You are on page 1of 20

วิทยาศาสตรกายภาพ 2 (ฟสิกส)

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

หนวยการเรียนรูที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 2 หนวยการเรียนรูที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 4

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
หนวยการเรียนรูที่ 4
คลื่น

ตัวชี้วัด
• สังเกตและอธิบายการสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น
• สังเกตและอธิบายความถี่ธรรมชาติ การสั่นพอง และผลที่เกิดขึ้นจากการสั่นพอง
• สังเกตและอธิบายการสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่นของคลื่นเสียง
• สืบคนขอมูลและอธิบายความสัมพันธระหวางความเขมเสียงกับระดับเสียงและผลของความถี่ กับระดับเสียงที่มีตอการไดยินเสียง
• สังเกตและอธิบายการเกิดเสียงสะทอนกลับ บีต ดอปเพลอร และการสั่นพองของเสียง
• สืบคนขอมูลและยกตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับเสียงไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
• สังเกตและอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุ และความผิดปกติในการมองเห็นสี
• สังเกตและอธิบายการทํางานของแผนกรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการนํา ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
• สืบคนขอมูลและอธิบายคลื่นแมเหล็กไฟฟา สวนประกอบคลื่นแมเหล็กไฟฟา และหลักการ ทํางานของอุปกรณบางชนิดที่อาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟา
• สืบคนขอมูลและอธิบายการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแมเหล็กไฟฟาในการสงผานสารสนเทศ และ เปรียบเทียบการสื่อสารดวยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล
คลื่นกล
คลื่นกลเปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถายโอนพลังงาน อัตราเร็วของคลื่นกลขึ้นอยูกับความยืดหยุนของ
ตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนผาน เชน คลื่นในเสนเชือก คลื่นในสปริง คลื่นนํ้า คลื่นเสียง สามารถแบงคลื่นกลออกเปน 2 ชนิด

คลื่นตามยาว (longitudinal wave) คลื่นตามขวาง (transverse wave)


เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ตามหรือขนานกับ เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ขวางหรือตั้งฉากกับ
ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นเสียง คลื่นตามยาวบน ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นผิวนํ้า คลื่นในเชือก
ขดลวดสปริงที่เกิดจากการดึงหรืออัดสปริง
ทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาค ทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาค

ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
สวนประกอบของคลื่น
สันคลื่น (crest)
เปนตําแหนงที่มีการกระจัดสูงสุดเหนือแนวสมดุล ความยาวคลื่น (wavelength)
λ เปนความยาวของคลื่น 1 ลูกคลื่น

แนวสมดุล
A

ทองคลื่น (trough) แอมพลิจูด (amplitude)


เปนตําแหนงที่มีการกระจัดสูงสุดใตแนวสมดุล เปนระยะกระจัดสูงสุดจากแนวสมดุล

คาบ (period; T) คือ เวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ไปเปนระยะทาง 1 ความยาวคลื่น อัตราเร็วของคลื่น (v) สามารถคํานวณไดจากสมการ


ความถี่ (frequency; 𝑓) คือ จํานวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่งหนวยเวลา
หรือ v = 𝑓λ
ความถี่และคาบมีความสัมพันธกัน ดังสมการ
สมบัติของคลื่น

การสะทอน การหักเห การเลี้ยวเบน การแทรกสอด


เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบ เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอ เมื่อคลื่นเคลื่อนผานมุมหรือขอบ เมื่อคลื่นสองขบวนเคลื่อนที่
สิ่งกีดขวางแลวไมอาจเคลื่อนที่ ระหวางตัวกลาง 2 ชนิด ที่มีค ของสิ่งกีดขวาง สวนของคลื่น มาพบกันบนตัวกลางเดียวกัน
ตอไปในทิศทางเดิมได คลื่นจะ วามหนาแนนตางกัน ทิศการ บริเวณใกลมุมของสิ่งกีดขวาง จะเกิดการรวมกัน หรือการ
เคลื่อนที่กลับสูตัวกลางเดิม เคลื่อนที่ของคลื่นจะมีการ จะเบนทิศการเคลื่อนที่ออมผาน แทรกสอดกัน
เปลี่ยนแปลง มุมของสิ่งกีดขวางไปปรากฏอยู
ดานหลังสิ่งกีดขวาง
คลื่นเสียง
เสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง โดยเสียงเปนคลื่นกลจึงตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ การสั่นสะเทือนจาแหลงกําเนิด
เสียงจะถายโอนผานตัวกลาง ทําใหอนุภาคตัวกลางสั่น เกิดเปนสวนอัดและสวนขยายขึ้นในตัวกลางที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผาน
อัด อัด อัด อัด อัด อัด

ขยาย ขยาย ขยาย ขยาย ขยาย ขยาย


ยานความถี่ของคลื่นเสียงอยูในชวงประมาณ 0.1 เฮิรตซ ถึง 600 เมกะเฮิรตซ โดยแบงตามชวงความถี่ได ดังนี้

0 Hz 20 Hz 20,000 Hz
คลื่นเสียงความถี่ตํ่า คลื่นเสียงที่ไดยิน คลื่นเสียงความถี่สูง
หรือคลื่นใตเสียง (infrasound) เปนคลื่นเสียงที่หูมนุษยปกติรับรูได หรือคลื่นเหนือเสียง (ultrasound)
เชน คลื่นที่เกิดจากกระแสลม เชน เสียงพูดคุยของมนุษย เสียงลําโพง เชน คลื่นเสียงที่เกิดจาก คางคาว โลมา
คลื่นเสียงที่ชางใชสื่อสารในระยะไกล  เสียงจากเครื่องดนตรี
สมบัติของคลื่นเสียง
การสะทอนของเสียง การเลี้ยวเบนของเสียง
คลื่นเสียง
คลื่นเสียงตกกระทบผิวรอยตอ คลื่นเสียงเดินทางออม
ระหวางตัวกลางหรือตัวกลาง สิ่งกีดขวาง โดยคลื่นจะแผ
คลื่นสะทอน จากขอบของสิ่งกีดขวางไป
ชนิดเดียวกันแตอุณหภูมิตางกัน
ยังดานหลังสิ่งกีดขวาง

การหักเหของเสียง การแทรกสอดของเสียง
คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลาง คลื่นเสียงสองขบวนที่มี
หนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ความถี่เทากันและมีเฟส
โดยคลื่นเสียงที่เคลื่อนที่ผาน ตรงกัน เคลื่อนที่มาซอนกัน
ตัวกลางใหมจะมีความถี่คงเดิม จะเกิดการแทรกสอดกัน
ธรรมชาติของเสียง
ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่ถายโอนผานพื้นที่ซึ่งตั้งฉาก ระดับเสียง อธิบายความดังของเสียงที่หูของมนุษยปกติ
กับทิศการเคลื่อนที่ของเสียงตอหนวยพื้นที่ในหนึ่งหนวยเวลา สามารถรับฟงไดอยูในชวง 0-120 เดซิเบล

หนวยเดซิเบล (dB) มีคาเปน 1 ใน 10 ของหนวยเบล หนวยเดซิเบลหาคาได จากสมการ


β คือ ระดับเสียง (dB)
I

ความเขมเสียง 10-12 10-11 10-10 10-9 10-8 10-7 10-6 10-5 10-4 10-3 10-2 10-1 4×10 -1 1
ระดับเสียง 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 116 120
ผลตอการไดยิน ยากตอการไดยิน เสียงเบา เสียงปานกลาง เสียงดัง เสียงดังมาก สูญเสียการไดยิน รูสึกปวดหู
หูกับการไดยิน
สวนประกอบของหู
หูชั้นนอก
กระดูกคอน ประสาทรับเสียง ทําหนาที่ รับเสียงจากภายนอก
ใบหู เปนทางผานของเสียงและขยาย
เยื่อแกวหู สัญญาณเสียงบางความถี่
หูชั้นกลาง
คอเคลีย ทําหนาที่ ขยายเสียงใหดังขึ้นหรือ
ลดเสียงใหเบาลง และปรับความ
รูหู
ดันอากาศภายในหู

ทอยูสเตเชียน หูชั้นใน
ทําหนาที่ แปลงสัญญาณเสียงเปน
กระดูกทั่ง กระดูกโกลน สัญญาณประสาท และสงสัญญาณ
การรับรูไปยังสมอง
หูกับการไดยิน
ปรากฏการณดอปเพลอร จะเกิดขึ้นเมื่อแหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่ ผูฟงเคลื่อนที่ หรือทั้งแหลงกําเนิดเสียงและผูฟงเคลื่อนที่
โดยผูฟงจะไดยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไป
ความถี่ตํ่าลง แหลงกําเนิดเสียง ความถี่สูงขึ้น
A B

แหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนออกหางผูฟง A ซึ่งอยูนิ่ง แหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนเขาหาผูฟง B ซึ่งอยูนิ่ง


เสียงที่ A ไดยินจึงมีความถี่ตํ่ากวาแหลงกําเนิดเสียง เสียงที่ B ไดยินจึงมีความถี่สูงกวาแหลงกําเนิดเสียง
คลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลื่นแมเหล็กไฟฟา (electromagnetic waves; EM) เกิดจากการรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา (electromagnetic disturbance)
โดยการทําใหสนามไฟฟาหรือสนามแมเหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็ก
หรือถาสนามแมเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟา จึงจัดเปนคลื่นตามขวางแผออกไปจากแหลงกําเนิดโดยไม
ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถายโอนพลังงงาน และสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได

สวนประกอบและทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา Y

คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวยสนามแมเหล็ก (B) และสนามไฟฟา (E)


ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาในระนาบที่ตั้งฉากกัน โดยการเหนี่ยวนํากันอยาง O
ตอเนื่อง มีทิศการเคลื่อนที่หรือทิศการถายโอนพลังงานของคลื่นอยูในทิศ
เดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
Z
X
คลื่นแมเหล็กไฟฟา
สเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
วิทยุ ไมโครเวฟ อินฟราเรด แสงขาว อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ รังสีแกมมา
ความยาวคลื่น (m)
103 10-2 10-5 5×10-6 10-8 10-10 10-12
ขนาดเทียบเทา

ชวงความถี่ (Hz)
104-109 108-1012 1011-1014 1014 1015-1018 1016-1019 1019-1023
แสง
แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาเพียงชนิดเดียวที่นัยนตามนุษยสามารถรับรูได แสงจากดวงอาทิตยหรือแสงแดดเปนแสงใสไมมีสี
เรียกวา แสงขาว (white light) เมื่อแสงขาวหักเหผานปริซึม หรือผานละอองนํ้าในอากาศจะแยกออกเปนแสงสีตาง ๆ
สเปกตรัมของแสงขาว ความยาวคลื่น (nm)
แสงขาว 700
650
600
550
500
450
400

ปริซึมสามเหลี่ยม
เนื่องจากการหักเหไมเทากัน สเปกตรัมของแสงจะประกอบไปดวย สีมวง สีคราม สีนํ้าเงิน สีเขียว สีเหลือง สีแสด และสีแดง
ตากับการมองเห็น
ความผิดปกติทางสายตาและการแกไข
สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง
มองใกลชัดแตมองไกลไมชัด มองไกลชัดแตมองใกลไมชัด มองเห็นภาพเบลอ

สาเหตุ : กระจกตาโคงมากกวาปกติ สาเหตุ : กระจกตาโคงนอยกวาปกติ สาเหตุ : กระจกตามีความโคงไมเทากัน


แสงจากวัตถุจึงตกไมถึงจอภาพ แสงจากวัตถุจึงตกเลยจอภาพ แสงจากวัตถุจึงตกไมถึงจอภาพ

แกไข : สวมแวนตาที่ทําจากเลนสเวา แกไข : สวมแวนตาที่ทําจากเลนสนูน แกไข : สวมแวนตาที่ทําจากเลนสทรง-


เพื่อกระจายแสงใหไปตกที่จอภาพพอดี เพื่อรวมแสงใหไปตกที่จอภาพพอดี กระบอกเพื่อรวมแสงใหไปตกที่จอภาพพอดี
ตากับการมองเห็น
การผสมแสงสี
เมื่อฉายแสงสีแดง สีเขียว และสีนํ้าเงิน ที่มีความเขมเทากัน
ใหซอนทับกันบนฉากขาวจะไดแสงขาว จึงเรียกแสงสีเหลานี้ แดง เหลือง เขียว
รวมกันวา แสงสีปฐมภูมิ
แสงสีปฐมภูมิ

R G B แสงขาว
แสงสีแดง แสงสีเขียว แสงสีนํ้าเงิน แดงมวง นํ้าเงินเขียว

แสงสีทุติยภูมิ

Y M C นํ้าเงิน
+ + + การผสมแสงสีปฐมภูมิบนฉากขาว
ตากับการมองเห็น
การผสมสารสี
เมื่อนําสารสีนํ้าเงินเขียว แดงมวง และเหลือง ที่มีความเขม
นํ้าเงินเขียว แดงมวง
เทากันมาผสมกันจะไดสารสีดํา จึงเรียกสารสีเหลานี้วา นํ้าเงิน
สารสีปฐมภูมิ
สารสีปฐมภูมิ

C M Y ดํา
สีนํ้าเงินเขียว สีแดงมวง สีเหลือง เขียว แดง

สารสีทุติยภูมิ

R G B เหลือง
+ + +
การผสมสารสีปฐมภูมิบนฉากขาว
ประโยชนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ขอมูลหรือสารสนเทศไมสามารถสงไปในระยะทางไกลไดโดยตรง จึงตองแปลงขอมูลใหเปนสัญญาณไฟฟาที่เรียกวา สัญญาณขอมูล
กอนสงผานสื่อกลาง โดยสัญญาณขอมูลที่ใชในการสื่อสาร แบงออกเปน 2 ชนิด
สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) สัญญาณดิจิทัล (digital signal)
• สัญญาณมีลักษณะเปนคลื่นตอเนื่อง • สัญญาณมีลักษณะเปนคลื่นไมตอเนื่องคลายขั้นบันได
• สัญญาณจะเปลี่ยนแปลงตอเนื่องแบบคอยเปนคอยไป • ขนาดของสัญญาณมีคาคงตัวเปนชวง ๆ
• สัญญาณถูกรบกวนไดงาย • การเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณเปนแบบทันทีทันใด
• การใชงาน เชน สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท วิทยุ • สัญญาณถูกรบกวนไดยาก
• การใชงาน เชน สัญญาณที่คอมพิวเตอรใชในการทํางาน
ระดับสัญญาณ ระดับสัญญาณ

1
เวลา
0 เวลา
ตากับการมองเห็น
สื่อกลางในการสงผานขอมูล
การสื่อสารขอมูลตองอาศัยสื่อกลางในการสงขอมูลไปยังจุดหมายปลายทาง สื่อกลางในการสื่อสารขอมูลแบงเปน 2 ประเภท
สื่อกลางแบบใชสาย สื่อกลางแบบไรสาย
ผูสง ผูรับ

อินฟราเรด (infrared) ใชเปนสื่อกลางในการสื่อสารระยะใกล


สายนําสัญญาณไฟฟา สงขอมูลดวยระดับสัญญาณไฟฟาที่ โดยไมมีสิ่งกีดขวาง เชน คอมพิวเตอรกับเมาสไรสาย
แตกตางกัน และตัวรับสัญญาณปลายทางจะแปลงขอมูลให คลื่นวิทยุ (radio wave) ใชเปนสื่อกลางไดทั้งระยะไกลและใกล
ใกลเคียงหรือเหมือนกับตนทางที่สงมา จะสงขอมูลในรูปสัญญาณวิทยุผานอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ
สายเสนใยนําแสง ประกอบดวยเสนใยนําแสง (fiber optic) ไมโครเวฟ (microwave) ใชเปนสื่อกลางในการสื่อสารระยะไกล
หลาย ๆ เสนอยูรวมกัน จะสงขอมูลเหมือนกับคลื่นวิทยุ แตผานสิ่งกีดขวางไมได

You might also like