You are on page 1of 3

ข้ อเสนอโครงการภายใต้ โครงการที่สอดคล้ องกับ OKRs ของคณะ

คณะเภสั ชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2564

1. ชื่อโครงการ
การใช้ Artificial Intellingence ชนิด Deep Learning สำหรับอ่ านตำรายาาล้ านนา

2. กรุ ณาเลือกความสอดคล้ องโครงการ OKRs ของคณะ (เลือกเพียง 1 โครงการเท่ านั้น ที่สอดคล้ องมากที่สุด)
1) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ DNA-Portfolio
2) โครงการประยุกต์ใช้นวัตกรรมหรื อรู ปแบบการส่ งเสริ มทักษะตาม PLOs และ Entrepreneurship ในกระบวนวิชาและกิจกรรมนักศึกษา
3) โครงการวิเคราะห์และสรุ ปแนวทางการปรับปรุ งหลักสู ตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
4) โครงการการนำส่ งผลงานวิจยั เข้ารับการประเมิน TRL
5) โครงการการยืน่ จดสิ ทธิบตั ร/อนุสิทธิบตั ร
6) โครงการการพัฒนาต่อยอดผลงานวิจยั เชิงพาณิ ชย์
7) โครงการการพัฒนาผลงานวิจยั เพื่อใช้ในการร่ างนโยบายด้านสุ ขภาพของประเทศ (เช่น RDU, ASU, Outcome research,ด้านสมุนไพร)
8) โครงการศูนย์ TIKCC ที่ตอบสนองความต้องการของผปก. เภสัช และชุมชน
9) โครงการหน่วยบริ การทดสอบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพครบวงจร DermX
10) โครงการพัฒนาบริ การ Telepharmacy ในร้านยาคณะ
11) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อให้ถูกนำเข้าไปใช้ในหน่วยบริ การสาธารณสุ ข
12) โครงการเพิ่ม/ปรับปรุ ง การฝึ กอบรมสำหรับเภสัชกร หรื อ ชุมชน และสังคม (เช่น short course training, MOOC, Life-long Edu,
Conference)
13) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการตัดสิ นใจ
14) โครงการเพิ่มประสิ ทธิภาพการใช้พ้ืนที่ในคณะ
15) โครงการสร้างความสัมพันธ์กบั ศิษย์เก่า
อื่นๆ โปรดระบุ...

3. ข้ อมูลผู้เสนอโครงการ
(1) ชื่อ-สกุล รองศาสตรจารย์ ดร เภสัชกรหญิงพาณี สิ ริสะอาด หน้าที่ …ที่รับผิดชอบหัวหน้าโครงการ
Email เบอร์โทรศัพท์
(2) ชื่อ-สกุล หน้าที่ที่รับผิดชอบ
Email เบอร์โทรศัพท์
(3) ชื่อ-สกุล นายธีรวิทย์ นกแย้ม หน้าที่ที่รับผิดชอบ หัวหน้าทีมพัฒนา Deep Learning Artificail Intelligence
Front fac และ Optical Character Recognize (OCR) สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่
Email เบอร์โทรศัพท์ 064-6275271
(4) ชื่อ-สกุล เภสัชกรโอภาส เรื อ งวรรักษ์ศิริ หน้าที่ที่รับผิดชอบ ผูช้ ่วยหัวหน้าโครงการ
Email opaspharcmu54@gmail.com เบอร์โทรศัพท์ 065-4492114

4. หลักการและเหตุผล (ระบุหลักการ ความเป็ นมา ความสำคัญของการดำเนินการ ปั ญหาความจำเป็ นที่ตอ้ งการดำเนินการโดยย่อ)


ตำรายาสมุนไพรล้ านนาจังหวัดเชียงใหม่ มีภูมิปัญญาท้ องถิ่นอยู่เป็ นจำนวนมาก แต่ ส่วนใหญ่ าอยู่ในรู ปใบลานซึ่งถ้ าใช้ คนแปลจะต้ องใช้ เวลานานนับ
สิ บปี ซึ่งทำให้ มีความล่ าช้ า การนำองค์ ความรู้ ที่สะสมมานานนับหลายร้ อยปี ไม่ สามารถนำมาพัฒนาตำรับยา ให้ เกิดประโยชน์ แก่ ประเทศชาติได้ ทันตามความ
ต้ องการและอาจมีการสู ญหายไปตามกาลเวลาได้

หน้า 1
5. วัตถุประสงค์ ของโครงการ
(1) เพื่อแปลตำรายาสมุนไพรล้านนา เชียงใหม่ ด้วย Artificial Intelligence ชนิด Deep Learning ประกอบกับ Front Face และ Optical
Character Recognition

(2) ได้ต ำหรับยาสมุนไพรล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ที่แปลเป็ นภาษาไทยภาคกลาง ด้วยความถูกต้องและรวดเร็ วกว่าการใช้คนแปล หลายเท่า

(3) สามารถนำตำหรับยาสมุนไพรล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ มาพัฒนาต่อยอดให้เป็ นเชิงพาณิ ชย์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผลิตภัณฑ์

6. กิจกรรมหลัก
(1) การเขียนผังของ Artificial Intelligence Deep Learning Front fac และ Optical Character Recognize (OCR) สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา
จังหวัดเชียงใหม่
(2) การพัฒนา Artificial Intelligence Deep Learning Front fac และ Optical Character Recognize (OCR) สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา
จังหวัดเชียงใหม่
(3) ติดตั้งและทดสอบ Artificial Intelligence Deep Learning Front fac และ Optical Character Recognize OCR สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา
จังหวัดเชียงใหม่ และตรวจสอบความถูกต้องในการแปลตำรายาสมุนไพรล้ านนาจังหวัดเชียงใหม่ ด้วยผูเ้ ชี่ยวชาญตำราสมุนไพรล้านนาจังหวัด
เชียงใหม่
(4) แก้ไขความหมายของการแปลตามที่ผเู้ ชี่ยวชาญแนะนำเพื่อทำให้ Artificial Intelligence Deep Learning Front fac และ Optical Character
Recognize OCR สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ฉลาดและมีความสามารกถมากขึ้น โดยให้ Artificial Intelligence Deep
Learning Front fac และ Optical Character Recognize OCR สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ Self Learning ตามที่ผู้
เชี่ยวชาญแนะนำ
(5) ตรวจสอบครั้งสุ ดท้ายด้วยผูเ้ ชี่ยวชาญ และติดตั้ง Artificial Intelligence Deep Learning Front fac และ Optical Character Recognize OCR
สำหรับการอ่านตำรับยาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่

7. ระยะเวลาการดำเนินงาน (ระบุ วัน/เดือน/ปี ทีเ่ ริ่มต้ น และสิ้นสุ ดโครงการ)


6 เดือน-12 เดือน

8. งบประมาณ
 ขอรับการสนับสนุนจากคณะ : ……………… บาท
 ใช้งบประมาณจากแหล่งอื่น : …………………. บาท จากแหล่งงบประมาณคือ...........................
กรณี ขอรั บการสนับสนุนจากคณะ กรุ ณาระบุแผนการใช้ จ่ายและรายละเอียดค่ าใช้ จ่าย
เดือน ปี งบประมาณ 2564 ปี งบประมาณ 2565 รวม
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
64 64 64 64 64 64 64 65 65 65 65 65
แผนการใช้งบ
รายละเอียดค่ าใช้ จ่าย (บาท)
- ……………………………
- ……………………………
- ……………………………

9. Facility ที่ต้องการเพือ่ การดำเนินการ/ประสานงาน


ภาษาล้านนาเชียงใหม่ที่แปลเป็ นภาษาไทย โดยการตรวจสอบความถูกต้องจากผูเ้ ชี่ยวชาญด้านภาษาล้านนาเชียงใหม่

หน้า 2
10. ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
Artificial intelligence ชนิด Deep Learning สำหรับการอ่านตำรายาแผนโบราณที่เป็ นภาษาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ โดยสามารถอ่านจากใบลานหรื อ
กระดานด้วยระบบ document detection

11. ตัวชี้วดั ของโครงการและค่ าเป้าหมาย

ที่ ตัวชี้วดั ของโครงการ ค่ าเป้าหมาย


1 สามารถอ่ านตำราภาษาล้ านนาด้ วย Deep Learning Artificial ความถูกต้ องแม่ นยำในการแปล
Intelligence ด้ วย Front Face 99%
2 สามารถอ่ านตำราภาษาล้ านนาด้ วย Deep Learning Artificial ความถูกต้ องแม่ นยำในการแปล
Intelligence ด้ วย Optical Character Recognition 80%

12. เครือข่ ายภายนอกที่เกีย่ วข้ อง (ถ้ ามี)


(1) ฝ่ ายแพทย์แผนไทย
(2) วัดสวนดอก

13. ความสอดคล้ องกับ ONE-DNA ( กรุ ณา ทำเครื่องหมาย  )


ONE-DNA อธิบายความสอดคล้ อง (ถ้ ามี)
O = Original สร้างผลงานที่เป็ นแบบเฉพาะของตัวเอง /
N = Networking สร้างเครื อข่ายร่ วมมือการทำงาน /
E = Ecosystem สร้างระบบนิเวศ Platform ใหม่เพื่อการสนับสนุนพันธ /
กิจและการพัฒนาคณะ
D = Data-Driven ใช้ขอ้ มูลในการตัดสิ นใจ /
N = Never start with “No” ไม่เริ่ มต้นด้วยคำว่า “ไม่” /
A = Adaptable สามารถปรับตัวได้ /

หน้า 3

You might also like