You are on page 1of 10

10 ขัน

้ ตอนในการวางพล็อตนิยาย
ขัน
้ ที่ 1: เริ่มต้นต้วยชีวิตปกติ - แนะนำตัวละครหลักในชีวิตปกติ
ก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ที่นำไปสู่การเปลีย
่ นแปลง ช่วงนีจ
้ ะยังไม่มี
อะไรเกิดขึน
้ เป็ นวันธรรมดาๆ ของตัวละคร เริ่มเรื่องจากจุดซึ่งยัง
ไม่มีการกระทำสำคัญ พอเกิดเหตุการณ์บางอย่างขึน
้ ผู้อา่ นจะได้
เปรียบเทียบ
- ชีวต
ิ ปกติและชีวิตที่ไม่ค่อยปกติ
- ตอนนัน
้ และตอนนี ้
- ก่อนและหลัง
ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจปั ญหาที่ตัวละครเผชิญตัง้ แต่ต้นจนจบเรื่อง

ขัน
้ ที่ 2: และแล้วบางอย่างก็เกิดขึน
้  - เช่น นักสืบกลับบ้านไป
กินข้าวกับภรรยา (ชีวต
ิ ปกติ) จากนัน
้ ก็มีโทรศัพท์แจ้งว่ามีการ
ฆาตกรรมเกิดขึน
้ เป็ นต้น
เหตุการณ์เหล่านีจ
้ ะจุดชนวนให้เกิดการกระทำ ผลจากการเกิด
บางอย่างขึน
้ จะทำให้ตัวละครมีเป้ าหมายซึ่งคนอ่านรับรู้ได้
แต่ในขัน
้ นี ้ ตัวละครไม่จำเป็ นต้องมีเป้ าหมายทันทีก็ได้ หรือบางที
ตัวละครก็ไม่รู้ตัวว่าตัวเองมีเป้ าหมายแล้ว เพียงแต่มบ
ี างอย่างเกิด
ขึน
้ และทำให้ชวี ิตปกติปั่นป่ วน แต่อย่างไรก็ตาม สุดท้ายตัวละคร
ก็ต้องมีเป้ าหมาย

ขัน
้ ที่ 3: ตัวละครตัดสินใจที่จะทำบางอย่าง - หลังจากเกิดบาง
อย่างขึน
้ ตัวละครเริ่มตัดสินใจทำบางอย่าง แต่อาจยังไม่มีอะไร
เกิดขึน
้ มาก แต่คนอ่านควรรู้ว่าจะมีเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ ตามมา
เมื่อตัวละครรู้เป้ าหมายตัวเอง ซึง่ อาจเกิดตอนที่มีบางอย่างเกิด
ขึน
้ หรือภายหลัง แต่ตวั ละครอาจลังเลที่จะตัดสินใจทำ ขึน
้ อยู่กับ
นักเขียนด้วยว่าจะใส่ช่วงเวลาแห่งความลังเลด้วยหรือเปล่า หรือ
ตัวละครจะตัดสินใจทันทีเลยก็ได้ กระนัน
้ เรื่องอาจน่าสนใจมาก
ขึน
้ ถ้าตัวละครมีความลังเลบ้าง ซึ่งเป็ นเพราะต้องการเวลาหรือสิ่ง
ที่จะมากระตุ้นมากขึน
้ จนกระทั่งรู้สึกได้ว่าต้องตัดสินใจแล้ว
เมื่อตัวละครมีเป้ าหมายก็จะมีสิ่งที่ต้องทำไปตลอดเรื่อง ไม่ว่าการ
ตัดสินใจจะเกิดขึน
้ ช้าหรือเร็วก็ตาม การตัดสินใจนีจ
้ ะเป็ นจุด
เปลี่ยนผ่านจาก "จุดเริ่มต้น" ไปสู่ "ตอนกลาง" ของนิยาย (แอ๊ค 1
ไปสู่แอ๊ค 2) หรือเรียกว่าเป็ นตอนจบของแอ๊ค 1

การวางพล็อตช่วงกลางของเรื่อง
การวางพล็อตช่วงเริ่มต้นเป็ นการแนะนำตัวละครสำคัญในชีวิต
ปกติ จากนัน
้ มีเป้ าหมายและตัดสินใจที่จะทำบางอย่าง หน้าที่ของ
คนเขียนคือทำให้ผอ
ู้ ่านอยากรู้ว่าตัวละครจะทำอะไรต่อไป

แอ๊ค 2 คือการเริ่มต้นเดินทางของตัวละคร เช่น ในแอ๊ค 1 ตัว


ละครอาจอยู่บ้านหรือใช้ชีวิตปกติ แต่ในแอ๊ค 2 ตัดสินใจออกจาก
บ้านหรือทำในสิ่งที่ไม่คุ้นเคยหรือไม่ปลอดภัย ซึ่งอาจะเป็ น
- การออกเดินทางจริงๆ
- เข้าไปอยูใ่ นสถานการณ์ที่มีปัญหา
- หรือทัง้ สองอย่างข้างต้นรวมกัน

แต่ในขัน
้ นีต
้ วั ละครยังไม่จำเป็ นต้องบรรลุเป้ าหมายทันที แต่ผ่าน
กระบวนการต่างๆ เช่น
- เรียนรู้กฎเกณฑ์ของสถานการณ์ที่มีปัญหา
- สร้างมิตรและศัตรู
- ค้นพบตัวเองในมุมใหม่ เช่น พบว่าตัวเองมีความกล้าหาญ
มากกว่าที่คิด
การเดินทางนีไ้ ม่ง่าย อาจเป็ นการเดินหน้าหนึง่ ก้าว ถอยหลังสอง
ก้าว แต่ท้ายที่สุดก็จะค่อยๆ เข้าใกล้เป้ าหมาย

ขัน
้ ที่ 4: เริ่มใช้มินิพล็อต - พล็อตรองหรือมินิพล็อตคือการแตก
เป้ าหมายหลักเป็ นขัน
้ ตอนย่อยๆ เช่น สมมติจะไปซื้อกระดาษ จะ
ต้องทำอะไรบ้าง เช่น หาเงิน เดินข้ามถนนไปที่ร้านโดยไม่ถูกรถ
ชน หาร้านที่พอใจ ฯลฯ นัน
่ คือแตกเป้ าหมายหลักเป็ นเป้ าหมาย
ย่อยๆ ที่ต่อเนื่องกันไป หนึ่งเป้ าหมายย่อยถือเป็ นหนึ่งองค์
ประกอบของมินิพล็อต ในหนึ่งมินิพล็อตจะมี 5 องค์ประกอบ
ดังนี ้
1) ตัวละครตัดสินใจทำตามเป้ าหมาย เริ่มต้นลงมือกระทำ
2) ตัวละครเจอความขัดแย้ง สิ่งที่ต้องการใช่วา่ จะได้มาง่ายๆ
3) เดินทางมาถึงจุดที่ต้องหาทางแก้ปัญหา เพราะไม่สามารถ
ทำได้ตามที่ตงั ้ เป้ าหมายไว้
4) ตัวละครตอบสนองโดยใช้อารมณ์ เนื่องจากเจอความล้มเหลว
5) ตัวละครมีเป้ าหมายใหม่ ตัวละครหลักจะต้องไม่ล้มเลิกในครัง้
แรกที่เจอปั ญหา
ที่จริงมินิพล็อตน่าจะมีเพียง 4 องค์ประกอบ เพราะข้อสุดท้ายคือ
การตัง้ เป้ าหมายใหม่ สิ่งที่นักเขียนต้องทำคือให้ตัวละครมีเป้ า
หมายย่อยแรกที่จะต้องทำให้สำเร็จ เพื่อไปสู่เป้ าหมายย่อยต่อไป

ขัน
้ ที่ 5: เพิ่มมินิพล็อต - หลังจากมีมินิพล็อตแรกสะสมไว้แล้ว
เพื่อป้ องกันไม่ให้ช่วงกลางของเรื่องยืดยาด ควรเพิ่มมินิพล็อตอ
ย่างต่อเนื่อง ดังนี ้

- เมื่อจบหนึง่ มินิพล็อต ตัวละครตัง้ เป้ าหมายย่อยใหม่ ค่อยๆ เข้า


ใกล้ความจริงไปเรื่อยๆ
- แต่สุดท้ายก็มักคว้าน้ำเหลว
- ตัวละครหลบเลียแผลตัวเอง แต่สุดท้ายก็ลุกขึน
้ สู้และมีแผนหรือ
เป้ าหมายย่อยใหม่เสมอ
แต่ละมินิพล็อตควรเป็ นเหตุเป็ นผลสำหรับมินิพล็อตต่อไป
ขัน
้ ที่ 6: จุดต่ำสุด - การพัฒนาพล็อตเรื่องคือการใจร้ายกับตัว
ละครหลัก ในจุดนีต
้ วั ละครจะเจอปั ญหาหนักสุดกว่าที่พบมา แม้
จะพยายามมามากแค่ไหน รู้สึกเหมือนว่าสิ่งที่ตอ
้ งการอยู่ใกล้แค่
เอื้อม แต่ก็เกิดเหตุการณ์บางอย่างที่ทำให้พลาดหวัง ตัวละครมา
ถึงจุดต่ำสุด รู้สึกสิน
้ หวังที่จะบรรลุเป้ าหมายสูงสุด อย่างไรก็ตาม
ในขัน
้ ต่อไป เหตุการณ์จะพลิกผันและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

การวางพล็อตช่วงท้ายเรื่อง
ช่วงท้ายเรื่องจะเป็ นการรับมือกับผลที่เกิดขึน
้ จากการกระทำ
ต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมา การจบเรื่องที่ดีควรทำให้ผู้อา่ นพอใจหรือ
ให้รางวัล การจบเรื่องที่น่าพอใจจะเกิดขึน
้ เมื่อ
1. การจบเรื่องเหมาะสม ตัวละครได้รับสิ่งที่ควรได้รับ คนทำดีได้
ดี คนทำชั่วได้ชั่ว
2. การจบเรื่องชัดเจน หมายถึงว่าคำถามที่เราตัง้ ไว้ในช่วงเริ่ม
เรื่องมีคำตอบแล้ว
การจบเรื่องที่ดีตอ
้ งเหมาะสมและชัดเจน แต่ไม่ได้หมายความจะ
ต้องอธิบายทุกอย่างชัดเจนเสมอไป อาจทิง้ บางอย่างให้คนอ่าน
คิดหรือจินตนาการต่อไปได้

ขัน
้ ที่ 7: ปฏิกิริยาตอบสนอง - ในตอนกลางเรื่อง ตัวละครได้เดิน
ทางมาสู่จุดต่ำสุด เพราะพลาดเป้ าหมายสำคัญ (หลังจากที่พลาด
เป้ าหมายย่อยๆ มาก่อนหน้านี)้ คราวนีก
้ ็จะต้องตอบสนอง เช่น
ร้องไห้ กระทำรุนแรง หรืออะไรทำนองนัน
้ เป็ นจุดที่ตัวละครไม่มี
อะไรเหลือแล้ว ไม่มีแม้แต่พลังจะคร่ำครวญกับชะตาชีวิตของตัว
เอง

ขัน
้ ที่ 8: การเกิดใหม่ - หลังจากตกไปสู่จุดต่ำสุด ปาฏิหาริย์ก็
บังเกิด ตัวละครตระหนักในความผิดพลาดที่ผ่านมาของตัวเอง
สิ่งสำคัญในจุดนีค
้ ือการทำให้ตัวละครตระหนักและมองเห็น
หนทางที่จะเปลี่ยนแปลงทันทีหลังจากช่วงที่มืดมน เช่น เข้าใจ
ปั ญหาที่เกิดขึน
้ คนเขียนต้องแนะเป็ นนัยๆ ให้คนอ่านรู้วา่ ตัว
ละครเห็นหนทางแก้ปัญหาแล้ว

ขัน
้ ที่ 9: ได้สิ่งที่ตอ
้ งการ (หรือไม่) - ในแอ๊ค 1 ตัวละครหลัก
ตัง้ ใจแน่วแน่ที่จะบรรลุเป้ าหมาย ในที่สุดก็สามารถจับฉวยมาจน
ได้ แล้วมันเกิดขึน
้ ได้ยังไง? เพราะตัวละครได้เห็นความผิดพลาดที่
ผ่านมาและรู้ว่าจะต้องทำอะไรเพื่อให้ชนะ จากนัน
้ จึงลงมือทำ
และแก้ปัญหาได้สำเร็จ (สามารถจบเรื่องในขัน
้ ตอนนีไ้ ด้)
แต่ยงั มีอีกหนึง่ ทางเลือกสำหรับจบเรื่อง ถ้าจะอธิบายให้เห็นภาพ
อีกครัง้
- ตอนต้นเรื่อง ตัวละครค้นพบเป้ าหมาย
- ตอนกลางเรื่อง ตัวละครพยายามทำสิง่ ต่างๆ แต่ล้มเหลว
- ตอนท้ายเรื่อง ตัวละครตระหนัก เช่น ค้นพบว่าไม่ได้ตอ
้ งการสิ่ง
ที่เคยคิดว่าต้องการ หรือเคยอยากได้แต่ไม่อยากได้แล้ว เพราะได้
เจอบางอย่างที่ดีกว่า
พล็อตแบบนีม
้ ักจบแบบไม่มีความสุข เช่น อาจจบด้วยความเศร้า
เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม การจบแบบนีอ
้ าจเหมาะสมในแง่ของการ
เป็ นงานศิลปะ

ขัน
้ ที่ 10: ชีวิตใหม่ - ขัน
้ ตอนนีอ
้ าจไม่จำเป็ นสำหรับนิยายทุก
เรื่อง เพราะจากขัน
้ ที่แล้ว ผู้อ่านพอมองเห็นชีวิตใหม่ของตัวละคร
มาบ้าง เพราะฉะนัน
้ จะจบเรื่องตัง้ แต่ในขัน
้ ตอนที่ 9 ก็ได้ กระนัน

ถ้าจะเขียนบทจบส่งท้ายก็ไม่ถือว่าผิด (หากเหมาะสม) เพื่อให้ราย
ละเอียดชีวิตใหม่ของตัวละครหลักมากขึน

1. สร้างตัวละครหลัก
เครดิตรูปภาพ : https://bit.ly/2RWX20k
ตัวละครหลักให้เรานึกไว้เลยนะคะ ว่าจะต้องมีพระแอก นางเอก
และตัวร้ายหรือเหตุการณ์อะไรสักอย่างที่จะเข้ามาขัดขวางความ
รักของพระเอกนางเอกไม่ให้สมหวังในความรักครัง้ นี ้ โดยให้
กำหนดไปเลยว่าจะให้ตัวละครทุกตัวเป็ นเพียงแค่มนุษย์เดินดินที่
มีอาชีพทำงานกันบนโลกมนุษย์ธรรมดา หรือจะให้เป็ นแนว
แฟนตาซีที่อาจจะพระเอกหรือนางเอกฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ นนางฟ้ า
เทวดา ปิ ศาจ ซาตาน ฯลฯ และตัวร้ายที่คอยขัดขวางเป็ นใคร
บ้าง จากนัน
้ สร้างมิตใิ ห้แต่ละตัวละคร เช่น พระเอกภายนอก
เย็นชา ดูเห็นแก่ตัว ชอบทำร้ายจิตใจคนอื่น แต่ภายในใจกลับ
อ่อนไหว บอบบาง เสียใจง่ายมาก เมื่ออยู่คนเดียว เป็ นความขัด
แย้งในคนเดียวกันของตัวละคร รวมทัง้ การตัง้ ชื่อเล่น ชื่อจริง
นามสกุล ลักษณะนิสัยที่แท้จริง สิ่งที่ชอบ และไม่ชอบคืออะไร
บ้าง สีผม สีผิว รูปร่างหน้าตาเป็ นอย่างไร น้ำหนัก ส่วนสูงเท่าไหร่
โครงหน้าตา จมูก ปาก พยายามเจาะลึกลงไปให้ได้มากที่สุด
Advertisement

2. กำหนดฉากหลัก
เครดิตรูปภาพ : https://bit.ly/2Gtl3GV
ให้เรากำหนดฉากที่สำคัญของนวนิยายมาอย่างน้อย 3 ฉากด้วย
กันนะคะ คือ ฉากที่อยู่ของพระเอก ฉากที่อยู่ของนางเอก และ
ฉากของตัวร้ายหรือนางร้าย ส่วนฉากตัวละครย่อยอื่น ๆ เราค่อย
เพิ่มแทรกเข้ามาทีหลังได้ เมื่อเรารู้แล้วว่าแต่ละตัวละครเป็ นใคร
ทำอาชีพอะไร เราก็สามารถบรรยายฉากสำคัญ เช่น บ้านของ
พระเอก นางเอก บ้านของตัวร้าย ถ้าเป็ นแฟนตาซีก็บรรยายที่อยู่
ใต้บาดาล หรือบนสวรรค์ ในถ้ำ ในนรก ว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง
ให้ผู้อ่านเห็นภาพมากที่สุดค่ะ หากเป็ นแนวแฟนตาซีไม่ต้องยึด
หลักความจริงมากนัก ให้สร้างโลกตามแต่จินตนาการของเราได้
เลยค่ะ ว่าสวรรค์ บาดาล นรก ถ้ำ จะต้องเป็ นอย่างไร และ
บรรยายทุกจุดอย่างละเอียดจนคนอ่านเห็นภาพอย่างชัดเจน
เหมือนได้หลุดเข้าไปอยู่ในนัน
้ ด้วยจริง ๆ ค่ะ
Advertisement
3. ผูกปมขัดแย้ง
เครดิตรูปภาพ : https://bit.ly/2RYLJ7B
ไม่ควรให้เรื่องยาวยื้อเยื้อ เมื่อเริ่มแต่งให้พยายามขมวดปมตัว
ละครที่เกี่ยวข้องทุกตัวเข้าหากันโดยเร็ว เพื่อไม่ให้ผู้อา่ นเบื่อไปสัก
ก่อน เรื่องควรดำเนินให้กระชับมากที่สุด อาจจะมีตัวร้ายเข้ามา
แทรก ขัดขวางความสุขของตัวละครหลัก ยิ่งปมเยอะ ปั ญหา
อุปสรรคมากเท่าไหร่ยิ่งดีค่ะ จะช่วยดึงให้ผู้อ่านอยากติดตาม
อ่านนิยายของเราต่อจนจบ เพราะอยากรู้ว่าสุดท้ายเรื่องราวนี ้
จะจบลงอย่างไร เช่น นางเอกมีพี่น้องฝาแฝดที่เป็ นผู้ชาย แต่แฝด
ชายต้องปลอมตัวเป็ นผู้หญิง เนื่องจากถูกแม่แท้ ๆ บังคับ เพราะ
กลัวว่าอดีตสามีของเธอจะรู้ความจริง ว่าเธอมีลูกผู้ชาย แล้วจะมา
เอาตัวลูกชายของเธอไป แต่แฝดชายดันไปรักผู้ชายคนเดียวกับ
แฝดหญิง และแฝดชายก็ดันไปเป็ นแฟนกับน้องสาวต่างแม่ของตัว
เอง จนมารู้ความจริงว่าเป็ นพี่น้องกัน จึงผิดใจกัน กลายเป็ นศัตรู
คอยแก้แค้นเอาชนะกัน พยายามทำให้เรื่องดูยุ่งเหยิงวุน
่ วายมาก
ที่สุด และค่อย ๆ คลายปมออกมาทีละนิดค่ะ
Advertisement

การแต่งนวนิยาย ต้องยอมรับเลยนะคะ ว่าเหมาะกับคนที่ต้องมี


จินตนาการสูงมาก เหมือนเป็ นการสร้างโลกอีกใบที่อาจจะมีอยู่
แล้วในชีวิตจริง และเสริมเติมแต่งเรื่องราวเข้าไปให้สนุกมากยิ่ง
ขึน
้ ใครที่คิดจะลองมาแต่งนิยาย เริ่มแรกควรจะร่างพล็อตก่อน
เลยค่ะ เพื่อให้เวลาแต่งนิยายไม่ไหลออกนอกทะเล และเขียน
จบเรื่องตามที่ตงั ้ ใจ พยายามอ่านนวนิยาย ดูหนัง ละคร ซีรี่ส์
แล้วลองสังเกตแต่ละฉาก แต่ละตัวละคร สำคัญที่สุดคือการ
ดำเนินเรื่อง และปมขัดแย้งค่ะ ยิ่งเราสังเกตและรู้จักแกะทีละส่วน
ออกมาจากหนังได้มากเท่าไหร่ เราจะเริ่มจับจุด และนำมา
จินตนาการสร้างเป็ นนวนิยายขอ

You might also like