a 𝑏 𝑎 เป็ นลบ 𝑏 เป็ นบวก
𝑎𝑥 3 𝑏𝑥 2 − 𝑎
จะได้ พื ้นที่ใต้ กราฟ =  𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 𝑑𝑥 =
2
3
+ 2
| −
𝑏
จะเป็ นบวก
0 𝑎
0
𝑎 𝑏 3 𝑏 𝑏 2 𝑏3 𝑏3 𝑏3
= (− ) + (− ) − 0 =− + =
3 𝑎 2 𝑎 3𝑎2 2𝑎 2 6𝑎 2
(2−2𝑎)3 23 (1−𝑎)3 4(1−𝑎)3
แทน 𝑏 = 2 − 2𝑎 จาก (∗) จะได้ พื ้นที่ =
6𝑎 2 =
6𝑎 2 =
3𝑎 2

โจทย์ถามพื ้นที่น้อยสุด ต้ องดิฟแล้ วดูจดุ ที่อนุพนั ธ์เปลีย่ นจาก ลบ เป็ น บวก


𝑑 𝑑
3𝑎 2 12(1−𝑎)2 (−1) − 4(1−𝑎)3 6𝑎 𝑑 บน (ล่าง∙ บน)−(บน∙𝑑𝑥 ล่าง)
ดิฟพื ้นที่ = 9𝑎 4
( )
𝑑𝑥 ล่าง
= 𝑑𝑥
ล่าง 2

=
−12𝑎(1−𝑎)2 (3𝑎 + 2(1−𝑎)) วงเล็บกาลังคู่
9𝑎 4
→ ไม่ต้องสลับ มีลบอยูห ่ น้ าสุด
4(1−𝑎)2 (𝑎 + 2)
= −
3𝑎 3
− + − − → เริ่ มที่ ลบ

−2 0 1
จะเห็นว่าอนุพนั ธ์เปลีย่ นจากลบเป็ นบวก เมื่อ 𝑎 = −2 → แทนใน (∗) ได้ 𝑏 = 2 − 2(−2) = 6
จะได้ สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = −2𝑥 2 + 6𝑥

.0123456789
42 คลังโจทย์

2𝑥 + 22−𝑥 − 5
72. ค่ำของ lim
x2 −
𝑥 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 2559/42)]
2 2 − 21−𝑥

ตอบ 12
2𝑥 + 22−𝑥 − 5 22 + 22−2 − 5 4+1−5 0
ถ้ำแทน 𝑥=2 จะได้ −
𝑥 = 2
−2
= 2−1 − 2−1
= 0
หำค่ำไม่ได้ → ต้องจัดรูปให้ตดั กันก่อน
2 2 − 21−𝑥 2 − 21−2
2𝑥 + 22−𝑥 − 5 2𝑥 2𝑥+𝑥 + 22−𝑥+𝑥 − 5(2𝑥 )
คูณ 2𝑥 ทัง้ เศษและส่วน ให้เลขชีก้ ำลังเป็ นบวก → 𝑥 ∙ 𝑥 = 𝑥
2 2 − 21−𝑥 2
− − +𝑥
2 2 − 21−𝑥+𝑥
22𝑥 + 22 −5(2𝑥 ) 22𝑥 − 5(2𝑥 ) + 4
ข้ำงบน แยกตัวประกอบ = 𝑥 = 𝑥
22 − 2 22 − 2
𝑥 𝑥
𝑥
22𝑥 − 5(2𝑥 ) + 4 (2𝑥 −4)(2𝑥 −1) 22 + 2 (2𝑥 −4)(2𝑥 −1)(22 + 2)
จัดรูปต่อ 𝑥 = 𝑥 ∙ 𝑥 = 2𝑥 − 4
= (2𝑥 − 1)(22 + 2)
22 −2 22 −2 22 +2

ข้ำงล่ำง คูณให้เข้ำสูตร (น − ล)(น + ล) = น2 − ล2


𝑥 2
2𝑥 + 22−𝑥 − 5
ดังนัน้ lim
x2 −
𝑥 = lim (2𝑥 − 1)(22 + 2) = (22 − 1)(22 + 2) = 12
x2
2 2 − 21−𝑥

73. กำหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจำนวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏
2
เป็ นจำนวนจริง และสอดคล้องกับ 𝑓 ′′ (1) = 3𝑓 ′ (1) และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 18
1

ถ้ำเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 ขนำนกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥=1 แล้วค่ำของ 𝑓(2) เท่ำกับเท่ำใด


[PAT 1 (ต.ค. 2559/43)]

ตอบ 30
เส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 ขนำนเส้นโค้งที่ 𝑥=1 → ควำมชันเส้นตรง = ควำมชันเส้นโค้งที่ 𝑥 = 1
6𝑥 +4=𝑦 6 = 𝑓 ′ (1)
ควำมชัน = 6 6 = 𝑎(12 ) + 𝑏(1)
6 = 𝑎 + 𝑏 …(1)

จำก 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 โจทย์ให้ 𝑓 ′′ (1) = 3𝑓 ′ (1)


จำกควำมชันเส้นตรง จะได้ 𝑓 ′ (1) = 6
2𝑎(1) + 𝑏 = 3(6)
จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏
2𝑎 + 𝑏 = 18 …(2)
จำก (1) : 𝑎 + 𝑏 = 6 …(1)
(2) − (1) : 𝑎 = 12 แทนใน (1) : 12 + 𝑏 = 6
𝑏 = −6

ดังนัน้ 𝑓 ′ (𝑥) = 12𝑥 2 − 6𝑥


12𝑥 3 6𝑥 2
อินทิเกรต จะได้ 𝑓(𝑥) = 3
− 2
+ 𝑐 = 4𝑥 3 − 3𝑥 2 + 𝑐 …(∗)
2 2
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  4𝑥 3 − 3𝑥 2 + 𝑐 𝑑𝑥
1 1
4𝑥 4 3𝑥 3 2 2
= 4
− 3
+ 𝑐𝑥 | = 𝑥 4 − 𝑥 3 + 𝑐𝑥 |
1 1
= (24 − 2 + 2𝑐) − (14 − 13 + 𝑐)
3

= 8 + 𝑐
2
แต่โจทย์ให้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 18 ดังนัน้ 8 + 𝑐 = 18
1 𝑐 = 10

แทนใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 3 − 3𝑥 2 + 10 ดังนัน้ 𝑓(2) = 4(23 ) − 3(22 ) + 10 = 30

.0123456789
คลังโจทย์ 43

𝑓(𝑥) 4
74. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีความต่อเนื่องที่ 𝑥 = −3 และ x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4

ถ้ า 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) ค่าของ 𝑔′ (−3) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2561/12)]


ก. −15 ข. −13 ค. 2 ง. 5
ตอบ ข
𝑓(𝑥) 4 𝑓(𝑥) 4 𝑓(𝑥) 4 (𝑥+1)𝑓(𝑥) + 4
จาก x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4 → จัดรูป 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3 = 𝑥+3 + (𝑥+1)(𝑥+3) = (𝑥+1)(𝑥+3)
(−3+1)𝑓(−3)+4 −2𝑓(−3)+4
จะเห็นว่าเมื่อแทน 𝑥 = −3 จะได้ (−3+1)(−3+3)
= 0
→ ลิมิตหาค่าได้ = 4 แสดงว่าเศษต้ อง = 0
จะได้ −2𝑓(−3) + 4 = 0
𝑓(−3) = 2 …(1)
0 ดิฟ บน (𝑥+1)𝑓′ (𝑥)+𝑓(𝑥)
ลิมิตอยูใ่ นรูป 0
→ ใช้ โลปิ ตาล จะได้ ดิฟ ล่าง
= 2𝑥+4
(−3+1)𝑓′ (−3)+𝑓(−3) −2𝑓′ (−3)+2
เมื่อแทน 𝑥 = −3 จะได้ 2(−3)+4
= −2
จะเห็นว่าส่วน ≠ 0 แล้ ว

𝑓(𝑥) 4 −2𝑓′ (−3)+2


จาก x3
lim ( 𝑥+3 + 𝑥 2+4𝑥+3) = 4 จะสรุปได้ วา่ −2
= 4

𝑓 (−3) = 5 …(2)
จาก 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥)
𝑔′ (𝑥) = 𝑥𝑓 ′ (𝑥) + 𝑓(𝑥)
จาก (1) และ (2)
𝑔′ (−3) = (−3)𝑓 ′ (−3) + 𝑓(−3)
𝑔′ (−3) = (−3)( 5 ) + 2 = −13

75. จงหำจำนวนจริง 𝑥0 ทัง้ หมดที่ทำให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥1/3(1 − 𝑥)2/3


มีคำ่ สุดขีดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 𝑥0 [สมำคม (พ.ย. 2562/10)]
ตอบ 13 , 1
ค่ำสูงสุด-ต่ำสุดสัมพัทธ์ จะเกิดตรงจุดที่ 𝑓 ′ เปลีย่ นเครือ่ งหมำยจำกบวกเป็ นลบ หรือ ลบเป็ นบวก
𝑓(𝑥) = 𝑥 1/3 (1 − 𝑥)2/3
1 1 2 2
2 1
𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 3 (3 (1 − 𝑥)−3 (−1)) + (1 − 𝑥)3 (3 𝑥 −3 )
1 2
2𝑥 3 (1−𝑥)3
= − 1 + 2
3(1−𝑥)3 3𝑥 3
−2𝑥+(1−𝑥) 1−3𝑥 3𝑥−1
= 1 2 = 1 2 = 1 2
3(1−𝑥)3 𝑥3 3(1−𝑥)3 𝑥3 3(𝑥−1)3 𝑥 3
2
+ + − +
ตรงจุด 𝑥 = 0 มำจำก 𝑥 3
𝑥 คู่ ไม่ตอ้ งเปลี่ยนเครือ่ งหมำย
1
0 1
3

จำกเส้นจำนวน จะเห็นว่ำ 𝑓 ′(𝑥) เปลีย่ นเครือ่ งหมำยที่ 𝑥 = 13 , 1


เนื่องจำก 𝑓(𝑥) ต่อเนื่อง (เพรำะ 𝑓 มีแต่ 3√ และไม่มีตวั ส่วน) ดังนัน้ ค่ำสูงสุดต่ำสุดสัมพัทธ์ จะเกิดที่ 𝑥 = 13 , 1
หมำยเหตุ : 𝑓 ′ (𝑥) จะหำค่ำไม่ได้เมื่อ 𝑥 = 1 แต่ก็ยงั เกิดจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ได้ เพรำะ 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจำกลบ (ขำลง) เป็ น
บวก (ขำขึน้ ) และ 𝑓 ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1

.0123456789
44 คลังโจทย์

76. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 4 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้


(ก) ถ้ำ 0 < 𝑎 < 1 แล้ว 𝑓(𝑎) > 𝑓(2 − 𝑎)
(ข) 𝑓(𝑥) < 4 สำหรับทุกจำนวนจริง 𝑥 < 0
(ค) 𝑓 มีคำ่ ต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 2559/8)]
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สำมข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สำมข้อ
ตอบ 4
(ก) 𝑓(𝑎) > 𝑓(2 − 𝑎)
𝑎3 − 3𝑎2 + 4 > (2 − 𝑎)3 − 3(2 − 𝑎)2 + 4
𝑎3 − 3𝑎2 > (2 − 𝑎)3 − 3(2 − 𝑎)2 น2 − ล2 = (น − ล) (น + ล)
3(2 − 𝑎)2 − 3𝑎2 > (2 − 𝑎)3 − 𝑎3 น3 − ล3 = (น − ล) (น2 + นล + ล2 )
3[(2 − 𝑎)2 − 𝑎2 ] > (2 − 𝑎)3 − 𝑎3
3(2 − 𝑎 − 𝑎)(2 − 𝑎 + 𝑎) > (2 − 𝑎 − 𝑎)((2 − 𝑎)2 + (2 − 𝑎)𝑎 + 𝑎2 )
3(2 − 2𝑎 )(2 ) > (2 − 2𝑎 )((2 − 𝑎)2 + 2𝑎 − 𝑎2 + 𝑎2 ) 0<𝑎<1
6 > (2 − 𝑎)2 + 2𝑎 …(∗) ดังนัน้ 2 − 2𝑎 เป็ นบวก
จึงตัดได้โดยไม่ตอ้ งกลับ
เนื่องจำก 0<𝑎<1 ดังนัน้ (2 − 𝑎)2 < 4 …(1) มำกกว่ำ ↔ น้อยกว่ำ
เนื่องจำก 0<𝑎<1 ดังนัน้ 2𝑎 < 2 …(2)
(1) + (2) : (2 − 𝑎)2 + 2𝑎 < 6 → (∗) จริง ดังนัน้ (ก) ถูก
(ข) 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥
= 3𝑥(𝑥 − 2)
จะเห็นว่ำในช่วง (−∞, 0] ค่ำสูงสุดสัมบูรณ์ของ 𝑓(𝑥) เกิดเมื่อ 𝑥 = 0
+ − +
0 2 ดังนัน้ เมื่อ 𝑥 < 0 จะได้ 𝑓(𝑥) < 𝑓(0) = 03 − 3(02 ) + 4 = 4 → (ข) ถูก
(ค) จำกเส้นจำนวนในข้อ (ข) จะได้ ค่ำต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 2 → (ค) ถูก

77. ถ้ำ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนำม และกรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกรำฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5
5
แล้ว  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/24)]
2

1. 94 2. 104 3. 158 4. 258 5. 264


ตอบ 4
โจทย์ให้กรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกรำฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5

ที่ 𝑥=2 จะได้ 𝑦 = 3(2) − 4 = 2 แสดงว่ำ 𝑓(2) = 2


ที่ 𝑥=5 จะได้ 𝑦 = 3(5) − 4 = 11 และ 𝑓(5) = 11 ด้วย …(∗)

พิจำรณำค่ำที่โจทย์ถำม จะเห็นว่ำมี 2𝑥 และ 𝑥 2 − 1 → ถ้ำให้ 𝑢 = 𝑥2 − 1 จะได้ 𝑢′ = 2𝑥


ให้ 𝑣 = 𝑓(𝑥) จะได้ 2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′(𝑥) = (𝑢′ )(𝑣) + (𝑢)(𝑣 ′ )
สูตรดิฟผลคูณ
= (𝑢𝑣)′
5
5
ดังนัน้  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 = 𝑢𝑣 |
2 2
5
= (𝑥 2 − 1)𝑓(𝑥) |
2
= (52 − 1)𝑓(5) − (22 − 1)𝑓(2)
จำก (∗)
= (24) (11) − (3) (2)
.0123456789
ตอบ 4
โจทย์ให้กรำฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกรำฟของ 𝑦 = 3𝑥 − 4 ที่ 𝑥=2 และ 𝑥=5

ที่ 𝑥=2 จะได้ 𝑦 = 3(2) − 4 = 2 แสดงว่ำ 𝑓(2) = 2คลังโจทย์ 45


ที่ 𝑥=5 จะได้ 𝑦 = 3(5) − 4 = 11 และ 𝑓(5) = 11 ด้วย …(∗)

พิจำรณำค่ำที่โจทย์ถำม จะเห็นว่ำมี 2𝑥 และ 𝑥 2 − 1 → ถ้ำให้ 𝑢 = 𝑥2 − 1 จะได้ 𝑢′ = 2𝑥


ให้ 𝑣 = 𝑓(𝑥) จะได้ 2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′(𝑥) = (𝑢′ )(𝑣) + (𝑢)(𝑣 ′ )
สูตรดิฟผลคูณ
= (𝑢𝑣)′
5
5
ดังนัน้  (2𝑥𝑓(𝑥) + (𝑥 2 − 1)𝑓 ′ (𝑥)) 𝑑𝑥 = 𝑢𝑣 |
2 2
5
= (𝑥 2 − 1)𝑓(𝑥) |
2
= (52 − 1)𝑓(5) − − 1)𝑓(2) (22
จำก (∗)
= (24) (11) − (3) (2)
= 258

78. กำหนดให้ 𝑓, 𝑔, ℎ : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥) ℎ(𝑥) และ ℎ(𝑥) > 0 ทุก 𝑥 ∈ ℝ
ถ้ำสมมติวำ่ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| ≤ |𝑥 − 𝑦|2562 สำหรับทุก 𝑥, 𝑦 ∈ ℝ
ℎ ′ (7)
𝑓(7) = 8 และ 𝑔′ (7) = 4 แล้ว จงหำค่ำของ 2 [สมำคม (พ.ย. 2562/14)]
(ℎ(7))

ตอบ −0.5
ℎ ′(7) ล่ำง บน′ −บน ล่ำง′
2 จะมีสว่ นคล้ำยกับดิฟผลหำร ล่ำง2
→ จะพยำยำมจัดรูปให้ ℎ(𝑥) เป็ นตัวหำร
(ℎ(7))
𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥) ℎ(𝑥)
𝑓(𝑥)
= 𝑔(𝑥)
ℎ(𝑥)
ℎ(𝑥)𝑓′ (𝑥)−𝑓(𝑥)ℎ′ (𝑥)
2 = 𝑔′ (𝑥)
(ℎ(𝑥))
ℎ(7)𝑓′ (7)−𝑓(7)ℎ′ (7)
2 = 𝑔′ (7)
(ℎ(7))
ℎ(7)𝑓′ (7)− 8 ℎ′ (7)
2 = 4 …(∗)
(ℎ(7))

จะหำ 𝑓 ′ (7) มำแทนใน (∗) โดยพยำยำมใช้ |𝑓(𝑥) − 𝑓(𝑦)| ≤ |𝑥 − 𝑦|2562 ที่โจทย์กำหนดให้


𝑓(7+ℎ)−𝑓(7)
จำกนิยำมของอนุพนั ธ์ จะได้ 𝑓 ′ (7) = lim
h0 ℎ
|𝑓(7+ℎ)−𝑓(7)|
|𝑓 ′ (7)| = lim |ℎ|
h0
|7+ℎ−7|2562
≤ lim
h0 |ℎ|
|ℎ|2562
= lim |ℎ|
h0

= lim
h0
|ℎ|2561 = 0 → จะสรุปได้วำ่ 𝑓 ′(7) = 0
ℎ(7)( 0 ) − 8 ℎ′ (7)
แทน 𝑓 ′ (7) = 0 ใน (∗) จะได้ 2 = 4
(ℎ(7))
− 8 ℎ′ (7)
2 = 4
(ℎ(7))
ℎ′ (7) 4
2 = −8
= −0.5
(ℎ(7))

.0123456789
46 คลังโจทย์

79. ค่าของ lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥) ) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/4)]
a 0  x  
1 1
ก. 0 ข. ∞ ค. 2
ง. −2

ตอบ ง
lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥) )
a 0  x  
คูณคอนจูเกต ให้ กลายเป็ นเศษส่วน
√𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎𝑥
= lim ( lim (√𝑎2 𝑥 2 + |𝑎|𝑥 + 𝑎𝑥 ∙ ))
a 0 x   √𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎𝑥
𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎2 𝑥 2
= lim ( lim ( ))
a 0 x   √𝑎 2 𝑥 2 +|𝑎|𝑥 − 𝑎𝑥
|𝑎|𝑥
= lim ( lim ( ))
a 0 x   √𝑥 2 (𝑎2 +
|𝑎|
) − 𝑎𝑥
𝑥 √𝑥 2 = |𝑥|
|𝑎|𝑥
= lim ( lim ( ))
a 0 x   |𝑎|
|𝑥| √𝑎2 + − 𝑎𝑥
𝑥 𝑥 → −∞ ดังนัน้ 𝑥 เป็ นลบ จึงทาให้ |𝑥| = −𝑥
|𝑎|𝑥
= lim ( lim ( ))
a 0 x   |𝑎|
(−𝑥) √𝑎2 + − 𝑎𝑥
|𝑎|
𝑥
ตัด 𝑥 ทังบนและล่
้ าง
= lim ( lim ( ))
a 0 x   |𝑎|
− √𝑎2 + − 𝑎
𝑥
|𝑎|
= lim
a 0 − √𝑎2 −0 − 𝑎
|𝑎|
= lim
− |𝑎| − 𝑎
a 0
𝑎
𝑎 → 0+ ดังนัน้ 𝑎 เป็ นบวก จึงทาให้ |𝑎| = 𝑎
= lim −𝑎 − 𝑎
a 0
1
= −2

.0123456789

You might also like