You are on page 1of 101

Sleep & Accident

นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ ์
ประธานทุนง่วงอย่าข ับ
ในพระอุปถ ัมภ์สมเด็จพระเจ้าพีน
่ างเธอ เจ้าฟ้าก ัลยาณิว ัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มูลนิธริ ามาธิบดี
ั ทธ
โรงพยาบาลวิชยยุ

• สงคมไทย ั
เป็นสงคมที
ย ่ ังไม่รู ้
คุณค่า และมองข้าม
ความสาค ัญของการนอนหล ับ
่ าร
ู ้ ันนี้ นาไปสูก
• ความไม่รอ
ี ทงสุ
สูญเสย ั้ ขภาพ ชวี ต
ิ และ

ทร ัพย์สน
สาเหตุสาค ัญของ
อุบ ัติเหตุจราจรไม่ใชม่ เี พียง

•เมาแล ้วขับ
•ขับเร็ว
•ประมาท
มองข้ามสาเหตุสาค ัญทีส ่ ด

คือ ง่วง…หล ับใน
ในอดีตก่อนปี พ.ศ. 2548
ถูกจ ัดเป็นอ ันด ับสุดท้าย
• ง่วง…หล ับใน สาเหตุของ
อุบ ัติเหตุจราจรทีส ั
่ งคม
มองข้าม
• ง่วง…หล ับใน เป็นสาเหตุ
สาค ัญมากถีง 30% ของ
อุบ ัติเหตุจราจร
ไม่มอี ะไรอ ันตรายยิง่
กว่าการทีค ่ นข ับหล ับ
ไป ในขณะทีร่ ถกาล ัง
เคลือ
่ นที่
คนข ับรถตูห
้ ล ับในข ับข้ามเลนชน
รถสวนมาทาให้เสย ี ชวี ต
ิ 25 ศพ
ในประเทศทีเ่ จริญแล้ว

• หล ับใน เป็นสาเหตุสาค ัญร้อย


ละ 20-25 ของการเสย ี ชวี ต

จากอุบ ัติเหตุจราจรใน
ประเทศทีเ่ จริญแล้วอย่าง
สหร ัฐอเมริกา
• ในอดีต 10 กว่าปี ก่อน
หล ับในเป็นสาเหตุการตาย
ทางถนนของไทยร้อยละ 0.8
• ปัจจุบ ันไม่ถงึ ร้อยละ 3-4 ซงึ่
ก็ย ังตา
่ กว่าความเป็นจริงมาก
รายงานความ
ปลอดภ ัยทาง
ถนนของ
องค์การ
อนาม ัยโลก
ค.ศ.2018
ในปัจจุบ ันอุบ ัติเหตุจราจรทา
ให้คนไทยเสย ี ชวี ติ 22,491
คนสูงถึง 32.7/100,000
ประชากร จ ัดเป็นอ ันด ับ 8
ของโลก ทงั้ ๆ ทีห ่ น่วยงาน
ภาคร ัฐปฏิบ ัติตามแนวทาง
ขององค์การอนาม ัยโลกมา
โดยตลอด
้ ฎหมาย
รณรงค์และบ ังค ับใชก
• เมา
• ข ับรถเร็ว
• ใสห ่ มวกก ันน็ อค
• คาดเข็มข ัดนิรภ ัย
• จ ัดหาทีน
่ ง่ ั สาหร ับเด็ก
ในอดีตและปัจจุบ ัน
อุบ ัติเหตุทเี่ กิดจากหล ับใน
ถูกจ ัดให้เป็นสาเหตุอน ่
ื่ เชน
รถเสย ี หล ักตกข้างทาง
เบรคแตก ถนนมืดมองไม่
เห็น ประมาท ข ับเร็ว เมาแล้ว
ข ับ
แอลกอฮอล์
เป็นสาเหตุ
ของการ
เสยี ชวี ต
ิ จาก
อุบ ัติเหตุ
จราจรใน
ประเทศ
ไทยร ัอยละ
14
• อุบ ัติเหตุเดีย่ ว ชนต้นไม้ เสาไฟฟ้า
ชนแท่งแบริเออร์ คอสะพาน ชน
กาแพง ตกคู ตกคลอง
• ชนท้ายรถทีจ ่ อดอยู่ โดยไม่มรี อย
เหยียบเบรค
• อุบ ัติเหตุม ักเกิดเวลากลางคืนและ
ชว่ งบ่าย 2 ถึง 4
ั ษฐานได้เลยว่าคนข ับหล ับใน
• สนนิ
่ งเวลาทีง่ ว่ ง
ชว
มากกว่าเวลาอืน ่
• บ่าย 2-4 โมง
่ งคืนถึงเชา้ มืด
• หล ังเทีย
• เป็นไปตามนาฬกาช ิ วี ต

• เร็ว แต่มส
ี ติตนื่ ต ัวเต็มที่ ไม่
น่าจะตาย
• เร็ว+ง่วง อ ันตราย
• หล ับใน ถึงข ับไม่เร็วกว่า
กฏหมายกาหนดก็ตาย
เพราะคนข ับไม่เหยียบเบรค
หรือห ักหลบ
• การหล ับไม่เพียงพอ เพียง
คืนละ 1 ชว่ ั โมง

• เกิดภาวะการ อดนอนสะสม

• ความง่วงในเวลาตืน
่ เพิม ้
่ ขึน
่ ยๆ ตามจานวนชว่ ั โมงที่
เรือ
อดนอน
• คนทีต่ นื่ ตงแต่
ั้ 6 โมงเชา้ และ
ไม่ได้งบี กลางว ัน แล้วข ับรถ
กล ับบ้านเวลาเทีย ่ งคืน

• มีความสามารถในการข ับรถ
เหมือนก ับคนดืม
่ ทีม
่ ี
แอลกอฮอล์ 50 มิลลิกร ัม
เปอร์เซ็นต์
• คนทีอ่ ดนอน นอนไม่พอ นอน
เพียง 4 ชว่ ั โมงแล้วดืม
่ เบียร์
เพียง 1 ขวด

• มีความสามารถในการข ับรถ
เท่าก ับคนทีไ่ ด้นอนเต็มอิม
่ ดืม

เบียร์ 6 ขวด
• แอลกอฮอล์เป็น
อ ันตรายสาหร ับคนทีอ ่ ด
นอน
• การดืม่ สุราเพียงแก้ว
เดียวทาให้หล ับในง่าย
ขึน้
คนข ับชาวอเมริก ันยอมร ับ
เคยหล ับในขณะข ับ 41%
ง่วงหล ับใน
สาเหตุสาค ัญทาให้
คนไทยเสย ี ชวี ต
ิ จาก
อุบ ัติเหตุทางถนนหรือไม่ ?
How Big is The Problem
of Drowsy Driving in
Thailand?
Questionnaire Survey

• Commercial bus / truck drivers


• Oil delivery truck drivers
( PTT )
• Passenger car drivers ( J&J )
Bus Oil delivery Passenger Motorcycle
drivers truck car drivers taxi drivers
drivers (J&J)
(PTT)

n 4331 144 126 370

Feeling drowsy 75% 91% 83% 80%


while driving

Fallen asleep 28% 53% 36% 38%


at the wheel
while driving
Bus Oil delivery Passenger Motorcycle
drivers truck car drivers taxi drivers
drivers (J&J)
(PTT)

n 4331 144 126 370

Excessive day- 46% 48% 36% 20%


time sleepiness
Epworth
sleepiness scale
> 11

Feeling drowsy 90% 84% 83% 68%


while driving
due to sleep
deprivation
Bus Oil delivery Passenger Motorcycle
drivers truck car drivers taxi drivers
drivers (J&J)
(PTT)

n 4331 144 126 370

% reported 69% 54% 55% 52%


accidents

Accident due 33% 40% 20% 48%


to sleepiness
Oil delivery Passenger Motorcycle
truck car drivers taxi drivers
drivers (J&J)
(PTT)

n 144 126 370

% drivers sleep 6 hours 66% 47% 57%


or less on workday

no. of hours spent 6.0 + 1.4 6.6 + 0.8 6.4 + 0.9


asleep per night on
workday

no. hours spent asleep 8.0 + 1.5 7.9 + 1.3 7.1 + 1.1
per night on day off
คนข ับไทยยอมร ับเคยหล ับใน
ขณะข ับขี่ 28-53%
• คนข ับรถโดยสาร (4331 คน) เคยหล ับ
ใน 28%
• คนข ับรถบรรทุกนา้ ม ัน (144 คน) เคย
หล ับใน 53%
• คนข ับรถเก๋ง (126 คน) เคยหล ับใน
36%
• วินมอเตอร์ไซค์ (370 คน) เคยหล ับใน
38%
ขนาดประเทศสหร ัฐอเมริกาทาทุกอย่างเพือ ่
ป้องก ันง่วงหล ับใน หล ับในย ังเป็นสาเหตุ
ของการตายจากอุบ ัติเหตุทางถนนสูงถึง
21%
สหร ัฐอเมริการูถ
้ งึ อ ันตรายของ
ง่วงหล ับในเกือบ 30 ปี แล้ว
• ให้ความรูเ้ ด็กม ัธยมปลายก่อนจะเริม ่ ข ับและคนข ับทุก
คนถึงวิธป ี ้ องก ันไม่ให้หล ับใน
• ออกกฎหมายห้ามว ัยรุน ่ ตา่ กว่า19 ข ับขี่ ตี 1-ตี 5
• มีกฏหมายบ ังค ับคนข ับรถอาชพ ี ห้ามทางานเกินเวลา
และมีบทลงโทษ
• บนไหล่ทางบริเวณทางหลวงระหว่างเมืองสร้างแถบ
เซาะร่อง (rumble strips) เพือ ่ ปลุกคนข ับให้ตน ื่
ก่อนตกถนน
• มีทพ
ี่ ักรถขนาดใหญ่ (rest areas)ทุกๆ 50-100 กม.
ง่วงหล ับในถูกจ ัดเป็น
ปัญหาสาค ัญทางสาธารณสุข
Maggie’s Law
• ในปี ค.ศ.1997 คนข ับรถไม่ได้นอน 30
ชว่ ั โมง หล ับใน รถวิง่ ข้ามเลน ชนรถ
น ักศก ึ ษา Maggie McDonnel อายุ 20 ปี
เสย ี ชวี ต
ิ ขึน ิ
้ ศาลร ัฐ New Jersey ต ัดสน
ว่าไม่ผด ิ เพราะไม่มก ี ฏหมายห้ามคนง่วง
ไม่ให้หล ับใน ศาลแค่ปร ับคนข ับ 200 US
dollars
• แม่ของ Maggie ออกมาข ับเคลือ ่ นจนใน
ทีส่ ด ุ ศาลออกกฏหมายต่อไปนี้ ถ้าหล ับใน
ทาให้คนอืน ่ บาดเจ็บหรือตายมีความผิด
เป็นคดีอาญา
มีการสอนความสาค ัญของการนอนหล ับ
และอ ันตรายจากง่วงหล ับในขณะข ับรถ
ให้แก่เด็กม ัธยมปลายในโรงเรียน
สอนเด็กม ัธยมปลาย
หล ับในขณะข ับขีฆ
่ า
่ คนได้
มีป้ายเตือนคนข ับง่วง
เป็นระยะให้ไปจอดพ ัก

จ ัดสปดาห์ รณรงค์งว่ งอย่าข ับ
ทุกปี ในเดือนพฤจิกายน
ปฏิญญาบราซเิ ลีย
• ในปฏิญญาบราซเิ ลีย โดยองค์การ
อนามัยโลก เมือ ่ ปลายปี พ.ศ.2558
ได ้เพิม
่ ความสาคัญของสาเหตุอน ื่ ๆ
ของการเกิดอุบต ั เิ หตุ
• หลับใน ยาต่างๆ โรคประจาตัว การ

ใชโทรศ ั ท์มอ
พ ื ถือและแชท
• ประเทศไทยเพิง่ จะเริม
่ ให้
ความสาค ัญของง่วงหล ับใน

• หล ับในน่าจะเป็นสาเหตุการ
ตายทางถนนมากกว่า
สหร ัฐอเมริกา อาจสูงถึงร้อยละ
30
• หล ับใน (Microsleep) คือ การ
หล ับตืน ั้
้ และสนมากๆ ไม่ถงึ 10
วินาที

้ ท ันที จะมี
• หล ับใน ไม่ได้เกิดขึน
อาการง่วงเตือนมาก่อนเสมอ
• “การหล ับ” เกิดขึน ้ เอง อยู่
นอกเหนือการควบคุมของ
มนุษย์ ง่วงแล้วบ ังค ับไม่ให้
หล ับไม่ได้

้ เองโดย
• “การหล ับ” เกิดขึน
สมอง สมองไม่ได้สนใจว่าคน
นนก
ั้ าล ังทาอะไรอยู่
้ ก ับคนข ับ
• หล ับในเกิดขึน
ทุกเพศ ทุกว ัย ทุกอาชพ ี
• เกิดก ับรถทุกประเภท
รถจ ักรยานยนต์ รถเก๋ง รถตู ้
รถสองแถว รถกระบะ
รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ
ยกเว้นรถจ ักรยาน
• ขณะรถวิง่ 90 กม./ชม. หาก
คนข ับหล ับใน แค่ 4 วินาที รถ
จะวิง่ ต่อไปอีก 100 เมตร โดย
ทีค่ นข ับเองไม่รต
ู ้ ัวว่ารถวิง่ ไป
ทิศทางไหน
• เวลาเกิดอุบ ัติเหตุจงึ รุนแรง
มากถึงขนเส ั้ ี ชวี ต
ย ิ หรือ
บาดเจ็บสาห ัส เพราะคนข ับไม่
ห ักหลบหรือเหยียบเบรค
• การตายจากหล ับในเป็นการตายที่
น่าเสยี ดายทีส ่ ด

• คนตาย ไม่เจ็บหรือป่วยก่อนตาย
• ตายเร็วมากภายในไม่กวี่ น ิ าที ไม่ม ี
โอกาสสง่ ั เสย

• ไม่ได้ตายคนเดียว ทาให้คนอืน ่
ตายหรือบาดเจ็บด้วย
• ทีส
่ าค ัญหล ับในป้องก ันได้
สาเหตุของความง่วง
1. อดนอน นอนไม่พอ พบบ่อยทีส ่ ดุ
2. การใชย ้ าต่าง ๆ เชน
่ ยาแก้หว ัด
ภูมแ
ิ พ้
3. การดืม่ แอลกอฮอล์
4. โรคประจาต ัว เชน ่ โรคนอนกรน
หยุดหายใจขณะหล ับ โรคลมหล ับ
• คนทีอ ่ ดนอน นอนไม่พอ
นอนเพียง 4 ชว่ ั โมงแล้ว
ดืม
่ เบียร์เพียง 1 ขวด
• มีความสามารถในการ
ข ับรถเท่าก ับคนทีไ่ ด้
นอนเต็มอิม ่ ดืม
่ เบียร์ 6
ขวด
วิธป
ี ้ องก ันความง่วง
1. นอนหล ับให้เพียงพอ อย่างน้อย
7 ชว่ ั โมง
2. อย่าใชย ้ าทีท
่ าให้เกิดความง่วง
ก่อนข ับรถและระหว่างเดินทาง
3. งดแอลกอฮอล์คน ื ก่อนเดินทาง
4. หากนอนเพียงพอแล้วย ังง่วง ให้
ปรึกษาแพทย์
วิธป
ี ้ องก ันอุบ ัติเหตุทเี่ กิดจากความง่วง

1.ถามต ัวเองเป็นระยะ ๆ ว่าเริม


่ ง่วงหรือย ัง
2.เมือ
่ รูส ึ ง่วงต้องหาทางแก้ไข เชน
้ ก ่ เคีย
้ ว
หมากฝรง่ ั , ร้องเพลง, หรือดืม
่ กาแฟ
3.หากง่วงมากต้องรีบหาทีจ
่ อดพ ักที่
ปลอดภ ัย
4.ดืม่ กาแฟแล้วงีบหล ับ 10-15 นาที เมือ

ตืน
่ ดีแล้วจึงข ับต่อ
ดืม
่ กาแฟแล้วงีบหล ับได้หรือ ?
• ได้ เพราะกาแฟไม่ออกฤทธิท ์ ันที
แต่ใชเ้ วลาอย่างน้อย 15 นาที เมือ่
กาแฟออกฤทธิจ ์ ะทาหน้าทีป
่ ลุกให้
เราตืน

• ฤทธิข ์ องคาเฟอีนร่วมก ับการได้งบ



(nap) 10-15 นาทีทาให้สมองสด
ชนื่ สามารถข ับรถต่อได้อก ี หลาย
ชว่ ั โมง

การงีบหล ับนานเกินไปมีผลเสย

• การงีบหล ับนานกว่าครึง่ ชว่ ั โมง ตืน่


ขึน ้ มาจะไม่แจ่มใส เนือ
่ งจากเกิด
สภาวะทีเ่ รียกว่า Sleep Inertia
ิ ใจผิดพลาด
• งง ง ัวเงีย ต ัดสน
ปฏิกริ ย ิ าตอบสนองชา้ ชว่ ั คราวหล ัง
ตืน่
• อ ันตรายหากต้องข ับรถหล ังตืน ่ ท ันที
มาตรการทีป ่ ระเทศไทย
ต้องทาเพือ่ ลดอุบ ัติเหตุ
จากง่วงหล ับใน
เคารพกฎจราจรอย่างเดียวไม่พอ

้ ฎหมาย
การบ ังค ับด้วยการใชก
ไม่สามารถลดอุบ ัติเหตุจากการ
ง่วงหล ับใน

้ ฎหมายควรทา
การบ ังค ับด้วยการใชก
คูไ่ ปก ับการรณรงค์ให้รท
ู ้ ันกฎของ
ธรรมชาติ
ไม่มกี ฎหมายใดเอาผิด
ก ับคนทีง่ ว่ งแล้วข ับ

ต่างจากข ับรถเร็ว เมา หมวกก ันน็ อก


ั ทม
หรือโทรศพท์ ี่ ก
ี ฎหมายลงโทษ

จึงเป็นเรือ
่ งจาเป็นทีต ่ อ้ งมีการรณรงค์
ง่วง อย่าข ับ โดยให้ตระหน ักถึง
อ ันตราย และรูถ ้ งึ วิธแี ก้ไข
1. ให้ความรู ้
• รณรงค์ให้ประชาชนตระหน ักถึง
อ ันตรายจากการง่วงแล้วข ับรถยนต์
ทุกชนิด รวมทงรถจ ั้ ักรยานยนต์และ
วิธปี ้ องก ันแก้ไข
• ให้กระทรวงศก ึ ษาธิการบรรจุในการ
เรียนการสอนน ักเรียนตงแต่ ั้ ั้ ัธยม
ชนม
3 ขึน ้ ไป
่ ทางบก
2. กรมการขนสง

• อบรมให้ความรูเ้ กีย ่ วก ับอ ันตรายจาก


ง่วงหล ับในแก่ผม ู ้ าขอใบอนุญาตข ับ
รถยนต์ทงส ่ นบุคคล สาธารณะ
ั้ ว
รถจ ักรยานยนต์สว ่ นบุคคลและ
สาธารณะ
• บรรจุคาถามในการสอบภาคทฤษฎี
เกีย
่ วก ับการป้องก ันอุบ ัติเหตุจากง่วง
หล ับใน
3.1 ออกกฎหมายใหม่
• ร ัฐควรออกกฎหมายห้ามว ัยรุน ่ อายุ 15-
19 ปี ออกมาข ับขีจ ่ ักรยานยนต์หรือ
รถยนต์ตงแต่ ั้ ตี 1 ถึงตี 5 เหมือน
ประเทศสหร ัฐอเมริกา แคนาดา
ออสเตรเลีย นิวซแ ี ลนด์ เนือ
่ งจากมีสถิต ิ

ชดเจนอุ บ ัติเหตุจราจรเป็นสาเหตุการ
ตายอ ันด ับหนึง่ ของเด็กว ัยรุน ่ และเกิด
มากทีส ่ ด
ุ ในเวลากลางคืน สว ่ นใหญ่เกิด
จากหล ับใน หรือเมาแล้วข ับ
เด็กว ัยรุน ี ชวี ต
่ มีโอกาสเสย ิ จาก
อุบ ัติเหตุในเวลากลางคืนมากทีส ่ ด

ี ของไทย
คนข ับรถอาชพ
• ขาดคน ไม่เพียงพอความ
ต้องการ
• ไม่มแ
ี รงจูงใจ รายได้ตา ่
• ต้องทางานเกินเวลา อด
นอน เสย ี่ งต่อการหล ับใน
3.2 แก้กฎหมาย
• แก้กฎหมายมาตรา 103 ทวิ พ.ร.บ.
กรมการขนสง ่ ทางบก พ.ศ. 2522 ที่
กาหนดว่า “ห้ามข ับรถติดต่อก ัน 4 ชว่ ั โมง
หล ังจากนนต้ั้ องหยุดพ ักไม่นอ ้ ยกว่าครึง่
ชว่ ั โมง และให้ข ับต่ออีกไม่เกิน 4 ชว่ ั โมง
ติดก ัน”
• ให้แก้เป็น “ห้ามข ับรถติดต่อก ัน 2 ชว่ ั โมง
ต้องหยุดพ ักไม่นอ ้ ยกว่า 15 นาที แล้วให้
ข ับต่อ ว ันหนึง่ ข ับรถไม่เกิน 10 ชว่ ั โมง

สปดาห์ หนึง่ ไม่เกิน 60 ชว่ ั โมง ต้องมี
ว ันหยุดอย่างน้อย 1 ว ันต่อสปดาห์ ั ”
่ จาก ัด
3.3 ระเบียบบริษ ัทขนสง
พ.ศ.2547

• เสน ้ ทางทีม ่ รี ะยะทางเกินกว่า 500


กิโลเมตร จะต้องมีพน ักงานข ับรถปฏิบ ัติ
หน้าทีส ่ ล ับก ัน 2 คน ปัญหาคือเมือ ่ คนหนึง่
ข ับ อีกคนหนึง่ ไปนอนหล ับ เมือ ่ ครบ 4
ชว่ ั โมง ปลุกคนทีก ่ าล ังนอนหล ับให้มาข ับ
แทน
• ชว ่ งทีต
่ น ื่ ใหม่จะมีสภาวะทีเ่ รียกว่า sleep
inertia งง ง ัวเงีย ต ัดสน ิ ใจผิดพลาด
ปฏิกริ ย ิ าตอบสนองชา้ ชว ่ งนีเ้ ป็นชว ่ งที่
อ ันตรายหากต้องข ับรถหล ังตืน ่ ท ันที
4. Rumble strips

• บนไหล่ทางบริเวณทางหลวงระหว่าง
เมืองทีร่ ถตกข้างทางบ่อยๆ ควรสร้าง
แถบเซาะร่องบนไหล่ทาง (rumble
strips)
• เมือ
่ คนข ับเริม ่ หล ับใน รถวิง่ ออกนอก
เลนล้อรถท ับแถบเซาะร่อง จะเกิด
การสน ่ ั สะเทือนและเกิดเสย ี งด ังปลุก
คนข ับให้ตน ื่ ก่อนรถจะวิง่ ตกถนนไป
ชนต้นไม้ เสาไฟฟ้า หรือพลิกควา ่ เอง
แถบเซาะร่องบนไหล่ทาง
(rumble strip)
5. Rest area
• เร่งสร้างทีพ
่ ักริมทางหลวงขนาดใหญ่
(rest area) เพือ ่ ให้รถขนาดใหญ่
รถบรรทุกสามารถเข้าจอดพ ักได้เป็น
ร้อยค ัน บริเวณทีพ ่ ักมีรา้ นขายอาหาร
ห้องนา้ และปั๊มนา้ ม ัน ไม่ใชป ่ ล่อยให้
คนข ับรถใหญ่จอดนอนพ ักบนไหล่ทาง
เหมือนปัจจุบ ัน
• ในปัจจุบ ันทงประเทศมี
ั้ ทพ ี่ ักรถขนาด
ใหญ่เพียง 10 แห่ง และมีการวางแผน
ขยายให้ครบ 41 แห่งใน พ.ศ. 2573
6.กล้องวงจรปิ ดตรวจการละสายตา
และการง่วงและเตือนก่อนหล ับใน
• คนข ับรถอาชพ ี รถใหญ่ รถโดยสาร
สาธารณะ ควรติดตงกล้ ั้ องวงจรปิ ดตรวจการ
ละสายตาและการง่วงก่อนหล ับใน
(Guardian system) ซงึ่ เป็นนว ัตกรรมใหม่
คิดค้นและผลิตโดยประเทศออสเตรเลีย
• กล้องจะตรวจจ ับใบหน้าและการเปิ ดปิ ดของ
ตาตลอดเวลา เครือ ่ งจะสง ั
่ สญญาณ
สน่ ั สะเทือนเมือ
่ คนข ับละสายตาและเมือ่ ง่วง
กาล ังจะเริม่ หล ับใน
อุบ ัติเหตุเกิดจากการ
ทางานก ับเครือ ่ งจ ักรกล
เนือ
่ งจากง่วงหล ับใน
Shift worker (คนทางานเป็นกะ)

• คนทางานเฉพาะกลางคืน
• คนทางานทัง้ กลางวันและกลางคืนสลับกันไป
ี ว่ งเวลาการทางานทีแ
• คนทางานทีไ่ ม่มช ่ น่นอน

การทางานเป็ นกะมีเกือบ 700 รูปแบบ ขึน ้ อยูก


่ บ

วันหนึง่ มีกก ่ วั่ โมง เปลีย
ี่ ะ กะละกีช ่ นกะบ่อยแค่
ไหน เปลีย ่ นตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬกา ิ มี
วันหยุดกีว่ ันก่อนจะเปลีย ่ นกะ มีการควงกะ
หรือไม่
ี ของความผิดปกติของวงจร
ผลเสย
การหล ับ-ตืน
่ เนือ
่ งจากการทางาน-1
• ปั ญหาการนอนหลับ
• สมาธิสน ั ้ ปฏิกริ ย
ิ าตอบสนองชา้ การแก ้ไข
ปั ญหาและการตัดสน ิ ใจผิดพลาด ก่อให ้เกิด
ความเสย ี หายต่องานและผลผลิต
• เกิดอุบตั เิ หตุจากการทางาน หรือขณะขับรถ
กลับบ ้าน เนือ ่ งจากง่วงแล ้วหลับใน
• ปั ญหาด ้านอารมณ์ จิตใจ และการเข ้าสงั คม
ี ของความผิดปกติของวงจร
ผลเสย
การหล ับ-ตืน
่ เนือ
่ งจากการทางาน-2

• ระบบภูมค ื้ โรคง่าย
ิ ุ ้มกันตา่ ติดเชอ
• โรคของระบบทางเดินอาหาร
• โรคของระบบหลอดเลือด หัวใจ และความ
ดันโลหิตสูง
• โรคมะเร็ง
คนทางานเป็นกะ สล ับไปสล ับมา
มีปญ ่ ง
ั หาง่วงจ ัด 2 ชว

คนทางานกะกลางคืน จะง่วงจัด ชว่ ง ตี 3 - ตี 4


คนทางานกะกลางวัน จะง่วงจัด ชว่ ง บ่าย 2 – บ่าย 4
โอกาสเกิดความผิดพลาดในการทางานจะสูงสุดใน
ชว่ งเวลานี้
ปัญหาการนอนหล ับ
• คนทางานกลางคืน กลับถึงบ ้านตอน
เชา้ เข ้านอนได ้ไม่กช ี่ วั่ โมงก็ตน
ื่ แล ้ว
นอนหลับต่อไม่ได ้ ทาให ้อดนอน 2-3
ชวั่ โมงทุกวัน และอดนอนสะสมสป ั ดาห์
ละ 15-20 ชวั่ โมง
• คุณภาพของการนอนหลับไม่ด ี เพราะ
หลับๆตืน ่ ๆ หลับได ้ไม่ลก ึ
บริษ ัท TEPCO เป็นโรงงาน
ทาอะไหล่รถจ ักรยานยนต์
พนักงานทางาน กะเชา้ 08.00 - 20.00 น.
พนักงานทางาน กะกลางคืน 20.00 - 08.00 น.

จ่ายปกติ 8 ชม. จ่ายโอที 3 ชม.


พัก 1 ชม. เวลา 12.00 - 13.00 น.
หรือ 00.00 - 01.00 น.
ชว ่ ง พ.ศ. 2542-2547 พน ักงาน
เปลีย ั
่ นกะทุก 2 สปดาห์
มีว ันหยุด 1 ว ัน (โรงงานหยุดว ันนน) ั้
อุบ ัติเหตุเกิดขึน้ ทีม ่ อ
ื นิว้ มือ พบบ่อย
เนือ ่ งจาก ง่วงเผลอหล ับขณะทางาน
สว่ นใหญ่เกิดขึน ้ เวลาบ่าย หรือ
ชว ่ งตี 3-4
ตงแต่
ั้ พ.ศ. 2548 - ปัจจุบ ัน

เพิม
่ เวลาหยุดพ ัก

สาหร ับกะเชา้ หยุดพ ักเพิม


่ 10.00-10.15 น.

และ 15.00-15.15 น.

สาหร ับกะกลางคืน หยุดพ ักเพิม


่ 22.00-22.15 น.

และ 03.00-03.15 น.

อุบ ัติเหตุลดลงมาก
• การให้คนทางานเป็นกะได้งบ ี
่ งทีง่ ว
หล ับ 10-15 นาที ชว ่ ง
่ ยลดความผิดพลาด
จ ัด จะชว
ในการทางานได้มาก
• ถ้าได้ดมื่ กาแฟก่อนงีบหล ับจะ
ยิง่ ทาให้สมองตืน
่ ต ัวได้
มากกว่าการงีบหล ับอย่าง
เดียว
คนไทยทางานหน ักติดอ ันด ับ 3 ของโลก
• รายงานจากสานักงานองค์การแรงงาน
ระหว่างประเทศ (ILO) คนไทยทางาน
เกินสป ั ดาห์ละ 48 ชวั่ โมง 46.7
เปอร์เซน ็ ต์ รองจากเปรูและเกาหลีใต ้
• มีทงั ้ ด ้านอุตสาหกรรมภาคผลิต และ
ด ้านการบริการ การท่องเทีย ่ ว การ
คมนาคมขนสง่ สน ิ ค ้า การแพทย์และ
พยาบาล
อุบ ัติเหตุ
•บาดเจ็บ พิการ ตลอดชวี ต

•ภาระแก่ครอบครัว
•ภาระต่อสงั คม และประเทศ
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ ้มครองแรงงาน
ได ้กล่าวถึงสาเหตุสาคัญทีท ่ าให ้ลูกจ ้าง
เกิดอุบตั เิ หตุจากการทางาน คือ ไม่มรี ะบบ
บริหารความปลอดภัย อาชวี อนามัย และ
สภาพแวดล ้อมในการทางานทีด ่ ี ขาดการ
เฝ้ าระวังลูกจ ้างให ้ปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎอย่าง
เคร่งครัด
มองข้ามสาเหตุจากการง่วงและ
เผลอหล ับระหว่างการทางาน
จานวนชว่ ั โมงการทางานทีเ่ พิม ่ ขึน้
หมายถึงจานวนชว่ ั โมงนอนที่
น้อยลง สง ่ ผลเสยี ต่อสุขภาพชวี ติ
ครอบคร ัว อ ัตราการเกิดอุบ ัติเหตุ
ในสถานทีท ่ างาน คุณภาพของ
ชนิ้ งานและผลงาน
ในประเทศญีป ่ ่น ื่
ุ มีโรคหนึง่ ชอ
“คะโรช”ิ ขย ันทางาน ไม่หล ับ
ไม่นอนจนต ัวตาย เป็น
อ ันตรายต่อสุขภาพ และตาย
จากอุบ ัติเหตุ ก่อให้เกิดความ
สูญเสยี ต่อเศรษฐกิจอย่าง
มหาศาล
• ปี พ.ศ. 2549 ประเทศญีป ่ ่นุ โดย
กระทรวงศก ึ ษาธิการ ว ัฒนธรรม
กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เริม
่ โครงการ HAYAOKI รณรงค์
เด็กญีป่ ่ นให้
ุ นอนเร็วขึน ้ ตืน ่ เชา้
และร ับประทานอาหารเชา้
• สน ับสนุนเด็กญีป ่ ่ นให้
ุ งบี หล ับ
กลางว ัน (INEMURI) เพือ ่ ความ
ได้เปรียบทางสติปญ ั ญา
งีบหล ับมี 3 แบบ
1.ฉุกเฉิน (ป้ องกันการหลับใน เมือ
่ ง่วง
จัดขณะขับรถ)
2.กิจวัตรประจาวัน (เด็กเล็กๆ คนสูงอายุ
คนบางประเทศ เชน ่ กรีก อิตาลี สเปน)
3.วางแผนล่วงหน ้า (จาเป็ นต ้องนอนดึก)
การงีบหล ับทีด
่ ข ึ้ ก ับ
ี น
1.ระยะเวลาทีพ ่ อเหมาะ 10-15 นาที
2.สงิ่ แวดล ้อมทีเ่ อือ
้ ให ้งีบ มืด เงียบ
ไม่ร ้อน
3.เวลาชว่ งกลางวันหลังเทีย ่ ง
ทุนง่วงอย่าข ับ
มูลนิธริ ามาธิบดี
ในพระอุปถ ัมภ์สมเด็จพระเจ้าพีน
่ างเธอ
เจ้าฟ้าก ัลยาณิว ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
องค์กรการกุศลแห่งแรก
ในประเทศไทย
• รณรงค์ให ้ประชาชนตระหนักถึง
อันตรายจากง่วงแล ้วขับ และหา
วิธแี ก ้ไขด ้วยการให ้ความรู ้ความ
เข ้าใจในปี พ.ศ. 2548
ง่วงหล ับใน เป็นสาเหตุสาค ัญของอุบ ัติเหตุ
จราจรประมาณ 30% ถ้าเราสามารถลด
้ เนือ
อุบ ัติเหตุทเี่ กิดขึน ่ งจากง่วงหล ับใน
เพียงร้อยละ 50 เราสามารถลดจานวน
ี ชวี ต
ผูเ้ สย ิ ปี ละ 3,000 คน ประหย ัดเงินที่
ประเทศต้องสูญเสย ี ปี ละ 50,000 ล้านบาท
และลดจานวนคนเจ็บทีต ่ อ
้ งเข้าร ับการ
ร ักษาพยาบาลใน โรงพยาบาลปี ละ
แสนคน
ทุนง่วงอย่าข ับ มูลนิธริ ามาธิบดี

ในพระอุปถ ัมภ์ฯ ได้เริม


่ โครงการ

รณรงค์นอนหล ับให้พอเพียง

และงีบหล ับกลางว ัน 10-15 นาที

ในกรณีทอ
ี่ ดนอน ในปี พ.ศ. 2550
อย่าอดนอน นอนหล ับให้มากพอ

สร้างนิสยเข้
านอนเป็นเวลา

ตืน
่ ให้เป็นเวลาเดียวก ันทุกว ัน
นอนหล ับให้พอ
• ทาให ้เรียนดี ร่างกายแข็งแรง
• ลดอุบตั เิ หตุทเี่ กิดขึน
้ ขณะขับขี่
และทางาน จากการง่วง…หลับใน
นอนหล ับ
สาค ัญพอ ๆ ก ับ
อาหาร และ การออกกาล ังกาย
สุขภาพทีด
่ ี ประกอบด้วย 4 อ.
• อาหาร
• ออกกาลังกาย
• อารมณ์
• อย่าอดนอน

You might also like