You are on page 1of 32

Chapter 5:

Attributes Control
Charts
255321: Industrial Engineering Quality Control
Wapee Manopiniwes, PhD
Introduction

• หลายลักษณะทางคุณภาพไม่เหมาะสมที่จะวัดเป็นตัวเลข เช่น ความสวยงาม สีสัน รอยตาหนิ หรือสภาพ


เก่าใหม่ เป็นต้น แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแผนภูมิเพื่อควบคุมจานวนของเสีย และแผนภูมิเพื่อควบคุม
รอยตาหนิ
• ใช้จานวนตัวอย่าง มากกว่าแผนภูมิเชิงผันแปร
• ให้รายละเอียดน้อยกว่าแผนภูมิเชิงผันแปร คือ จะให้ลักษณะคุณภาพโดยรวมแก่ผู้บริหาร ช่วยในการ
ตัดสินใจว่าจะส่งผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าหรือไม่
การควบคุมของเสีย

• p-Chart การควบคุมสัดส่วนของเสีย
แผนภูมิควบคุม • np-Chart การควบคุมจานวนของเสีย

เชิงปริมาณ การควบคุมสาเหตุที่ทาให้เกิดของเสีย
(รอยตาหนิ)
• c-Chart การควบคุมจานวนรอยตาหนิ
• u-Chart การควบคุมจานวนรอยตาหนิต่อหน่วย
𝑝 Chart: Control Chart
for Fraction Non-
conforming
การควบคุมสัดส่วนของเสีย

• สัดส่วนของเสีย หมายถึง ค่า ratio ของจานวนของเสียในจานวนของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตทั้งหมด แต่ละหน่วย


ผลิตภัณฑ์อาจมีหลายลักษณะ ทางคุณภาพ ซึ่งจะต้องทาการตรวจสอบ ถ้าชิ้นงานชิ้นใดไม่ผ่านมาตรฐานการ
ตรวจสอบ อาจจะเป็นหนึ่งลักษณะคุณภาพหรือหลายอย่างตามลักษณะคุณภาพ งานนั้นจะแยกออกเป็นกลุ่ม
ชิ้นงานที่เป็นของเสีย
• หลักการทางสถิติในการใช้แผนภูมิควบคุม สาหรับสัดส่วนของเสียมีพื้นฐานจากการแจกแจงแบบทวินาม
(Binomial Distribution) เพื่อกระบวนการผลิตชิ้นงานดาเนินการจนกระทั่งเข้าสู่สถานะคงตัว (Stable) ความ
น่าจะเป็นซึ่งจะมีชิ้นงานที่ได้ผ่านการตรวจสอบตามข้อกาหนดคือ p และแต่ละหน่วยผลิตจะเป็นอิสระต่อกัน
ถ้าสุ่มตัวอย่าง n หน่วยของผลิตภัณฑ์ และถ้า D คือ จานวนหน่วยของผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นของเสีย แล้ว D มีการ
แจกแจงแบบ binomial distribution กับพารามิเตอร์ n และ p จะได้

• การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม p̂ คือการแจกแจงแบบทวินาม ซึ่งมีค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนคือ

เราจะเห็นได้ว่าสามารถประยุกต์ทฤษฎีนี่ไปใช้กับแผนภูมิควบคุมสาหรับควบคุมสัดส่วนของเสีย (p)
มันจึงถูกเรียกว่า p-Chart
• จานวนตัวอย่างสุ่มของ p-chart จะต้องสุ่มตัวอย่างกลุ่มละ n หน่วย จานวนค่าสัดส่วนของเสียของตัวอย่าง p̂
ในแต่ละกลุ่ม และบันทึกค่าสถิติ p̂ ทุกกลุ่มตัวอย่างลงบนแผนภูมิ
• ถ้าจุดที่พล็อตออกนอกเขตควบคุม หรือรูปแบบของจุดไม่เป็นลักษณะแบบส่ม เราสามารถสรุปได้ว่า
กระบวนการผิตมีสัดส่วนของเสีย (p) เปลี่ยนแปลงไปจากระดับเดิม และกระบวนการผลิตออกนอกการควบคุม
• เมื่อเราไม่รู้ค่า p (สัดส่วนของเสีย) ของกระบวนการผลิต เราจะต้องประมาณค่า p จากข้อมูลตัวอย่างที่สุ่ม
โดยเลือกจานวน n กลุ่มตัวอย่าง แต่ละกลุ่มมีขนาด n กฎทั่วไป n ควรจะเป็น 20 หรือ 25 เราสามารถคานวณ
สัดส่วนของเสียในแต่ละกลุ่มตัวอย่างดังนี้
𝑝 Chart
Example 5.1 กระป๋องบรรจุน้าส้ม 6 ออนซ์ ขึ้นรูปด้วยเครื่องจักร การ
ตาวจสอบกระป๋องโดยหาจานวนของเสีย ถ้าต้องการจะใช้แผนภูมิควบคุม
เพื่อปรับปรุงอัตราส่วนของเสียของเครื่องจักรนี้ โดยเก็บข้อมูล 30 กลุ่ม
แบบต่อเนื่อง ข้อมูลแสดงในตาราง จงสร้างแผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุม
สัดส่วนของเสียที่เกิดจากการผลิตของเครื่องจักรนี้
แผนภูมิควบคุมกับ CL ที่ p = 0.2313 และขอบเขตบนและล่าง ดังรูป 5 – 1 จากข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างพล๊อตบนแผนภูมิ
ควบคุม พบว่า
-> มี 2 จุดตัวอย่างคือ กลุ่มที่ 15 และ 23 อยู่นอกเขตควบคุมบน แสดงว่ากระบวนการผลิตไม่อยู่ในการควบคุม จะต้องทา
การหาสาเหตุการผิดปกติ ของข้อมูล 2 จุดนี้
• วิเคราะห์ข้อมูล 15 พบว่า เกิดจากการนาวัตถุดิบล๊อตใหม่ (new raw material) มาผลิตเป็นเหตุให้ประสิทธิภาพการผลิตเปลี่ยน
• และข้อมูลกลุ่มที่ 23 เกิดจากผู้ควบคุมเครื่องจักรไม่มีประสบการณ์ (new operator) ทาให้ต้องทาการปรับปรุงแผนภูมิควบคุมใหม่

Revised Control Chart


การออกแบบแผนภูมิ การสร้างแผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียมี 3 พารามิเตอร์ ที่สาคัญ คือ
สัดส่วนของเสีย • ขนาดตัวอย่างแต่ละกลุ่ม (Sample Size : n)
• ความถี่ในการสุ่มตัวอย่าง
• ความกว้างของแผนภูมิควบคุมสาหรับ n
เราควรกาหนด n คงที่ค่าหนึ่ง ความถี่ในการสุ่มควรเหมาะสมกับอัตรา
การผลิต ตัวอย่าง เช่น ถ้ามี 3 กะการผลิต แล้วมีความแตกต่างทาง
คุณภาพของแต่ละกะการผลิต เราควรใช้ข้อมูลจากแต่ละกะเป็นกลุ่ม
ตัวอย่างมากกว่าตัวอย่างที่มาจากทั้ง 3 กะการผลิต และเก็บข้อมูลใน
แต่ละวัน
การเลือกจานวนตัวอย่างแต่ละกลุ่ม (n)
ถ้า p มีขนาดเล็กมาก ๆ เราควรเลือก n จานวนมาก เราจะมีความ น่าจะเป็นสูงที่จะพบอย่างน้อย 1 หน่วยของ
เสียในแต่ละครั้งของการสุ่ม
Fraction Nonconforming Variable Sample Size
Average Sample Size Approach

Control Chart for Fraction Nonconforming based


on Average Sample Size
𝑛𝑝 Chart: Control Chart
for Number Non-
conforming
𝑛𝑝 Chart
แผนภูมิควบคุม np จากข้อมูลตัวอย่าง 5-1
สาหรับควบคุมจานวนของเสียผลิตภัณฑ์
กล่องบรรจุน้าส้ม

Note
• การพล๊อตค่าจานวนของเสียในแต่ละ
กลุ่ม โดยขอบเขตบน-ล่าง และเส้น
กึ่งกลางต้องเป็นจานวนเดิม
• การปัดเป็นจานวนเต็มนั้น ค่า UCL
และ CL จะปัดขึ้น LCL จะปัดลง
𝑐 Chart: Control Chart
for Nonconformities
(defects)
Nonconformity
• A nonconforming unit does not satisfy one or more of the
specifications
• Each point where a specification is not satisfied is a defect or
nonconformity
• Nonconforming units contain at least one nonconformity
• However, units with defects are not necessarily nonconforming
• It is often useful to work directly with the number of defects
แผนภูมิควบคุมจานวนรอยตาหนิ
• จานวนหน่วยตรวจสอบจะเป็นหนึ่งหน่วยผลิตภัณฑ์หรือ
มากกว่าได้
• ใช้ควบคุมรอยตาหนิหรือสาเหตุที่ทาให้เกิดค่าไม่ดี
• ใช้กับขนาดตัวอย่างคงที่เท่านั้น (n คงที่)
• หลักการสร้างแผนภูมิ อาศัยพื้นฐานการแจกแจง
แบบปัวส์ซอง จานวนรอยตาหนิในการสุ่มแต่ละครั้งเป็น
ตัวแปรสุ่มของการแจกแจงแบบปัวส์ซอง
• ใช้กับลักษณะงานที่ลักษณะทางคุณภาพสินค้า คือ เป็น
รอยร้าว ขีดข่วน รู เป็นต้น
𝑐 Chart
𝑐ҧ ใหม่ ที่คานวณได้จากการตัดจุด
ที่ 6 และ 20 ออก
𝑢 Chart: Control Chart for
Average Number of
Nonconformities per Unit
𝑢 Chart
Montgomery, D. C.
(2019). Introduction to
Reference statistical quality
control. John Wiley &
Sons.

You might also like