You are on page 1of 144

PCX150

คู่มือการใช้งาน : โปรดศึกษาคู่มือนี้ให้เข้าใจ ก่อนการใช้-การขับขี่


3 3 K36Y T 1 AP
à»ÅÕè¹·Ø¡æ 12,000 ¡Á. à»ÅÕè¹·Ø¡æ 3 »‚ ËŒÒÁ·Ó¤ÇÒÁÊÐÍÒ´áÅÐ㪌«éÓ
à»ÅÕè¹·Ø¡æ 18,000 ¡Á.
คู่มือเล่มนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. และควรจะเก็บไว้กับรถเมื่อขายต่อให้กับผู้ใช้รถคนต่อไป

คู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยข้อมูลการผลิตครั้งล่าสุด ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ต้อง


แจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ห้ามกระทำ�การคัดลอกหรือจัดพิมพ์ข้อมูลส่วนใดของคู่มือนี้โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง
บริษัทฯ ก่อน

ภาพประกอบของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้อาจไม่ตรงกับรถจริงของท่าน


ยินดีต้อนรับ
ขอแสดงความยินดีที่ท่านได้เลือกซื้อรถจักรยานยนต์ รหัสต่อไปนี้ในคู่มือเล่มนี้จะระบุถึงประเทศ
ฮอนด้า A.T. คันใหม่คันนี้่ การเลือกซื้อรถจักรยานยนต์ รหัสประเทศ
ฮอนด้าของท่านครั้งนี้ทำ�ให้ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของ รหัส ประเทศ
ครอบครัวฮอนด้าทั่วโลก ซึ่งเป็นลูกค้าที่มีความพึงพอใจ
และชื่นชมในชื่อเสียงของฮอนด้าในการสร้างสรรค์ทุก WW150
ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ TH ประเทศไทย

เพื่อความปลอดภัยและความเพลิดเพลินในการขับขี่
ของท่าน :
• กรุณาอ่านคู่มือผู้ใช้เล่มนี้โดยละเอียด
• ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�และวิธีการปฏิบัติทั้งหมดที่ปรากฏ
อยู่ในคู่มือเล่มนี้
• กรุณาให้ความสนใจเป็นพิเศษกับข้อความเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยซึ่งปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้และที่ตัวรถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วย
คำ�ที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย
ความปลอดภัยของท่านและของผู้อื่นเป็นสิ่งสำ�คัญมากและ อันตราย
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้อย่างปลอดภัยก็ ท่านอาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
ถือเป็นความรับผิดชอบที่สำ�คัญด้วยเช่นกัน เพื่อที่จะช่วยให้ สาหัสหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ท่านตัดสินใจเกี่ยวกับความปลอดภัยได้เป็นอย่างดี ทางบริษัทฯ
ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการขับขี่และข้อมูลอื่นๆ แก่ท่านดังที่ คำ�เตือน
ปรากฏอยู่บนแผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัยที่ตัวรถและ ท่านอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสหาก
ในคู่มือเล่มนี้แล้ว ข้อมูลนี้จะเตือนท่านให้ระวังอันตรายที่ ไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
อาจเกิดขึ้นทั้งกับตัวของท่านเองหรือผู้อื่น
อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติหรือโดยความเป็นไปได้แล้ว ทาง ข้อควรระวัง
บริษัทฯ ไม่สามารถที่จะเตือนให้ท่านระวังอันตรายทุกอย่าง ท่านอาจได้รับบาดเจ็บหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ที่เกี่ยวเนื่องกับการขับขี่หรือการบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ได้ ดังนั้นท่านจึงต้องใช้วิจารณญาณที่ดีของ ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญอื่นๆ ได้แสดงไว้ภาย
ท่านเองในการตัดสินใจด้วย ใต้หัวข้อต่อไปนี้ :
ท่านจะพบข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญในหลาย ข้อสังเกต สัญลักษณ์นี้มุ่งหมายที่จะช่วยให้ท่านหลีกเลี่ยง
รูปแบบ ประกอบด้วย : ความเสียหายที่จะเกิดแก่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า
• แผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งปรากฏอยู่ที่ตัวรถ A.T. ของท่าน ทรัพย์สินอื่นๆ หรือสภาพแวดล้อม
• ข้อความเกี่ยวกับความปลอดภัย ซึ่งนำ�หน้าด้วยสัญลักษณ์
เตือนด้านความปลอดภัยและหนึ่งในสามของคำ�สัญญาณ คำ�เตือน
เหล่านี้ได้แก่ : อันตราย คำ�เตือน หรือ ข้อควรระวัง
โดยคำ�สัญญาณเหล่านี้หมายถึง : อาจถึงตายหรือพิการ หากไม่สวมหมวกนิรภัย
การรับประกันคุณภาพ
บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด รับประกันคุณภาพของชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ เป็นระยะเวลา 3 ปี หรือ 30,000 กม.
และชิ้นส่วนระบบหัวฉีด ได้แก่ ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นของเครื่องยนต์, ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน,
กล่อง ECU, ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง, หัวฉีด, เรือนลิ้นเร่ง, ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ รับประกันเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ
50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดมาถึงก่อน ถ้าเกิดการบกพร่องเสียหายอันเนื่องมาจากกรรมวิธีทางการผลิตไม่ดี
หรือวัสดุไม่ได้คุณภาพภายใต้การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาที่ถูกต้องตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือผู้ใช้ การรับประกัน
คุณภาพจะมีผลตั้งแต่วันที่ที่ซื้อรถเป็นต้นไป
เมื่อรถของท่านเกิดปัญหาทางด้านคุณภาพ ท่านสามารถไปใช้สิทธิในการรับประกันโดยการน�ำรถและสมุดคู่มือ
รับประกันไปที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด โดยรถของท่านจะได้
รับการแก้ไข ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีความบกพร่องนั้นโดยไม่คิดราคาค่าอะไหล่และค่าแรงซ่อม
การรับประกันคุณภาพนี้จะใช้กับรถที่จ�ำหน่ายโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด เท่านั้น ในกรณีที่มีการน�ำรถออก
นอกประเทศถือเป็นการสิ้นสุดการรับประกัน
กรณีที่มีการเปลี่ยนเจ้าของรถคนใหม่ กรุณาติดต่อ บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด แผนกลูกค้าสัมพันธ์ 0-2725-4000
เพื่อแก้ไขชื่อที่อยู่ของผู้ครอบครองรถคนใหม่

ในกรณีที่รถจักรยานยนต์ของท่านเกิดปัญหาด้านคุณภาพ และตรวจพบว่ามีสาเหตุมาจากการ
ละเลยไม่น�ำรถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่ก�ำหนด กรณีเช่นนี้ท่านอาจเสียสิทธิในการรับ
ประกันคุณภาพได้ ดังนั้นจึงขอให้ท่านถือเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งที่ต้องน�ำรถเข้ารับการบริการ
ตรวจเช็คตามก�ำหนดเวลาที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้า
เงื่อนไขการรับประกันชิ้นส่วนที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ
ชิ้นส่วนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลืองที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ หากเกิดความบกพร่องเสียหาย อันเนื่องมาจากกรรมวิธี
ทางการผลิตไม่ดีหรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ บริษัทฯ จะท�ำการรับประกันคุณภาพ แต่หากความเสียหายเกิดขึ้นมาจากการสึกหรอหรือเสื่อม
สภาพตามอายุการใช้งานปกติ บริษัทฯ ขอให้ท่านเป็นผู้ช�ำระค่าใช้จ่ายเอง
ชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน
หัวเทียน หลอดไฟต่างๆ ฟิวส์ สายไฟ สายควบคุมต่างๆ ผ้าเบรก ผ้าคลัทช์ สายพานขับเคลื่อน ปะเก็น สายยาง ท่อยาง และ
ชิ้นส่วนที่เป็นยาง ไส้กรอง ซีลกันน�้ำมัน ซีลกันฝุ่น น�้ำมันหล่อลื่น และสารหล่อลื่นทุกชนิด
หมายเหตุ รับประกันแบตเตอรี่ และ ยางนอก เป็นระยะเวลา 6 เดือน หรือ ระยะทาง 5,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
โดยมีผลตั้งแต่วันที่ซื้อรถเป็นต้นไป
ข้อปฏิบัติในการใช้รถในระยะรับประกัน
ข้อปฏิบัติต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ท่านต้องให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นท่านอาจเสียสิทธิในการรับประกันคุณภาพในบาง
กรณีได้ หากตรวจพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถมีสาเหตุมาจากการละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัตินี้
1. ปฏิบัติและใช้รถให้ถูกต้องตามค�ำแนะน�ำในคู่มือผู้ใช้รถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่นที่ท่านซื้อ
2. น�ำรถเข้ารับการบริการตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ พร้อมกับลงบันทึกประวัติการซ่อมใน
คู่มือเล่มนี้ทุกครั้ง
3. การบ�ำรุงรักษาจะกระท�ำอย่างถูกต้องโดยศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้าที่ท่านซื้อรถ แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่จ�ำเป็น
ท่านสามารถน�ำรถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจากฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
4. ไม่ดัดแปลงแก้ไขชิ้นส่วนต่างๆ ไปจากมาตรฐานการผลิตเดิม นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามข้อมูลของบริษัท เอ.พี.
ฮอนด้า จ�ำกัด
5. ไม่น�ำรถไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ที่มิใช่การใช้งานตามปกติ เช่น การแข่งขัน เป็นต้น
6. เมื่อมีการซ่อมบ�ำรุงรักษา ควรใช้แต่อะไหล่แท้และสารหล่อลื่นที่ฮอนด้าก�ำหนด เช่น น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเบรก และน�้ำยา
หม้อน�้ำ เป็นต้น
รายการอะไหล่ระบบหัวฉีด ที่รับประกัน 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
1. ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง (ไม่รวมลูกลอยน�้ำมันเชื้อเพลิง)
2. หัวฉีด
3. เรือนลิ้นเร่ง
4. ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ
5. กล่อง ECU
6. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นของเครื่องยนต์
7. ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน

1 2 3 4 5 6 7
สารบัญ
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย หน้า 2
คำ�แนะนำ�การใช้งาน หน้า 13
การบำ�รุงรักษา หน้า 57
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง หน้า 96
ข้อมูลที่ควรทราบ หน้า 118
ข้อมูลทางเทคนิค หน้า 132
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

ในส่วนนี้ประกอบด้วยข้อมูลสำ�คัญที่ควรทราบเพื่อให้ท่านสามารถขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านได้


อย่างปลอดภัย
กรุณาอ่านข้อมูลส่วนนี้อย่างละเอียด

คำ�แนะนำ�ความปลอดภัยน�������������������������หน้า 3
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย................หน้า 6
ข้อควรระวังในการขับขี่. ...........................หน้า 7
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลง
สภาพรถ....................................................หน้า 11
การบรรทุก................................................หน้า 12
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยใน ตรวจสอบด้วยว่าทั้งตัวท่านเองและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวม
การขับขี่ของท่าน : หมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณ-

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


• ตรวจสอบรถของท่านเป็นประจ�ำและตามระยะเวลาที่ ภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัย ท่านควรแนะน�ำให้ผู้ซ้อนท้าย
ของท่านยึดหรือจับเหล็กท้ายเบาะหรือเอวของท่านไว้ให้แน่น
ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ทั้งหมด
เอียงตัวไปในทิศทางเดียวกันกับท่านในขณะเข้าโค้ง และ
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากเปลวไฟและประกายไฟ
วางเท้าทั้งสองข้างบนที่พักเท้าแม้แต่เมื่อหยุดรถก็ตาม
ก่อนที่จะเติมน�้ำมันลงในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
• อย่าติดเครื่องยนต์ในพื้นที่ปิดหรือพื้นที่ปิดเป็นบางส่วนเพราะ ศึกษาทำ�ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติ
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในไอเสียเป็นก๊าซที่ีมีพิษและอาจ แม้ว่าท่านจะเคยขับขี่รถจักรยานยนต์อื่นๆ มาแล้วก็ตาม
ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ท่านก็ควรฝึกหัดขับขี่ในบริเวณที่ปลอดภัยเพื่อให้เกิดความ
สวมหมวกกันน็อกอยู่เสมอ คุ้นเคยกับการท�ำงาน การบังคับ และการควบคุมรถจักรยาน-
เป็นข้อเท็จจริงที่พิสูจน์แล้วว่าหมวกกันน็อกและอุปกรณ์ป้อง ยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้ และยังเพื่อให้เกิดความเคยชินกับ
กันภัยมีส่วนส�ำคัญในการช่วยลดจ�ำนวนและความรุนแรง ขนาดและน�้ำหนักของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อีกด้วย
ของการบาดเจ็บที่ศีรษะและการบาดเจ็บอื่นๆ ดังนั้นท่านควร
สวมหมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรอง การขับขี่อย่างปลอดภัย
คุณภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัยเสมอ หน้า 6 ท่านควรให้ความสนใจกับยานพาหนะอื่นๆ ที่อยู่รอบตัวท่าน
ก่อนการขับขี่ เสมอ และอย่าคิดไปเองว่าผู้ขับขี่คนอื่นมองเห็นท่านอยู่ ท่าน
ต้องแน่ใจว่าท่านมีร่างกายแข็งแรง มีสภาพจิตใจและสมาธิดี ควรจะต้องเตรียมพร้อมอยู่ตลอดเวลาในการที่จะหยุดรถหรือ
และไม่ได้บริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และเสพยาเสพติด หลบหลีกอย่างฉับพลัน
3
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้อย่างชัดเจน เพื่อความปลอดภัยอย่าให้ผโู้ ดยสารหรือเพื่อนของท่านดื่ม
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้ชัดเจนยิ่งขึ้นโดย สุราด้วยเช่นกัน
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลากลางคืน โดยสวมชุดที่มีสีสว่าง รักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่านให้อยู่ในสภาพดี


หรือสีสะท้อนแสง ขับขี่บนเส้นทางที่ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถ ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า
มองเห็นท่านได้ ให้สัญญาณก่อนที่ท่านจะเลี้ยวหรือเปลี่ยน A.T. ของท่านอย่างถูกวิธีและให้อยู่ในสภาพการขับขี่ที่
ช่องทาง และใช้แตรเมื่อจ�ำเป็น ปลอดภัยด้วย ตรวจสอบรถของท่านก่อนการขับขี่ทุกครั้ง
ขับขี่ภายในขีดจ�ำกัดของท่าน และท�ำการบ�ำรุงรักษาตามที่ได้แนะน�ำไว้ทั้งหมด
อย่าขับขี่เกินกว่าความสามารถของท่านหรือขับขี่ด้วยความ อย่าบรรทุกของเกินกว่าขีดจ�ำกัดในการบรรทุก (หน้า 12)
และอย่าดัดแปลงสภาพรถหรือติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมซึ่งอาจ
เร็วสูงเกินกว่าที่ก�ำหนด ควรระลึกไว้ว่าความเมื่อยล้าและ
ท�ำให้รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ (หน้า 11)
การเพิกเฉยละเลยมีส่วนส�ำคัญที่จะลดความสามารถในการ
ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจและการขับขี่อย่างปลอดภัย หากท่านเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
ได้ ความปลอดภัยของตัวท่านเองเป็นสิ่งที่ท่านต้องค�ำนึงถึง
อย่าดื่มสุราในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ เป็นอันดับแรก หากท่านหรือบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บหรือ
ท่านไม่ควรดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถ เพราะแม้แต่การดื่มเครื่อง ได้รับความเสียหาย ขอให้ท่านได้ใช้เวลาในการประเมิน
ดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพียงแก้วเดียวก็อาจลดความสามารถของ ดูความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือความเสียหายนั้นและ
ท่านในการตอบสนองต่อสภาพการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลง ดูว่ามีความปลอดภัยในการที่ท่านจะขับขี่รถต่อไปได้หรือ
อยู่เสมอได้ และการตอบสนองดังกล่าวจะยิ่งเลวร้ายลงหาก ไม่ ท่านควรร้องขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินถ้าจ�ำเป็น
ท่านดื่มเพิ่มเข้าไปอีก ดังนั้นอย่าดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถ และ และควรปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับต่างๆ ที่มี
4
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย

หากมีบุคคลอื่นหรือยานพาหนะอื่นเข้ามาเกี่ยวพันกับการ อันตรายจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
เกิดอุบัติเหตุ ไอเสียประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นพิษซึ่งเป็น

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


ก๊าซที่ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น การหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอ-
หากท่านตกลงใจแล้วว่าท่านสามารถที่จะขับขี่รถต่อไปได้ นอกไซด์เข้าไปอาจท�ำให้หมดสติและอาจน�ำไปสู่การเสีย
อย่างปลอดภัย ถ้าเครื่องยนต์ยังคงติดอยู่ ก่อนอื่นขอให้ท่าน ชีวิตได้
ปิดสวิทช์ดับเครื่องยนต์ก่อนที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น แล้วจึงประ- ถ้าหากท่านติดเครื่องยนต์ในบริเวณที่อับอากาศหรือแม้แต่
เมินดูสภาพของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน และ พื้นที่ปิดเป็นบางส่วน อากาศที่ท่านหายใจเข้าไปนั้นอาจ
ตรวจสอบดูว่ามีการรั่วซึมของน�้ำมันต่างๆ หรือไม่ ตรวจเช็ค ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นอันตรายใน
ว่าน๊อตและโบ้ลท์ที่ส�ำคัญๆ ขันแน่นอยู่หรือไม่ และตรวจสอบ ปริมาณมาก ดังนั้นอย่าติดเครื่องยนต์ภายในโรงเก็บรถหรือ
ดูด้วยว่าแฮนด์บังคับเลี้ยว คันบังคับต่างๆ เบรกหน้า-หลัง พื้นที่ปิดอื่นๆ
และล้อหน้า-หลังอยู่ในสภาพที่มั่นคงและปลอดภัยหรือไม่
คำ�เตือน
ขอให้ท่านขับขี่อย่างช้าๆ และโดยระมัดระวัง รถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ของท่านอาจได้รับความเสียหายซึ่งเป็นความ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นก๊าซพิษ การหายใจเอา
เสียหายที่ยังไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดโดยทันทีหรือใน ก๊าซดังกล่าวเข้าไปอาจทำ�ให้หมดสติและถึงแก่เสีย
ขณะนั้น ดังนั้นท่านควรจะน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ชีวิตได้
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คอย่างละเอียดที่ศูนย์ซ่อม
ที่ได้มาตรฐานที่ใกล้ที่สุดในทันทีที่เป็นไปได้ หลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่หรือการกระทำ�ใดๆ ที่อาจ
ทำ�ให้ท่านได้รับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
5
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย • หน้ากากสำ�หรับป้องกันใบหน้าซึ่งไม่ขัดขวางการมองเห็น
• ขับขี่อย่างระมัดระวัง ให้้มือทั้งสองข้างของท่านจับอยู่ที่ หรือใช้เครื่องป้องกันดวงตาที่ได้รับการรับรองคุณภาพอื่นๆ
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

แฮนด์บังคับเลี้ยวและวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่วางเท้า คำ�เตือน
• ให้มือทั้งสองข้างของผู้ซ้อนท้ายจับอยู่ที่เหล็กท้ายเบาะหรือ
ที่เอวของท่าน และวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่พักเท้าใน การไม่สวมหมวกกันน็อกจะเพิ่มโอกาสในการได้รับ
ขณะซ้อนท้าย บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิต เนื่องจากการเกิด
• ขอให้ท่านคำ�นึงถึงความปลอดภัยของผู้ซ้อนท้ายของท่าน อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้มได้
รวมถึงผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์คันอื่นๆ เสมอ
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวก
อุปกรณ์ป้องกันภัย กันน็อกที่ได้รับการรับรองคุณภาพและอุปกรณ์ป้อง-
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวกกันน็อก กันภัยอยู่เสมอในขณะที่ท่านขับขี่รถ
สำ�หรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ เครื่อง ถุงมือ
ป้องกันดวงตา และเครื่องแต่งกายที่ช่วยป้องกันภัยสะท้อน สวมถุงมือหนังแบบเต็มนิ้วซึ่งมีความทนทานต่อการเสียดสีสูง
แสง ขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อตอบสนองต่อสภาพถนนและ รองเท้าบู๊ทหรือรองเท้าสำ�หรับการขับขี่
สภาพอากาศต่างๆ สวมรองเท้าบู๊ทที่แข็งแรงมีพื้นรองเท้าที่ไม่ลื่นและมีส่วนที่
หมวกกันน็อก ช่วยป้องกันข้อเท้าของท่าน
หมวกกันน็อกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย มี เสื้อแจ็กเก้ตและกางเกงขายาว
สีสว่างสดใส และมีขนาดที่พอเหมาะกับศีรษะของท่าน ควรสวมเสื้อแจ็กเก้ตแขนยาวที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
• ต้องสวมใส่ได้อย่างสบายแต่กระชับพอดีกับศีรษะของท่าน และสามารถป้องกันร่างกายของท่าน รวมทั้งกางเกงขายาว
พร้อมกับรัดสายรัดคางให้แน่น ที่ทนทานเพื่อการขับขี่ (หรือชุดป้องกันร่างกายทั้งตัว)
6
ข้อควรระวังในการขับขี่
ข้อควรระวังในการขับขี่ เบรก
ช่วงรัน-อิน ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ :

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันและรุนแรง
ในระหว่างระยะ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) แรกของการขับขี่
การเบรกอย่างทันทีทันใดอาจท�ำให้รถเสียการทรงตัวได้
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อให้ท่านมั่นใจได้ ถ้าเป็นไปได้ควรจะลดความเร็วของรถลงก่อนที่จะเลี้ยว
ว่าการใช้งานรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านในอนาคต มิฉะนั้นท่านอาจเสี่ยงต่อการลื่นไถลได้
เชื่อถือได้และมีประสิทธิภาพ • ขอให้ท่านโปรดใช้ความระมัดระวังเมื่อต้องขับขี่ไปบนพื้น
• หลีกเลี่ยงการเร่งเครื่องยนต์จนสุดคันเร่งและการเร่งความ ผิวถนนที่มีแรงยึดเกาะต�่ำ
เร็วอย่างกะทันหัน ยางจะลื่นไถลได้ง่ายยิ่งขึ้นหากขับขี่ไปบนพื้นถนนดังกล่าว
• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันหรืออย่างรุนแรง รวมทั้งระยะการหยุดรถก็จะยาวขึ้นด้วย
• ขับขี่อย่างรอบคอบและระมัดระวัง • หลีกเลี่ยงการใช้เบรกอย่างต่อเนื่อง
การเบรกซ�้ำๆ หรือการย�้ำเบรก เช่น เมื่อขับขี่ลงทางลาด
ชันเป็นระยะทางยาวๆ อาจท�ำให้เบรกร้อนเกินไป และ
ท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง
• เพื่อประสิทธิภาพในการเบรกอย่างเต็มที่ ให้ใช้ทั้งคันเบรก
หน้าและคันเบรกหลังพร้อมกัน

7
ข้อควรระวังในการขับขี่
คอมบายเบรก สภาพผิวถนนที่เปียกหรือมีฝนตก
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านติดตั้งระบบเบรกซึ่งจะ ผิวถนนจะลื่นเมื่อเปียก และเบรกที่เปียกก็จะท�ำให้ประสิทธิ-
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

กระจายแรงเบรกระหว่างเบรกหน้าและเบรกหลัง ภาพในการเบรกลดลงไปอีก
การกระจายของแรงเบรกไปยังเบรกหน้าและเบรกหลังมีความ ดังนั้นท่านต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อจะเบรกใน
แตกต่างกันเมื่อบีบเฉพาะคันเบรกหน้าเท่านั้น และเมื่อบีบ
สภาพผิวถนนที่เปียก
เฉพาะคันเบรกหลังเท่านั้น
ถ้าเบรกเปียก ควรย�้ำเบรกหลายๆ ครั้งในขณะที่ขับขี่ที่ความ
เพื่อประสิทธิภาพในการเบรกอย่างเต็มที่ ให้ใช้ทั้งคันเบรก-
หน้าและคันเบรกหลังพร้อมกัน เร็วต�่ำเพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น

8
ข้อควรระวังในการขับขี่
การจอดรถ จอดรถโดยใช้ขาตั้งข้างหรือขาตั้งกลาง
• จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน 1. ดับเครื่องยนต์

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


• ในกรณีที่ท่านต้องจอดรถบนพื้นที่ลาดเอียงเล็กน้อย 2. การใช้ขาตั้งข้าง
หรือจอดรถบนพื้นผิวถนนที่ไม่อัดแน่น ขอให้ท่านจอด ลดขาตั้งข้างลง
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. โดยไม่ให้ตัวรถเคลื่อน ค่อยๆ เอียงรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มาทางด้าน
หรือล้มลงได้ ซ้ายอย่างช้าๆ จนกระทั่งน�้ำหนักของตัวรถอยู่ที่ขาตั้ง
• ต้องแน่ใจว่าชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูงไม่สัมผัสกับวัสดุ ข้าง
ที่ติดไฟได้ง่าย
การใช้ขาตั้งกลาง
• อย่าสัมผัสเครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่
มีอุณหภูมิสูงอื่นๆ จนกว่าจะเย็นลง เอาขาตั้งกลางลง ยืนทางด้านซ้ายของตัวรถ จับปลอก
• เพื่อลดโอกาสในการถูกขโมยรถ ให้ล๊อคแฮนด์บังคับ แฮนด์ด้านซ้ายและเหล็กท้ายเบาะด้านซ้ายไว้ กด
เลี้ยว ล๊อคสวิทช์จุดระเบิด (หน้า 40) และนำ�ฮอนด้า ส่วนปลายของขาตั้งกลางลงด้วยเท้าขวาของท่าน
สมาร์ทคีย์ติดตัวไปด้วยเสมอในระหว่างที่ท่านจอด และในขณะเดียวกันให้ยกรถขึ้นและดึงถอยมาทาง
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านทิ้งไว้ ด้านหลัง
ปิดการใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ถ้าจำ�เป็น
(หน้า 35)
ขอแนะนำ�ให้ท่านใช้อุปกรณ์กันขโมยด้วย
นอกจากนี้ขอให้ท่านตั้งค่าระบบสัญญาณกันขโมย
อีกด้วย
9
ข้อควรระวังในการขับขี่
ปลอกแฮนด์ด้านซ้าย ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำเหล่านี้เพื่อเป็นการปกป้องเครื่อง-
ยนต์และอุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย :
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนตามที่ได้แนะน�ำไว้
เหล็กท้ายเบาะ ขาตั้งกลาง การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนที่ต�่ำกว่าจะส่งผล
ให้ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ลดลง
3. หมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวมาทางด้านซ้ายจนสุด
การหมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวไปด้านขวาจะท�ำให้ความ • อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ใน
มั่นคงในการทรงตัวลดลงและอาจเป็นเหตุให้รถล้ม ระดับความเข้มข้นสูง หน้า 130
ได้ • อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเก่าหรือสกปรก หรือน�้ำมันเบนซิน
4. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (LOCK) ล๊อค ผสมกับน�้ำมันเครื่อง
สวิทช์จุดระเบิด (หน้า 40) และน�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์ • หลีกเลี่ยงอย่าให้มีสิ่งสกปรกหรือน�้ำในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ติดตัวไปด้วยเสมอในระหว่างที่ท่านจอดรถจักรยาน-
ยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านทิ้งไว้
ปิดการใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ถ้าจ�ำเป็น
(หน้า 35)
5. การตั้งค่าระบบสัญญาณกันขโมย หน้า 24
10
การติดตัง้ อุปกรณ์เพิม่ เติมและการดัดแปลงสภาพรถ
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลงสภาพรถ คำ�เตือน
ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ว่าท่านไม่ควรติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมหรือการดัดแปลง

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


เติมใดๆ ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาเป็นพิเศษโดยฮอนด้าเพื่อ สภาพรถที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
ใช้กับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน หรือทำ�การ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด-
ดัดแปลงสภาพรถให้แตกต่างไปจากการออกแบบดั้งเดิม เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
ซึ่งการกระทำ�เช่นนั้นจะทำ�ให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่
การดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ทั้งหมดในคู่มือผู้ใช้เล่ม
ท่านอาจทำ�ให้การรับประกันคุณภาพเป็นโมฆะ อีกทั้ง นี้เกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการ
ยังอาจทำ�ให้รถของท่านอยู่ในสภาพที่ผิดกฎหมายใน ดัดแปลงสภาพรถ
การที่จะขับขี่บนถนนสาธารณะและบนถนนทางหลวง
ไม่ควรลากรถพ่วงด้วยรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ได้ ดังนั้นก่อนที่ท่านจะพิจารณาติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม
ของท่านหรือติดตั้งรถพ่วงข้างเข้ากับรถจักรยานยนต์
ใดๆ เข้ากับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน ต้อง
ฮอนด้า A.T. ของท่าน เพราะรถของท่านไม่ได้ออกแบบ
แน่ใจว่าการดัดแปลงสภาพรถนั้นๆ มีความปลอดภัย
มาเพื่อการติดรถพ่วงข้างหรือรถพ่วง และการกระทำ�
และถูกต้องตามกฎหมาย
เช่นนี้อาจก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงกับการบังคับ
รถได้ ซึ่งทำ�ให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่

11
การบรรทุก
การบรรทุก
• การบรรทุกน�้ำหนักสัมภาระมากเกินไปจะมีผลเสียกับ คำ�เตือน
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

การบังคับ การเบรก และการทรงตัวของรถจักรยาน- การบรรทุกเกินขนาดทีก่ ฎหมายกำ�หนดหรือการ


ยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน บรรทุกที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น
ท่านควรขับขี่โดยใช้ความเร็วที่ปลอดภัยให้เหมาะสม การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัส
กับน�้ำหนักที่ท่านบรรทุกเสมอ หรือถึงแก่เสียชีวิตได้
• หลีกเลี่ยงการบรรทุกของที่มีน�้ำหนักมากเกินไป และ
ควรบรรทุกของให้อยู่ภายในขีดจ�ำกัดในการบรรทุก ปฏิบัติตามขีดจ�ำกัดในการบรรทุกทั้งหมดและค�ำ
ที่ระบุไว้ แนะน�ำในการบรรทุกอื่นๆ ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือ
อ้างอิง ความสามารถในการรับน�้ำหนักสูงสุด/ เล่มนี้
น�้ำหนักสัมภาระสูงสุดที่รับได้ หน้า 132
• ผูกมัดสัมภาระทั้งหมดไว้อย่างแน่นหนา วางน�้ำหนัก
สัมภาระให้ได้สมดุลเท่ากันทั้งสองด้าน และให้ได้จุด
ศูนย์ถ่วงของรถเท่าที่จะเป็นไปได้
• อย่าวางสิ่งของไว้ใกล้ไฟสัญญาณต่างๆ หรือท่อไอเสีย

12
ตำ�แหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ
ซองเก็บเอกสาร หน้า 54
ช่องเก็บของอเนกประสงค์ หน้า 54

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ปลอกคันเร่ง หน้า 92
กระปุกน�้ำมันเบรกหน้า หน้า 86
คันเบรกหน้า
กระปุกน�้ำมันเบรกของระบบคอมบายเบรก หน้า 86
สวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน หน้า 107
แบตเตอรี่ หน้า 73
กล่องฟิวส์ หน้า 116
ขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน หน้า 108
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ หน้า 72
ถังส�ำรองน�้ำหล่อเย็น หน้า 84

โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง หน้า 82
ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด หน้า 80

13
ช่องเก็บของส่วนหน้า หน้า 55
ช่องเสียบไฟอเนกประสงค์ หน้า 56
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

คันเบรกหลัง
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 50
ที่แขวนหมวกกันน็อก หน้า 53
เบาะนั่ง หน้า 52

หัวเทียน หน้า 77

ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ หน้า 76

ขาตั้งกลาง หน้า 9
ฝาปิดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง หน้า 82
ขาตั้งข้าง หน้า 91

14
คำ�แนะนำ�การใช้งาน
15
เครื่องวัดต่างๆ
มาตรวัดความเร็ว
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สวิทช์เปลี่ยนโหมดการทำ�งาน

การตรวจสอบการแสดงผลข้อมูลในหน้าจอ
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง (On) โหมดการท�ำงานและแถบแสดงสถานะดิจิตอลทั้งหมดจะปรากฏขึ้น
ถ้าหากส่วนหนึ่งส่วนใดของการแสดงผลเหล่านี้ไม่ปรากฏขึ้นเมืื่อถึงเวลาที่ควรจะปรากฏ กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คปัญหาโดยศูนย์บริการฮอนด้า
16
นาฬิกา (แสดงผลแบบ 12 ชั่วโมง)
การตั้งเวลานาฬิกา : หน้า 19

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่เหลืออยู่เมื่อแถบแสดงสถานะล�ำดับ
ที่ 1 (E) เท่านั้นปรากฏขึ้น : 1.1 ลิตร โดยประมาณ
แถบแสดงสถานะนี้จะกะพริบเมื่อระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
ลดลงไปอีก

ถ้าหากสัญญาณไฟของเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
กะพริบตามล�ำดับหรือดับลง : หน้า 101

17
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ)
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

มาตรวัดระยะทาง [TOTAL] และ มาตรวัดระยะการเดินทาง [TRIP] และ มาตรวัดอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อ-


เพลิงเฉลี่ย [AVG]
กดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการท�ำงานเพื่อเลือกไปที่มาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง และอัตราการใช้น�้ำมัน-
เชื้อเพลิงเฉลี่ย
มาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย

18
• มาตรวัดระยะทาง : การตั้งเวลานาฬิกา :
แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่ง 1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On)
• มาตรวัดระยะการเดินทาง : 2 ในขณะที่มาตรวัดระยะทางปรากฏอยู่ ให้กดสวิทช์เปลี่ยน
แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่งตั้งแต่ที่มาตรวัดระยะการเดิน โหมดการทำ�งานค้างไว้จนกระทั่งตัวเลขบอกเวลาเริ่ม

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ทางได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว การปรับตั้งค่ามาตรวัด ต้นกะพริบ
ระยะการเดินทางใหม่ ให้กดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการท�ำงาน
ค้างไว้ในขณะที่มาตรวัดระยะการเดินทางปรากฏอยู่ อัตรา
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยก็จะถูกปรับตั้งค่าใหม่ด้วย 3 กดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการทำ�งานจนกระทั่งเวลาที่ต้อง-
• อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย : การปรากฏขึ้น
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยจะยึดค่าจากมาตรวัด เวลาจะเพิ่มขึ้น 1 นาทีในแต่ละครั้งของการกดสวิทช์
ระยะการเดินทาง เวลาจะเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ทีละ 10 นาทีในขณะที่กด
แสดงอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยตั้งแต่ที่มาตรวัด- สวิทช์ค้างไว้
ระยะการเดินทางได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว
หากสัญลักษณ์ “ “ ปรากฏขึ้น ยกเว้นหลังจากที่อัตรา
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว 4 รอเป็นเวลา 5 วินาทีแล้วจึงกดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการ
กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ ทำ�งาน นาฬิกาได้ตั้งเวลาเรียบร้อยแล้ว
เช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า การตั้งเวลานาฬิกายังสามารถทำ�ได้โดยการหมุนสวิทช์
จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off)

19
สัญญาณไฟต่างๆ
ถ้าหนึ่งในสัญญาณไฟเหล่านี้ไม่ติดขึ้นเมืื่อถึงเวลาที่ควรจะติด กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป
เข้ารับบริการตรวจเช็คปัญหาโดยศูนย์บริการฮอนด้า
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
สัญญาณไฟจะติดขึ้นเมื่อการยืนยันตัวตนของรถ
และฮอนด้าสมาร์ทคีย์เสร็จสมบูรณ์ และสวิทช์จุด
ระเบิดสามารถทำ�งานได้
สัญญาณไฟจะดับลงเมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่
ตำ�แหน่ง (On)
เมื่อสัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
กะพริบ : หน้า 100

สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิ สัญญาณไฟ PGM-FI


น�้ำหล่อเย็นสูง สั ญ ญาณไฟจะติ ดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะขับขี่ : หน้า 98 ทีต่ ำ�แหน่ง (On)
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะเครื่องยนต์กำ�ลังทำ�งาน : หน้า 99
20
สัญญาณไฟเลี้ยวซ้าย สัญญาณไฟเลี้ยวขวา

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
สัญญาณไฟสูง สัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบา
สัญญาณไฟจะติดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อสวิทช์หยุดการ
ทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING
STOP และสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง (On)
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา :
หน้า 42

21
สวิทช์ต่างๆ
สวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
•IDLING STOP : เปิดระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

รอบเดินเบา
•IDLING : ปิดระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน
เบา
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา : หน้า 42
สวิทช์ไฟฉุกเฉิน
ปุ่มแตร สวิทช์ไฟเลี้ยว • : เปิดสัญญาณไฟฉุกเฉิน
กดปุ่มสวิทช์ลงเมื่อต้องการยกเลิกสัญญาณ สามารถสลับสวิทช์เปิด/ปิดการใช้งานได้้เมื่อสวิทช์จุด
ระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่งเปิด และสามารถกดปิดได้โดยไม่
สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ ต้องคำ�นึงว่าสวิทช์จุดระเบิดจะอยู่ที่ตำ�แหน่งใด
• : ไฟสูง
• : ไฟต�่ำ
สัญญาณจะกะพริบต่อเนื่อง ในขณะที่สวิทช์จุดระเบิด
อยู่ที่ตำ�แหน่ง (Off) หรือ (LOCK) หลังจากที่เปิด
สวิทช์ไฟฉุกเฉินแล้ว

• : ปิดสัญญาณไฟฉุกเฉิน
ปุ่มสตาร์ท

22
(On)
เปิดระบบไฟฟ้าเพื่อการสตาร์ท/การขับขี่
สวิทช์จุดระเบิด
เปิด/ปิดระบบไฟฟ้า ล๊อคคอรถ เปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่ง SEAT FUEL
เปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
และฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
(Off)
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด : หน้า 39 ดับเครื่องยนต์
(LOCK)
การล๊อคคอรถ ล๊อคคอรถ
การล๊อคคอ
ควรล๊อคคอรถไว้เมื่อจอดรถจักรยานยนต์เพื่อช่วยป้อง
กันการขโมย 1 หมุนแฮนด์รถไปด้านซ้ายหรือด้านขวาจนสุด
ขอแนะน�ำให้ท่านใช้ตัวล๊อคล้อกันขโมยรูปตัวยูหรืออุป- 2 กดสวิทช์จุดระเบิดลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�-
กรณ์กันขโมยที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกด้วย แหน่ง (LOCK)
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39
สวิทช์จุดระเบิด
ให้ขยับแฮนด์ซ้าย-ขวา ถ้าหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่
ตำ�แหน่ง (LOCK) ได้ยาก
3 ล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 40
การปลดล๊อคคอ
กดสวิทช์จุดระเบิดลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง
หมุน (Off)
กดลง
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39
23
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ)
ระบบสัญญาณกันขโมย
ระบบสัญญาณกันขโมยเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อลดโอกาสในการ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ถูกขโมยรถ เมื่อตัวตรวจจับสามารถตรวจจับการสั่นสะเทือน
หรือการเคลื่อนไหวของตัวรถได้ในขณะที่สวิทช์จุดระเบิดอยู่
ที่ต�ำแหน่ง (Off) หรือ (LOCK) และเมื่อมีการตั้งระบบ
ไว้ให้ท�ำงาน สัญญาณเสียงเตือนก็จะดังขึ้น
สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้นและไฟเลี้ยวจะกะพริบเป็นเวลา
ประมาณ 10 วินาทีเมื่อระบบสัญญาณกันขโมยตรวจสอบ
พบว่ามีการสั่นสะเทือนเกิดขึ้นเนื่องจากการสัมผัสโดนหรือ
เกิดการเคลื่อนไหวของตัวรถ สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น
และไฟเลี้ยวจะกะพริบเป็นเวลาประมาณ 60 วินาทีเมื่อระบบ
สัญญาณกันขโมยตรวจสอบพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่สามารถ
รับรู้ได้ของต�ำแหน่งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. เช่น มีการ
เข็น ลาก หรือจูงรถ เป็นต้น
หลังจากที่สัญญาณเสียงเตือนดังขึ้นเป็นเวลา 60 วินาทีผ่าน
ไปแล้ว ระบบสัญญาณกันขโมยจะตั้งค่าของระบบใหม่ใน
ต�ำแหน่งนั้นๆ ของรถ

24
ถ้าหากสวิทช์จุดระเบิดยังคงค้างอยู่ที่ต�ำแหน่ง (Off) เป็น การตั้งค่าระบบสัญญาณกันขโมย
เวลานานเกินกว่า 10 วัน ระบบสัญญาณกันขโมยจะไม่
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off) หรือ
สามารถใช้งานได้อีกต่อไป ดังนั้นเพื่อท�ำการตั้งค่าระบบใหม่
(LOCK)
ให้ท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (On) หนึ่งครั้ง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
2 กดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย ภายในเวลา 1 วินาที ไฟ
ก่อน
เลี้ยวจะกะพริบและสัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 1 ครั้ง
ระบบสัญญาณกันขโมยใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ ซึ่งอาจ หลังจากผ่านไป 2 วินาที สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น
มีผลกระทบต่ออุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ อีก 1 ครั้ง ระบบสัญญาณกันขโมยจะถูกตั้งค่าไว้ให้ทำ�งาน
สัญญาณไฟเตือนระบบสัญญาณกันขโมยจะกะพริบใน
ข้อสังเกต ระหว่างที่ระบบสัญญาณกันขโมยถูกตั้งค่าไว้ให้ท�ำงาน
เมื่อแบตเตอรี่ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มีก�ำลังไฟ
สัญญาณไฟเตือนระบบ
อ่อน ระบบสัญญาณกันขโมยอาจไม่ท�ำงาน ปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย สัญญาณกันขโมย

25
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ) การหยุดการเปิดใช้งานระบบสัญญาณกันขโมย
การยกเลิกระบบสัญญาณกันขโมย การหยุดการเปิดใช้งานระบบสัญญาณกันขโมย ให้ปฏิบัติ
หนึ่งข้อต่อไปนี้ :
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

การยกเลิกระบบสัญญาณกันขโมย ให้กดปุ่มตั้งค่าสัญญาณ
กันขโมยที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์หรือปลดล๊อคสวิทช์จุด •กดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมยที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ระเบิด หน้า 39 •กดปุ่มค้นหาตำ�แหน่งรถที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
เมื่อกดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย ไฟเลี้ยวและสัญญาณไฟ •ปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39
เตือนระบบสัญญาณกันขโมยจะกะพริบ 2 ครั้ง และสัญญาณ หลังจากการหยุดการเปิดใช้งานระบบสัญญาณกันขโมย
เสียงเตือนก็จะดังขึ้น 2 ครั้ง ระบบสัญญาณกันขโมยจะถูกยกเลิก

เมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกปลดล๊อค ไฟเลี้ยวจะกะพริบ 2 ครั้ง ปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย ปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถ


และสัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 2 ครั้ง จากนั้นสัญญาณ
ไฟเตือนระบบสัญญาณกันขโมยจะดับลง
ปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย

26
การปรับตั้งความไวของระบบสัญญาณกันขโมย 5 กดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้ง
ท่านสามารถเลือกระดับความไวสำ�หรับระบบสัญญาณกัน 6 ท�ำซ�้ำขัน้ ตอนนี้ไปจนกระทัั่งครบ 3 ครั้ง ดังนี้ :
ขโมยได้จาก 3 ระดับ กดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมยที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
2 ครั้งและกดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้ง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
1 ต้องแน่ใจว่าระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ได้ถูกเปิดใช้งาน
หน้า 35 เมื่อกดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย ไฟ LED ที่อยู่บน
2 ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 74 ฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะติดขึ้น
3 กดสวิทช์จุดระเบิดเพื่อยืนยันตัวตนในการเข้าใช้งาน ต้องแน่ใจว่าไฟ LED ดับลงก่อนที่จะกดปุ่มในครั้งต่อ
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ หน้า 39 ไป
4 ต่อตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินที่ีมีอยู่ในชุดเครื่องมือประจ�ำ ถ้าหากไม่ได้กดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมยหรือไม่ได้
รถเข้ากับขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน หน้า 108 กดสวิทช์จุดระเบิดภายในเวลา 1 นาที สัญญาณไฟ
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวนรอบ เตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะเริ่มต้นกะพริบและโหมดนี้
สวิทช์จุดระเบิดจะดับลง จะถูกยกเลิก ถ้าเป็นเช่นนั้นให้ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมด
สวิทช์จุดระเบิด ฉุกเฉินออก จากนั้นกลับไปยังขั้นตอนที่ 3 และปฏิบัติ
ปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมย ตามขั้นตอนอีกครั้ง

วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
27
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ) ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ กลับเข้าที่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับ
7 กดปุ่มตั้งค่าสัญญาณกันขโมยเพื่อที่จะเลือกระดับ ขั้นตอนการถอด
ความไวของระบบสัญญาณกันขโมยจาก 3 ระดับ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

3 ครั้งที่มีสัญญาณเสียงเตือนดังขึ้น : ความไวสูง ถ้าระบบสัญญาณกันขโมยไม่ท�ำงานอย่างเหมาะสม


2 ครั้งที่ีมีสัญญาณเสียงเตือนดังขึ้น : ความไวปานกลาง ถ้าสถานการณ์ใดดังต่อไปนี้ปรากฏขึ้น แสดงว่าแบตเตอรี่
1 ครั้งที่มีสัญญาณเสียงเตือนดังขึ้น : ความไวต�่ำ (ดูหน้า 64) ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. จ่ายกระแส
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวน ไฟออกจนหมดหรือมีปัญหาเกิดขึ้นในระบบ ท่านควร
รอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นในขณะท�ำการตั้งค่า
8 รอเป็นเวลาประมาณ 10 วินาทีจนกระทั่งวงแหวน น�ำรถไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้าที่
รอบสวิทช์จุดระเบิดเริ่มต้นกะพริบ ระดับความไว ใกล้ที่สุด
จะถูกตั้งค่า
9 ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกจากขั้วต่อโหมด •สัญญาณเสียงเตือนไม่ดัง
ฉุกเฉินเพื่อสิ้นสุดการตั้งค่า •สัญญาณเสียงเตือนดัง แต่ค่อยๆ จางหายไป
ระดับความไวจะถูกตั้งค่าด้วยเช่นกันถ้าหากท่าน •ระบบสัญญาณกันขโมยไม่หยุดการท�ำงาน
ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกก่อนที่วงแหวน
รอบสวิทช์จุดระเบิดจะเริ่มต้นกะพริบ
10 เก็บตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินไว้ในชุดเครื่องมือ
ประจำ�รถ
28
ระบบค้นหาต�ำแหน่งรถ
ระบบค้นหาต�ำแหน่งรถเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการค้นหา
ต�ำแหน่งของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน เมื่อ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ท่านกดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ในขณะที่สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง (Off) หรือ วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
(LOCK) รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านจะแจ้ง
ให้ท่านทราบถึงต�ำแหน่งของรถโดยการกะพริบของไฟ ปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถ

เลี้ยว การท�ำให้สัญญาณเสียงดังขึ้น และการท�ำให้วง


แหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดติดสว่างขึ้น โดยที่วงแหวน
รอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นเป็นเวลาประมาณ
1 นาที

ระบบค้นหาต�ำแหน่งรถใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ ซึ่ง
อาจมีผลกระทบต่ออุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่อง
กระตุ้นหัวใจ

29
การปรับตั้งระดับเสียงของระบบค้นหาต�ำแหน่ง
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ) รถ
การท�ำงาน ท่านสามารถเลือกระดับเสียงได้ 3 ระดับ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์ 1 ต้องแน่ใจว่าระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ได้ถูกเปิดใช้
ระบบค้นหาต�ำแหน่งรถจะไม่ท�ำงานเมื่อสวิทช์จุดระเบิด งาน หน้า 35
ถูกปลดล๊อค 2 ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 74
3 กดสวิทช์จุดระเบิดเพื่อยืนยันตัวตนในการเข้าใช้
ถ้าหากสวิทช์จุดระเบิดยังคงค้างอยู่ที่ต�ำแหน่ง (Off) งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ หน้า 39
หรือ (LOCK) เป็นเวลานานเกินกว่า 10 วัน ระบบ 4 ต่อตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินที่ีมีอยู่ในชุดเครื่องมือ
ค้นหาต�ำแหน่งรถจะไม่สามารถใช้งานได้อีกต่อไป ดังนั้น ประจ�ำรถเข้ากับขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน หน้า 108
เพื่อท�ำการตั้งค่าระบบใหม่ ให้ท่านปลดล๊อคสวิทช์จุด สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวน
ระเบิดและหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (On) รอบสวิทช์จุดระเบิดจะดับลง
หนึ่งครั้งก่อน สวิทช์จุดระเบิด
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39 ปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถ

ข้อสังเกต
เมื่อแบตเตอรี่ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มีก�ำลัง
ไฟอ่อน ระบบค้นหาต�ำแหน่งรถอาจไม่ท�ำงาน
วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
30
5 กดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้ง 7 กดปุ่มค้นหาตำ�แหน่งรถเพื่อที่จะเลือกระดับเสียง
6 ท�ำซ�้ำขัน้ ตอนนี้ไปจนกระทัั่งครบ 3 ครั้ง ดังนี้ : จาก 3 ระดับ
กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์ สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวน
2 ครั้งและกดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้ง รอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นในขณะท�ำการตั้ง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
เมื่อกดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถ ไฟ LED ที่อยู่บน ค่า
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะติดขึ้น 8 รอเป็นเวลาประมาณ 10 วินาทีจนกระทั่งวงแหวน
ต้องแน่ใจว่าไฟ LED ดับลงก่อนที่จะกดปุ่มในครั้ง รอบสวิทช์จุดระเบิดเริ่มต้นกะพริบ ระดับเสียงจะ
ต่อไป ถูกตั้งค่า
ถ้าหากไม่ได้กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถหรือไม่ได้ 9 ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกจากขั้วต่อโหมด
กดสวิทช์จุดระเบิดภายในเวลา 1 นาที สัญญาณ ฉุกเฉินเพื่อสิ้นสุดการตั้งค่า
ไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะเริ่มต้นกะพริบและ ระดับเสียงจะถูกตั้งค่าด้วยเช่นกันถ้าหากท่าน
โหมดนี้จะถูกยกเลิก ถ้าเป็นเช่นนั้นให้ถอดตัวช็อต ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกก่อนที่วงแหวน
ขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออก จากนั้นกลับไปยังขั้นตอน รอบสวิทช์จุดระเบิดจะเริ่มต้นกะพริบ
ที่ 3 และปฏิบัติตามขั้นตอนอีกครั้ง 10 เก็บตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินไว้ในชุดเครื่องมือ
ประจำ�รถ
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ กลับเข้าที่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับ
ขั้นตอนการถอด

31
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ) 5 กดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้ง
6 ท�ำซ�้ำขัน้ ตอนนี้ไปจนกระทัั่งครบ 3 ครั้ง ดังนี้ :
การเปลี่ยนรูปแบบเสียงของระบบค้นหาต�ำแหน่ง กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
รถ 3 ครั้งและกดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้ง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ท่านสามารถเลือกรูปแบบเสียงได้ 3 รูปแบบ เมื่อกดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถ ไฟ LED ที่อยู่บน


1 ต้องแน่ใจว่าระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ได้ถูกเปิดใช้ ฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะติดขึ้น
งาน หน้า 35 ต้องแน่ใจว่าไฟ LED ดับลงก่อนที่จะกดปุ่มในครั้ง
2 ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 74 ต่อไป
3 กดสวิทช์จุดระเบิดเพื่อยืนยันตัวตนในการเข้าใช้ ถ้าหากไม่ได้กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถหรือไม่ได้
งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ หน้า 39 กดสวิทช์จุดระเบิดภายในเวลา 1 นาที สัญญาณ
4 ต่อตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินที่ีมีอยู่ในชุดเครื่องมือ ไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะเริ่มต้นกะพริบและ
ประจ�ำรถเข้ากับขั้วต่อโหมดฉุกเฉินหน้า 108 โหมดนี้จะถูกยกเลิก ถ้าเป็นเช่นนั้นให้ถอดตัวช็อต
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวน ขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออก จากนั้นกลับไปยังขั้นตอน
รอบสวิทช์จุดระเบิดจะดับลง
สวิทช์จุดระเบิด ที่ 3 และปฏิบัติตามขั้นตอนอีกครั้ง
ปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถ

วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
32
7 กดปุ่มค้นหาตำ�แหน่งรถเพื่อที่จะเลือกรูปแบบเสียง โหมดปิดเสียงชั่วคราว
จาก 3 รูปแบบ
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวน โหมดปิดเสียงชั่วคราวเป็นวิธีการที่ใช้ในการปิดเสียงของ
รอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นในขณะท�ำการ ระบบค้นหาต�ำแหน่งรถแบบทันทีทันใด

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ตั้งค่า ปิดเสียง :
8 รอเป็นเวลาประมาณ 10 วินาทีจนกระทั่งวงแหวน กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถค้างไว้เป็นเวลาประมาณ 2
รอบสวิทช์จุดระเบิดเริ่มต้นกะพริบ รูปแบบเสียงจะ วินาที ไฟ LED ที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะเปลี่ยนเป็น
ถูกตั้งค่า สีแดง
9 ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกจากขั้วต่อโหมด เปิดเสียง :
ฉุกเฉินเพื่อสิ้นสุดการตั้งค่า กดปุ่มค้นหาต�ำแหน่งรถค้างไว้อีกครั้งเป็นเวลาประมาณ
รูปแบบเสียงจะถูกตั้งค่าด้วยเช่นกันถ้าหากท่าน 2 วินาที ไฟ LED ที่อยู่บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะเปลี่ยน
ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกก่อนที่วงแหวน
รอบสวิทช์จุดระเบิดจะเริ่มต้นกะพริบ เป็นสีเขียว
10 เก็บตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินไว้ในชุดเครื่องมือ
ประจำ�รถ
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ กลับเข้าที่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับ
ขั้นตอนการถอด

33
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์
(Honda SMART Key System) หรือ
ระบบรีโมทอัจฉริยะ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะยินยอมให้ท่านใช้งานสวิทช์
จุดระเบิด (สวิทช์หลัก) โดยไม่ต้องเสียบกุญแจเข้าไปใน
รูกุญแจ
ระบบจะด�ำเนินการยืนยันตัวตนในการเข้าใช้งานแบบ
2 ทาง (แบบไป-กลับ) ระหว่างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า
A.T. และฮอนด้าสมาร์ทคีย์เพื่อที่จะตรวจสอบความถูก
ต้องว่าเป็นฮอนด้าสมาร์ทคีย์ซึ่งได้ลงทะเบียนไว้หรือไม่

ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ ซึ่ง
อาจมีผลกระทบต่ออุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่อง
กระตุ้นหัวใจ

34
การเปลี่ยนสถานะของระบบฮอนด้าสมาร์ท
คีย์
การเปลี่ยนสถานะของระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไปสู่

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
การเปิดใช้งานหรือปิดการใช้งานระบบ ไฟ LED
กดปุ่มเปิด-ปิดการเชื่อมต่อสัญญาณจนกระทั่งสีไฟ LED
ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์เปลี่ยนแปลง

การตรวจสอบสถานะของระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ค่อยๆ กดปุ่มเปิด-ปิดการเชื่อมต่อสัญญาณ ไฟ LED ของ
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะแสดงสถานะ
เมื่อไฟ LED ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์เป็น : ปุ่มเปิด-ปิดการเชื่อมต่อสัญญาณ
สีเขียว : สามารถท�ำการยืนยันตัวตนในการ
(การเปิดใช้งานระบบ) เข้าใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ได้
สีแดง : ไม่สามารถท�ำการยืนยันตัวตนใน
(การปิดใช้งานระบบ) การเข้าใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ท
คีย์ได้

35
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ (ต่อ) เมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกปลดล๊อค :
ระบบสามารถท�ำงานได้ภายในบริเวณที่แรเงาดังแสดง
รัศมีการเชื่อมต่อ ในภาพประกอบ
รัศมีการเชื่อมต่อจะแตกต่างกันเมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อค
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

หรือปลดล๊อค
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ ดังนั้น
รัศมีการเชื่อมต่ออาจจะกว้างขึ้นหรือแคบลง หรือระบบฮอนด้า
สมาร์ทคีย์อาจจะท�ำงานอย่างไม่เหมาะสมในสภาพแวดล้อม
ดังต่อไปนี้
• เมื่อแบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์มีก�ำลังไฟอ่อนหรือ
แบตเตอรี่หมดไฟ
• เมื่อมีสิ่งก่อสร้างหรืออาคารใกล้ๆ ซึ่งก่อให้เกิดคลื่นวิทยุ
ความแรงสูงหรือสัญญาณรบกวน เช่น หอส่งสัญญาณ-
โทรทัศน์ โรงไฟฟ้า สถานีวิทยุ หรือสนามบิน
• เมื่อท่านน�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์พกติดตัวไปด้วยพร้อมกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop) หรืออุปกรณ์การ
สื่อสารแบบไร้สาย เช่น วิทยุโทรศัพท์หรือโทรศัพท์มือถือ
• เมื่อฮอนด้าสมาร์ทคีย์สัมผัสกับวัตถุที่เป็นโลหะหรือถูกห่อ
หุ้มด้วยวัตถุที่เป็นโลหะ

36
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อค : ใครก็ตามสามารถที่จะปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดและ
ระบบสามารถท�ำงานได้ภายในบริเวณที่แรเงาดังแสดง สตาร์ทเครื่องยนต์ได้ ถ้าหากฮอนด้าสมาร์ทคีย์ของท่าน
ในภาพประกอบ อยู่ภายในรัศมีการเชื่อมต่อของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
A.T. ของท่านแม้ว่าท่านจะอยู่อีกด้านหนึ่งของผนังหรือ
หน้าต่างก็ตาม ดังนั้นถ้าท่านอยู่ห่างจากรถจักรยานยนต์
ประมาณ 2 เมตร (6.6 ฟุต) ฮอนด้า A.T. ของท่าน แต่ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ยังคงอยู่
ภายในรัศมีการเชื่อมต่อ ขอให้ท่านปิดการใช้งานระบบ
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์
การเปลี่ยนสถานะของระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์
หน้า 35

37
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ (ต่อ) ถ้าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง (On) รถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. จะสามารถท�ำงานได้แม้ว่าโดยบุคคลซึ่ง
ใครก็ตามที่มีฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไว้ในครอบครองก็สามารถ
ไม่มีฮอนด้าสมาร์ทคีย์ซึ่งได้รับการยืนยันความถูกต้อง
ที่จะสตาร์ทเครื่องยนต์และปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ก็ตาม
ปลดล๊อคที่ล๊อคเบาะ เปิดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
เมื่อไรก็ตามที่ท่านจอดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
และปลดล๊อคที่ล๊อคคอรถได้ถ้าหากฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ของท่านทิ้งไว้ ขอให้ท่านล๊อคคอรถและล๊อคสวิทช์จุด-
อยู่ภายในรัศมีการเชื่อมต่อ
ระเบิด หน้า 40
ท่านควรจะพกฮอนด้าสมาร์ทคีย์ติดตัวไว้เสมอหลังจาก
ต้องแน่ใจว่าวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดดับและไฟเลี้ยว
ที่ท่านขึ้นและลงจากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หรือ
ทั้งหมดกะพริบ 1 ครั้งในเวลานี้
ในขณะขับขี่
อย่าวางฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไว้ในช่องเก็บของอเนกประสงค์
หรือช่องเก็บของส่วนหน้า

38
การเปลี่ยนต�ำแหน่งของสวิทช์จุดระเบิด เมื่อระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ท�ำงานอย่างเหมาะสม
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 105
ถ้าใครบางคนซึ่งไม่มีฮอนด้าสมาร์ทคีย์พยายามทีี่จะ
1 ต้องแน่ใจว่าระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ได้ถูกเปิดใช้งาน

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
หน้า 35
หมุนสวิทช์จุดระเบิด สวิทช์จุดระเบิดจะหมุนได้อย่าง
2 การยืนยันตัวตนในการเข้าใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ท อิสระ ถ้าท่านสังเกตเห็นว่าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ในต�ำแหน่ง
คีย์ ให้กดสวิทช์จุดระเบิด ที่ผิดปกติหรือแตกต่างจากเดิม ขอให้ท่านหมุนสวิทช์
เมื่อการยืนยันตัวตนในการเข้าใช้งานระบบเป็นไปอย่าง จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่งเดิม ( (Off) หรือ (LOCK))
ถูกต้องและสวิทช์จุดระเบิดถูกปลดล๊อค สัญญาณเสียง
เตือนจะดังขึ้น 2 ครั้ง สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์ ฮอนด้าสมาร์ทคีย์
และวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้น
สัญญาณเสียงเตือนสามารถยกเลิกได้ หน้า 41
3 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (On) ในขณะที่
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์ติด สัญญาณไฟเตือน
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ถ้าท่านไม่ได้หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (On)
ภายในเวลา 20 วินาทีหลังจากที่กดสวิทช์จุดระเบิดลง
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์และวงแหวนรอบ
สวิทช์จุดระเบิดจะดับลง ไฟเลี้ยวจะกะพริบ 1 ครั้งและ วงแหวนรอบ
จากนั้นสวิทช์จุดระเบิดจะถูกล๊อค สวิทช์จุดระเบิด สวิทช์จุดระเบิด

39
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ (ต่อ) เมื่อระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ท�ำงานอย่างเหมาะสม
หน้า 105
การล๊อคสวิทช์จุดระเบิด
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง SEAT FUEL,
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
(Off) หรือ (LOCK)
2 ล๊อคสวิทช์จุดระเบิดโดยทำ�ตามหนึ่งในขั้นตอนต่อไปนี้ :
สวิทช์จุดระเบิด
• น�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์ออกจากรัศมีการเชื่อมต่อ
หน้า 34 (On) (LOCK)
• กดสวิทช์จุดระเบิด (Off)
• รอเป็นเวลาประมาณ 20 วินาทีหลังจากที่หมุน SEAT FUEL
สวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง (On) ไปที่ต�ำแหน่ง
SEAT FUEL, (Off) หรือ (LOCK)
• เปลี่ยนสถานะของระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไปสู่
การปิดใช้งานระบบ หน้า 35
3 ต้องแน่ใจว่าสัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
และวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดดับ ไฟเลี้ยวจะกะพริบ
1 ครั้งและสัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 1 ครั้ง ซึ่ง
แสดงให้เห็นว่าสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อค
สัญญาณเสียงเตือนสามารถยกเลิกได้ หน้า 41
40
ต้องแน่ใจว่าต�ำแหน่งของสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ (Off) การเปิดหรือการปิดการใช้งานสัญญาณ
หรือ (LOCK) เสมอเมืื่อท่านจอดรถจักรยานยนต์ เสียงเตือนเมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อค/
ฮอนด้า A.T. ของท่านทิ้งไว้ ปลดล๊อค

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
เปิดการใช้งาน
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อคในต�ำแหน่ง SEAT FUEL 1 ปิดการใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ หน้า 35
สวิทช์จุดระเบิดจะสามารถหมุนไปที่ต�ำแหน่ง (Off) 2 ค่อยๆ กดปุ่มเปิด-ปิดการเชื่อมต่อสัญญาณ ไฟ LED สี
ได้เพียงครั้งเดียว แดงของฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะติดขึ้น
3 ในขณะที่ไฟ LED สีแดงติด ให้กดปุ่มค้นหาตำ�แหน่งรถ
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อคในต�ำแหน่ง (Off) คอรถ ไฟ LED สีแดงจะเริ่มต้นกะพริบเมื่อสัญญาณเสียงเตือน
ถูกเปิดใช้งานอย่างเหมาะสม
จะไม่สามารถล๊อคได้ การล๊อคคอรถ ขอให้ท่านปลด
ล๊อคสวิทช์จุดระเบิด ปิดการใช้งาน
1 ปิดการใช้งานระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ หน้า 35
2 ค่อยๆ กดปุ่มเปิด-ปิดการเชื่อมต่อสัญญาณ ไฟ LED สี
แดงของฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะกะพริบ
3 ในขณะที่ไฟ LED สีแดงกำ�ลังกะพริบอยู่ ให้กดปุ่มค้น
หาตำ�แหน่งรถ
ไฟ LED สีแดงจะหยุดกะพริบแต่ยังคงติดค้างอยู่เมื่อ
สัญญาณเสียงเตือนถูกปิดการใช้งานอย่างเหมาะสม
41
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน การเปิดใช้งานระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาพร้อมที่จะดับ
รอบเดินเบา (Idling Stop System) เครื่องยนต์และสัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์
ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาได้รับการออก- ในรอบเดินเบาจะติดขึ้นเมื่อเป็นไปตามข้อก�ำหนดต่างๆ ดังต่อไปนี้
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

แบบมาเพื่อช่วยลดความสิ้นเปลืองของน�้ำมันเชื้อเพลิงและเสียงดัง ในขณะที่สวิทช์หยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่
โดยหยุดการเดินเบาในขณะที่หยุดรถ เช่น ในระหว่างหยุดรอสัญญาณ ต�ำแหน่ง IDLING STOP :
ไฟที่สี่แยก เป็นต้น • เครื่องยนต์สตาร์ทติดได้โดยใช้ปุ่มสตาร์ท
การเปิดหรือการปิดการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงาน • เครื่องยนต์อุ่นเพียงพอ
ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา • ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ที่ความเร็วเกินกว่า 10 กิโลเมตร/
เปิดหรือปิดการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง)
เดินเบาโดยการใช้สวิทช์หยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน
• เปิดการท�ำงาน : IDLING STOP รอบเดินเบาไม่ติด : หน้า 102
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
จะติดขึ้นเมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา สวิทช์หยุดการท�ำงานของ สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงาน
พร้อมที่จะดับเครื่องยนต์ในขณะขับขี่ สัญญาณไฟระบบหยุด เครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
การท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะกะพริบเมื่อเครื่องยนต์
ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบา
• ปิดการท�ำงาน : IDLING
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
จะไม่ติดเมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
ไม่ท�ำงาน
42
การดับเครื่องยนต์โดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงาน การระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยส�ำหรับระบบหยุดการ
ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
เครื่องยนต์จะดับและสัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของ อย่าอยู่ห่างจากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ในขณะที่สัญญาณ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะเปลี่ยนเป็นกะพริบ หลังจากที่ ไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบากะพริบ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ท่านผ่อนคันเร่งจนสุดและหยุดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อยู่ เมื่อท่านจะจอดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ทิ้งไว้หรือ
ให้สนิทแล้วในขณะที่สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของ อยู่ห่างจากรถของท่าน ให้ท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาติดอยู่ ต�ำแหน่ง (Off) เสมอ
ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ เครื่องยนต์จะท�ำงานในทันทีทันใดเมื่อบิดคันเร่ง
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ถ้าท่านกดสวิทช์หยุด
เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ
การท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่ต�ำแหน่ง
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณ
IDLING ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน
ไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
เบาจะถูกยกเลิก เครื่องยนต์จะไม่สามารถสตาร์ทติดใหม่
ติด : หน้า 103
อีกครั้งได้โดยอัตโนมัติแม้ว่าท่านจะบิดคันเร่งก็ตาม
ข้อสังเกต
การที่เครื่องยนต์ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาเป็นเวลานาน อาจ
ท�ำให้เกิดการจ่ายกระแสไฟออกจากแบตเตอรี่จนหมดได้
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
43
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบา (Idling Stop System) (ต่อ)
การสตาร์ทเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้ง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ข้อสังเกต
ตรวจสอบว่าสัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์
ในรอบเดินเบากะพริบอยู่หรือไม่ และจากนั้นให้บิดคันเร่ง ไฟหน้าจะยังคงติดอยู่หลังจากที่เครื่องยนต์ดับโดยการ
ถ้าหากสัญญาณไฟไม่กะพริบ ท่านจะไม่สามารถสตาร์ท ท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ
ติดเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้งได้โดยอัตโนมัติด้วยระบบหยุด เดินเบา แบตเตอรี่อาจจะจ่ายกระแสไฟออกจนหมดและ
การท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาแม้ว่าท่านจะบิด ท่านอาจจะไม่สามารถสตาร์ทติดเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้ง
คันเร่งก็ตาม ได้โดยอัตโนมัติ
ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ เมื่อแบตเตอรี่มีก�ำลังไฟอ่อน ให้สับเปลี่ยนสวิทช์หยุดการ
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา หากท่านลดขาตั้งข้างลง ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่ต�ำแหน่ง IDLING
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ และอย่าใช้ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ
เดินเบาที่ก�ำลังกะพริบอยู่จะดับหรือหยุดกะพริบ และเปลี่ยน เดินเบา กรุณาน�ำรถของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็ค
เป็นติดค้าง ดังนั้นเครื่องยนต์จะไม่สามารถสตาร์ทติดใหม่ แบตเตอรี่ที่ศูนย์บริการฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
อีกครั้งได้โดยอัตโนมัติแม้ว่าท่านจะบิดคันเร่งก็ตาม กรุณาน�ำรถของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คแบตเตอรี่ที่
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง : หน้า 104 ศูนย์บริการฮอนด้า ตามที่ได้ระบุไว้ในตารางการบ�ำรุงรักษา
ตารางการบ�ำรุงรักษา : หน้า 59

44
1 ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลาง
การสตาร์ทเครื่องยนต์ 2 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On)
สตาร์ทเครื่องยนต์โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ โดยไม่คำ�นึง
ถึงว่าเครื่องยนต์จะอุ่นหรือเย็นก็ตาม การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้ติดตั้งระบบตัดการทำ�งานของเครื่อง-
ยนต์โดยขาตั้งข้าง
ถ้าท่านวางขาตั้งข้างลง เครื่องยนต์จะสตาร์ทไม่ติด
ถ้าท่านลดขาตั้งข้างลงในขณะที่เครื่องยนต์กำ�ลังเดินเครื่องอยู่
เครื่องยนต์จะดับโดยอัตโนมัติ
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้มีระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ ขอให้
ท่านพกฮอนด้าสมาร์ทคีย์ติดตัวไว้เสมอเมื่อท่านขับขี่รถจักรยาน-
ยนต์ฮอนด้า A.T. หน้า 34

ข้อสังเกต
• ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดภายใน 5 วินาที ให้หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่
ตำ�แหน่งปิด และรอเป็นเวลา 10 วินาที ก่อนจะลองสตาร์ทเครื่องยนต์
อีกครั้งเพื่อฟื้นฟูแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่
• การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานและการเร่งเครื่องยนต์อยู่กับที่อาจทำ�ให้
เครื่องยนต์และระบบไอเสียเกิดความเสียหายได้
• เครื่องยนต์จะสตาร์ทไม่ติดหากบิดคันเร่งจนสุด
• ถ้ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. พลิกคว�่ำ ในเบื้องต้นท่านจะต้องหมุน
สวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่งปิดก่อนที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น และจากนั้น
จึงตรวจสอบรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอย่างละเอียดถี่ถ้วน

45
ถ้าหากท่านไม่สามารถสตาร์ทเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้ง
การสตาร์ทเครื่องยนต์ (ต่อ) ในขณะเครื่องอุ่นได้ :
3 บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด 1 ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางและ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

มอเตอร์สตาร์ทจะทำ�งานเมื่อบีบคันเบรกหลัง บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด
เข้าและยกขาตั้งข้างขึ้นแล้วเท่านั้น 2 บิดคันเร่ง 1/8 - 1/4 รอบในขณะที่สตาร์ทเครื่องยนต์
4 ไม่ต้องบิดคันเร่ง กดปุ่มสตาร์ท ปล่อยปุ่มสตาร์ท
ทันทีที่เครื่องยนต์ติด 1/8
1/4

46
ถ้าหากท่านไม่สามารถสตาร์ทเครื่องยนต์ได้ : ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด :
1 ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางและ 1 บิดคันเร่งจนสุดและกดปุ่มสตาร์ทเป็นเวลา 5 วินาที
บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด 2 ปฏิบัติซ�้ำตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ปกติ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
2 บิดคันเร่งเล็กน้อย (ประมาณ 3 มม., ไม่มีระยะฟรี) 3 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทติด ให้บิดคันเร่งเล็กน้อยหาก
แล้วกดปุ่มสตาร์ท รอบเดินเบาไม่สม�่ำเสมอ
4 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ให้รอเป็นเวลา 10 วินาที
ก่อนที่จะปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 ใหม่อีก
ประมาณ 3 มม., ไม่มีระยะฟรี
ครั้ง
ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ดูหน้า 97

47
การขับขี่ 4 การเพิ่มความเร็วและการลดความเร็ว
การออกรถ เพื่อเพิ่มความเร็ว : ให้บิดคันเร่งทีละน้อย
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

1 ผลักรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ไปทางด้านหน้า เพื่อลดความเร็ว : ให้ผ่อนคันเร่ง


และเคลื่อนรถลงจากขาตั้งกลาง
บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด
บิดคันเร่ง (เพิ่มความเร็ว)
ไม่ต้องบิดคันเร่ง ผ่อนคันเร่ง (ลดความเร็ว)
ต้องแน่ใจว่าได้ยกขาตั้งข้างและขาตั้งกลางขึ้นแล้ว
/2 ขึ้นรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ขึ้นนั่งบนรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. จากทาง
ด้านซ้ายโดยใช้เท้าอย่างน้อย 1 ข้างยันพื้นไว้
3 ปล่อยคันเบรกหลังออก

48
การเบรก
ผ่อนคันเร่งและบีบทั้งคันเบรกหน้าและคันเบรกหลัง
พร้อมกัน

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
คันเบรกหลัง คันเบรกหน้า

49
การเปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง 1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง SEAT FUEL
ประเภทของน�้ำมันเชื้อเพลิง : น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สาร 2 การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ตะกั่วเท่านั้น 2 กดด้าน FUEL ของสวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิดช่อง


ค่าออกเทนของน�้ำมันเชื้อเพลิง : รถจักรยานยนต์ เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงลง
ฮอนด้า A.T. ของท่านได้รับการออกแบบมาให้ใช้น�้ำมัน ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจะเปิดออก
เชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง : 8.0 ลิตร ฝาปิดช่องเติม FUEL
น�้ำมันเชื้อเพลิง
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 10

SEAT FUEL

สวิทช์จุดระเบิด สวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิด
ช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง

50
3 หมุนฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงทวนเข็มนาฬิกาและ การปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ถอดฝาปิดออก 1 ประกอบและขันฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงให้แน่น
เครื่องหมายลูกศร โดยการหมุนตามเข็มนาฬิกา
ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมายลูกศรบนฝาปิดถังน�้ำมัน

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
กับบนถังน�้ำมันตรงกัน
2 ปิดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจนกระทั่งล๊อค
เข้าที่
ต้องแน่ใจว่าได้ปิดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
แน่นสนิทแล้ว
คำ�เตือน
น�้ำมันเชื้อเพลิงมีความไวต่อการติดไฟและการระเบิด
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง สูง ท่านอาจได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บสาหัสอัน
เนื่องมาจากน�้ำมันเชื้อเพลิงได้
ขอบล่างของขอบ
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากความร้อน ประกาย
ปากถังนำ�้ มันเชือ้ เพลิง
ไฟ และเปลวไฟ
อย่าเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจนล้นเกินจากขอบล่างของขอบ • เติมน�้ำมันในที่โล่งแจ้งเท่านั้น
ปากถังน�้ำมันเชื้อเพลิง • เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที

51
การเปิดเบาะนั่ง
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ 1 หมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวให้อยู่ในต�ำแหน่งหันตรงไป
ข้างหน้า
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

เบาะนั่ง สวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิด 2 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง SEAT FUEL


ช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง 2 การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด หน้า 39
3 กดด้าน SEAT ของสวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิดช่อง
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงลง
4 เปิดเบาะนั่งขึ้น

การปิดเบาะนั่ง
สวิทช์จุดระเบิด ปิดและกดช่วงหลังของเบาะนั่งลงจนกระทั่งล๊อคเข้าที่
ต้องแน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้วโดยการดึงเบาะนั่ง
SEAT FUEL SEAT ขึ้นเล็กน้อย
ดังนั้นขอให้ท่านระวังอย่าลืมฮอนด้าสมาร์ทคีย์ของท่าน
ไว้ในช่องเก็บของใต้เบาะนั่ง

52
ที่แขวนหมวกกันน็อก คำ�เตือน
ที่แขวนหมวกกันน็อกมีอยู่ที่ใต้เบาะนั่ง การขับขี่ในขณะที่หมวกกันน็อกยังแขวนติดอยู่กับที่แขวน
สายคล้องหมวกกันน็อกอยู่ในชุดเครื่องมือประจำ�รถ หมวกกันน็อกจะท�ำให้การขับขี่ของท่านไม่ปลอดภัยได้และ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ใช้ที่แขวนหมวกกันน็อกเมื่อจอดรถเท่านั้น อาจน�ำมาซึ่งการเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่ง
ท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ที่แขวนหมวกกันน็อกออกแบบมาเพื่อใช้แขวนหมวกกัน
ที่แขวนหมวกกันน็อก น็อกในขณะที่จอดรถเท่านั้น ไม่ควรขี่รถในขณะที่หมวก
กันน็อกยังแขวนอยู่กับที่แขวนหมวกกันน็อก

สายคล้องหมวกกันน็อก
แหวนรูปตัวดี

53
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ (ต่อ) ชุดเครื่องมือประจำ�รถ/ซองเก็บเอกสาร
ชุดเครื่องมือประจำ�รถและซองเก็บเอกสารอยู่ในช่องเก็บของ
สามารถเก็บหมวกกันน็อกไว้ในช่องเก็บของอเนกประสงค์
เก็บหมวกกันน็อกโดยหันหน้าหมวกไปทางด้านหน้าของรถ อเนกประสงค์
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

หมวกกันน็อกบางชนิดอาจไม่สามารถเก็บไว้ในช่องเก็บของ ซองเก็บเอกสาร
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ
อเนกประสงค์นี้ได้เนื่องจากขนาดหรือรูปทรงของหมวกกัน
น็อกนั้นๆ ช่องเก็บเครื่องมือ
หมวกกันน็อก

ช่องเก็บของอเนกประสงค์

ช่องเก็บของอเนกประสงค์ ช่องเก็บเอกสาร
อย่าเก็บของเกินกว่าขีดจ�ำกัดในการรับน�้ำหนักสูงสุด
น�้ำหนักสูงสุดที่รับได้ : 10 กิโลกรัม (22.0 ปอนด์)
อย่าเก็บสิ่งของใดๆ ซึ่งติดไฟได้ง่ายหรือสิ่งของที่อาจจะเกิด
ความเสียหายเนื่องจากความร้อนไว้ในช่องเก็บของนี้
อย่าเก็บของมีค่าหรือสิ่งของที่แตกหักเสียหายง่ายไว้ในช่อง
เก็บของนี้
54
ช่องเก็บของส่วนหน้า การเปิด
กดตรงบริเวณร่องเว้าที่ฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า จาก
นั้นเปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้าออก

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
การปิด
ปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้าโดยการกดบริเวณร่อง
เว้าที่ฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า

น�้ำหนักสัมภาระที่รับได้สูงสุดในช่องเก็บของส่วนหน้า
ฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า จะต้องไม่เกินค่าต่อไปนี้ :
1 กิโลกรัม (2.2 ปอนด์)
ต้องแน่ใจว่าได้ปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้าแน่นสนิท
แล้ว
อย่าเก็บของมีค่าหรือสิ่งของที่แตกหักเสียหายง่ายไว้
ในช่องเก็บของนี้

55
เพื่อป้องกันแบตเตอรี่ไฟหมดหรือมีไฟอ่อน ให้ติด
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ (ต่อ) เครื่องยนต์ไว้ในขณะที่มีการดึงกระแสไฟจากช่องเสียบ
ช่องเสียบไฟอเนกประสงค์ ไฟอเนกประสงค์ออกมาใช้
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ช่องเสียบไฟอเนกประสงค์มีอยู่ในช่องเก็บของส่วนหน้า ปรับไฟหน้าให้เป็นไฟต�่ำ เพื่อป้องกันไม่ให้แบตเตอรี่


ไฟหมดหรือเกิดความเสียหายแก่ช่องเสียบไฟอเนก-
เปิดฝาปิดเพื่อที่จะใช้งานช่องเสียบไฟอเนกประสงค์นี้ ประสงค์
กำ�ลังไฟฟ้าที่กำ�หนด คือ การเปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า : หน้า 55
12 วัตต์ (12 โวลต์, 1 แอมป์)

ฝาปิด

56
การบำ�รุงรักษา
โปรดอ่าน “ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา” และ “หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา”

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
โดยละเอียดก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ ขอให้อ้างถึง “ข้อมูลทางเทคนิค” ในส่วนของ
ข้อมูลบริการ

ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา...................... หน้า 58 น�้ำมันเครื่อง................................................... หน้า 80


ตารางการบ�ำรุงรักษา..................................... หน้า 59 น�้ำหล่อเย็น. .................................................. หน้า 84
หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา................ หน้า 62 เบรก.............................................................. หน้า 86
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ.................................... หน้า 72 ขาตั้งข้าง........................................................ หน้า 91
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง. หน้า 73 คันเร่ง............................................................ หน้า 92
แบตเตอรี่...................................................... หน้า 73 การปรับตั้งอื่นๆ............................................ หน้า 93
ฝาปิดแบตเตอรี่.............................................. หน้า 74 ระดับไฟหน้า. ............................................... หน้า 93
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ....................... หน้า 76 แบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์................... หน้า 94
หัวเทียน.......................................................... หน้า 77 การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์...... หน้า 94
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา ความปลอดภัยในการบำ�รุงรักษา
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านเป็นอย่าง อ่านคำ�แนะนำ�สำ�หรับการบำ�รุงรักษาก่อนที่ท่านจะเริ่มต้น
ดีเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งต่อความปลอดภัยของท่าน อีกทั้งยัง งานบำ�รุงรักษาแต่ละงานเสมอ และต้องแน่ใจว่าท่านมีเครื่อง
เพื่อปกป้องการลงทุนของท่านให้มีความคุ้มค่า เกิดประสิทธิ- มือ ชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆ และทักษะความชำ�นาญที่จำ�เป็น
ภาพสูงสุด หลีกเลี่ยงกรณีการเกิดรถเสียหรือชิ้นส่วนของรถ
การบำ�รุงรักษา

ทางบริษัทฯ ไม่สามารถเตือนท่านให้ระวังอันตรายทุกอย่าง
ชำ�รุดกะทันหัน และช่วยลดมลพิษทางอากาศด้วย ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการปฏิบัติการบำ�รุงรักษา ดังนั้น
การบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ถือเป็นความรับ ขอให้ท่านตัดสินใจด้วยตัวท่านเองว่าควรจะกระทำ�การบำ�รุง
ผิดชอบที่สำ�คัญของท่านเจ้าของรถ ต้องแน่ใจว่าท่านได้ทำ� รักษาที่ให้ไว้หรือไม่
การตรวจสอบรถจักรยานยนต์์ฮอนด้า A.T. ของท่านก่อนการ
ขับขี่ทุกครั้ง และนำ�รถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่กำ�หนด ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เมื่อทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ
ไว้ในตารางการบำ�รุงรักษา หน้า 59 • ดับเครื่องยนต์และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง
คำ�เตือน (Off)
• จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกันด้วยขา
การบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอย่าง
ตั้งข้าง ขาตั้งกลาง หรือขาตั้งที่ใช้ในงานบริการเพื่อที่จะตั้ง
ไม่ถูกต้องเหมาะสม หรือการละเลยในการแก้ไขปัญหา
รถให้มั่นคง
ก่อนการขับขี่ อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถ
• ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณห-
ล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
ภูมิสูงต่างๆ เย็นลงก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ เนื่องจาก
ท่านอาจได้รับบาดเจ็บจากความร้อนหรือการเผาไหม้ได้
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการตรวจสอบและการบ�ำรุงรักษา
• ติดเครื่องยนต์เมื่อได้รับการแนะนำ�ไว้เท่านั้น และกระทำ�
และตารางการบ�ำรุงรักษาในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้เสมอ
เช่นนั้นเมื่ออยู่ในที่ที่มีการระบายอากาศที่ดี
58
ตารางการบำ�รุงรักษา
ตารางการบำ�รุงรักษาจะระบุถึงรายการบำ�รุงรักษาที่จำ�เป็น การบำ�รุงรักษาตามระยะเวลาที่กำ�หนดไว้ทั้งหมดจะถือ
เพิื่อรับรองว่ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านมี เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการตามปกติที่เจ้าของรถ
ความปลอดภัยในการขับขี่ มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ และ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และจะถูกเรียกเก็บค่าดำ�เนินการ
มีการควบคุมไอเสียที่เหมาะสม ดังกล่าวจากศูนย์บริการฮอนด้า กรุณาเก็บรักษาใบเสร็จ

การบำ�รุงรักษา
งานบำ�รุงรักษาควรกระทำ�ตามมาตรฐานของฮอนด้าและ ทุกใบไว้
ข้อมูลทางเทคนิค โดยช่างเทคนิคที่ได้รับการฝึกอบรม หากท่านขายรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. นี้ ท่านควร
อย่างถูกต้องและมีเครื่องมือครบครัน ซึ่งศูนย์บริการฮอนด้า จะส่งมอบใบเสร็จเหล่านี้ให้แก่เจ้าของรถคนใหม่พร้อม
มีคุณสมบัติตรงตามข้อกำ�หนดดังกล่าวทั้งหมดข้างต้น กับรถ
จดบันทึกประวัติการบำ�รุงรักษาอย่างถูกต้องและแม่นยำ� ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ทำ�การทดสอบการขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ
ท่านจะได้รับการบำ�รุงรักษาอย่างเหมาะสม ท่านหลังจากได้ทำ�การบำ�รุงรักษาแต่ละรายการแล้ว
ต้องแน่ใจว่าช่างเทคนิคผู้ซึ่งได้ทำ�การบำ�รุงรักษารถจักร-
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้แก่ท่านได้ลงบันทึกประวัติการ
บำ�รุงรักษาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว

59
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 6 12 18 24 30 36 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า
หน้า 62 x 1,000 ไมล์ 0.6 4 8 12 16 20 24 ประจำ�ปี กำ�หนด
สายน�้ำมันเชื้อเพลิง I I I I I I I -
ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง I -
การท�ำงานของคันเร่ง I I I I I I I I 92
การบำ�รุงรักษา

ไส้กรองอากาศ *2 R R 71
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ *3 76
หัวเทียน R R R 77
ระยะห่างวาล์ว I I I I I I -
น�้ำมันเครื่อง I R R R R R R R R 81
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง 81
รอบเดินเบา I I I I I I I I -
น�้ำหล่อเย็น *4 I I I I I 3 ปี 84
ระบบระบายความร้อน I I I I -

ระดับของการบำ�รุงรักษา คำ�อธิบายสัญลักษณ์เพื่อการบำ�รุงรักษา
: ทักษะระดับกลาง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้ารับบริการที่ I : ตรวจเช็ค (ทำ�ความสะอาด ปรับตั้ง หล่อลื่น หรือเปลี่ยนใหม่ถ้าจำ�เป็น)
ศูนย์บริการฮอนด้า นอกเสียจากท่านจะมีเครื่องมือที่จำ�เป็นและมีฝีมือทาง
ช่างด้วย R : เปลี่ยน
ขั้นตอนการบำ�รุงรักษาต่างๆ มีอยู่ในคู่มือการซ่อมของฮอนด้า : ทำ�ความสะอาด
: ทักษะด้านเทคนิคที่สูงขึ้น เพื่อความปลอดภัย ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้า
รับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้าเท่านั้น

60
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 6 12 18 24 30 36 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า
หน้า 62 x 1,000 ไมล์ 0.6 4 8 12 16 20 24 ประจำ�ปี กำ�หนด
สายพานขับเคลื่อน I R I -
น�้ำมันเฟืองท้าย *4 2 ปี -
แบตเตอรี่ I I I I I I I 73

การบำ�รุงรักษา
น�้ำมันเบรก *4 I I I I I I I I 2 ปี 86
การสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก/ผ้าเบรก I I I I I I I I 87, 90
ระบบเบรก I I I I I I I I I 62
ไฟหน้า I I I I I I I 93
ไฟแสงสว่าง/แตร I -
การสึกหรอของผ้าคลัทช์ I I I -
ขาตั้งข้าง I I I I I I I I 91
ระบบกันสะเทือน I I I I I I I -
น๊อต โบ้ลท์ และสกรู I I I I I -
ล้อ/ยาง I I I I I I I I 68
ลููกปืนคอ I I I I -
หมายเหตุ :
*1 : กรณีที่ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์มีระยะทางเกินกว่า 36,000 กม. ให้ทำ�การบำ�รุงรักษาต่อไปทุกๆ 6,000 กม. โดยเริ่มดูรายการบำ�รุงรักษาตาม
คู่มือตรงช่อง 6,000 กม., 12,000 กม., 18,000 กม., 24,000 กม., 30,000 กม., และ 36,000 กม. ตามลำ�ดับ
*2 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่เปียกหรือมีฝุ่นมาก
*3 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่ฝนตกหรือการใช้งานหนัก
*4 : เปลี่ยนโดยช่างผู้ชำ�นาญ
61
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่ • ระดับน�้ำหล่อเย็น - เติมน�้ำหล่อเย็นถ้าจ�ำเป็น เช็คการ
เพื่อให้มั่นใจในความปลอดภัยถือเป็นความรับผิดชอบ รั่วซึม หน้า 84
ของท่านในการท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่และต้อง • เบรก - เช็คการท�ำงาน :
แน่ใจว่าปัญหาใดๆ เกี่ยวกับรถของท่านที่ตรวจพบนั้น เบรกหน้า : ตรวจสอบระดับน�้ำมันเบรกและการสึก-
ได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว การตรวจเช็คก่อนการขับ หรอของผ้าดิสก์เบรก หน้า 86, 87
การบำ�รุงรักษา

คอมบายเบรก : ตรวจสอบระดับน�้ำมันเบรก หน้า 86


ขี่นั้นถือเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำ เพราะไม่เพียงแต่เพื่อให้ เบรกหลัง : ตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรกและ
เกิดความปลอดภัยเท่านั้น แต่เป็นเพราะการที่มีชิ้นส่วน ระยะฟรี ปรับตั้งถ้าจ�ำเป็น หน้า 87, 90
ของรถเสียหายกะทันหันหรือแม้กระทั่งยางแบน ก็อาจ • อุปกรณ์ไฟแสงสว่างและแตร - ตรวจสอบการท�ำงาน
เป็นสิ่งที่น�ำความยากล�ำบากมาให้แก่ท่านอย่างยิ่งใน ของไฟแสงสว่าง สัญญาณไฟต่างๆ และแตรว่าเป็น
ระหว่างการขับขี่ ไปอย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ก่อนที่ท่านจะขับขี่รถจักร- • ระบบตัดการท�ำงานของเครื่องยนต์โดยขาตั้งข้าง -
ตรวจสอบการท�ำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. : หรือไม่ หน้า 91
• ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง - เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงเมื่อจ�ำเป็น • ล้อและยาง - ตรวจเช็คสภาพและแรงดันลมยาง หน้า
หน้า 51 68
• คันเร่ง - ตรวจสอบการท�ำงานตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงบิด
สุดในสภาพมุมเลี้ยวต่างๆ หน้า 92
• ระดับน�้ำมันเครื่อง - เติมน�้ำมันเครื่องถ้าจ�ำเป็น เช็ค
การรั่วซึม หน้า 80
62
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
การเปลี่ยนชิ้นส่วนต่างๆ คำ�เตือน
ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่เทียบเท่า การประกอบชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจท�ำ
เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความ ให้รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอยู่ใน
น่าเชื่อถือและปลอดภัย สภาพไม่ปลอดภัยได้ และอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ

การบำ�รุงรักษา
เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บ
สาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่
เทียบเท่าซึ่งได้รับการออกแบบและรับรองคุณ-
ภาพว่าเหมาะสมกับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ของท่าน

63
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
แบตเตอรี่ คำ�เตือน
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านใช้แบตเตอรี่แบบ แก๊สที่ระเหยจากแบตเตอรี่เป็นแก๊สไฮโดรเจนซึ่ง
ไม่ต้องบ�ำรุงรักษา ท่านไม่ต้องตรวจเช็คระดับน�้ำยาแบต- ท�ำให้เกิดระเบิดได้ระหว่างการปฏิบัติงานตามปกติ
เตอรี่หรือไม่ต้องเติมน�้ำกลั่นลงไป ท�ำความสะอาดขั้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟเพราะแก๊ส
การบำ�รุงรักษา

แบตเตอรี่ถ้าสกปรกหรือมีสนิมขึ้น ที่ระเหยจากแบตเตอรี่สามารถท�ำให้เกิดระเบิดได้
อย่าถอดซีลของฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก การชาร์จแบต- ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
เตอรี่ไม่จ�ำเป็นต้องถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก
สวมเสื้อผ้าและหน้ากากป้องกัน หรือเข้ารับบริการ
ข้อสังเกต จากช่างที่มีความช�ำนาญในการบ�ำรุงรักษาแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ของท่านเป็นแบบไม่ต้องบ�ำรุงรักษา และ
อาจได้รับความเสียหายได้ถ้าซีลของฝาปิดช่องเติม การทำ�ความสะอาดขั้วแบตเตอรี่
น�้ำยาถูกถอดออกมา 1. ถอดแบตเตอรี่ออก หน้า 73
2. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ก�ำลังเริ่มที่จะถูกกัดกร่อนและมีคราบ
สีขาวๆ หรือคราบซัลเฟตเกาะอยู่ ให้ล้างออกโดยใช้
น�้ำอุ่นและเช็ดให้สะอาด

64
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
3. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ถูกกัดกร่อนมากหรือมีคราบสีขาวๆ เกาะ ฟิวส์
อยู่มาก ให้ทำ�ความสะอาดและขัดขั้วแบตเตอรี่ด้วยแปรง ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันวงจรไฟฟ้าภายในรถจักรยานยนต์
ลวดหรือกระดาษทราย ควรสวมแว่นตานิรภัยเพื่อความ
ปลอดภัยของท่าน ฮอนด้า A.T. ของท่าน ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆ ในรถหยุดการ
ทำ�งาน ให้ตรวจเช็คและเปลี่ยนฟิวส์ใดๆ ที่ขาด หน้า 116

การบำ�รุงรักษา
การตรวจสอบและการเปลี่ยนฟิวส์
หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่งปิด เพื่อที่จะถอดและตรวจ
สอบฟิวส์ ถ้าฟิวส์ขาดให้เปลี่ยนใหม่โดยใช้ฟิวส์ที่มีขนาด
4. หลังจากทำ�ความสะอาด ให้ประกอบแบตเตอรี่กลับเข้าที่ เดียวกับฟิวส์เดิม สำ�หรับขนาดของฟิวส์ให้ดูได้จาก “ข้อมูล
ทางเทคนิค” หน้า 134
แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานจำ�กัด ดังนั้นท่านควรปรึกษากับ
ทางศูนย์บริการฮอนด้าว่าเมื่อไรที่ท่านควรจะต้องเปลี่ยน ฟิวส์ขาด
แบตเตอรี่ใหม่ และควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ลูกใหม่ด้วยแบต-
เตอรี่แบบไม่ต้องบำ�รุงรักษาชนิดเดียวกัน
ข้อสังเกต
การประกอบอุปกรณ์เสริมระบบไฟฟ้าที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจ
ข้อสังเกต
ท�ำให้ระบบไฟฟ้าท�ำงานเกินก�ำลัง ท�ำให้แบตเตอรี่จ่ายกระแส
ไฟออกจนหมด และอาจเป็นไปได้ว่าจะท�ำให้ระบบไฟฟ้าได้ การเปลี่ยนฟิวส์โดยใช้ฟิวส์ที่มีเบอร์สูงกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนด
รับความเสียหายได้ จะยิ่งเพิ่มโอกาสของความเสียหายที่จะเกิดแก่ระบบไฟฟ้า
65
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าวงจรไฟฟ้าภายในรถจักรยาน- *1.
มาตรฐาน JASO T 903 เป็นดัชนีส�ำหรับน�้ำมันเครื่องส�ำหรับ
ยนต์ของท่านเกิดบกพร่อง ดังนั้นควรน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า เครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ โดยแบ่งน�้ำมันเครื่อง
A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า ออกเป็น 2 ประเภทคือ MA และ MB ยกตัวอย่างเช่น ป้าย
น�้ำมันเครื่อง ต่อไปนี้แสดงน�้ำมันประเภท MB
การบำ�รุงรักษา

อัตราการสิ้นเปลืองของน�้ำมันเครื่องจะแตกต่างกันและคุณภาพ รหัสน�้ำมัน
ของน�้ำมันเครื่องจะเสื่อมไปตามสภาพการขับขี่และระยะเวลา ประเภทของน�้ำมัน
ในการใช้งาน
ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องเป็นประจ�ำและเติมน�้ำมันเครื่องที่
แนะน�ำถ้าจ�ำเป็น น�้ำมันเครื่องที่สกปรกหรือเก่าควรจะเปลี่ยน
*2.
มาตรฐาน SAE แบ่งเกรดของน�้ำมันเครื่องตามความหนืด
ใหม่ทันทีที่เป็นไปได้
*3.
การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API จะระบุ
การเลือกใช้น�้ำมันเครื่อง ถึงคุณภาพและสมรรถนะของน�้ำมันเครื่อง ขอให้ใช้น�้ำมัน
ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” ใน เครื่องซึ่งมีระดับสมรรถนะ SG หรือสูงกว่า โดยไม่รวมถึง
หน้า 133 น�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอันได้แก่ “Energy
ถ้าท่านใช้น�้ำมันเครื่องที่ไม่ใช่ของฮอนด้า ให้ตรวจสอบป้ายที่ข้าง Conserving” หรือ “Resource Conserving” ปรากฏอยู่
ภาชนะบรรจุน�้ำมัน เพื่อให้แน่ใจว่าน�้ำมันเครื่องนั้นมีคุณสมบัติ ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน API บริเวณครึ่งวงกลมส่วนล่าง
ตรงตามมาตรฐานทั้งหมดดังต่อไปนี้ :
•มาตรฐาน JASO T 903*1 : MB
•มาตรฐาน SAE*2 : 10W-30
•การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API*3 : SG หรือ
สูงกว่า ไม่แนะน�ำให้ใช้ แนะน�ำให้ใช้
66
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
น�้ำมันเบรก น�้ำหล่อเย็นที่แนะน�ำ
อย่าเติมหรือเปลี่ยนน�้ำมันเบรกยกเว้นในกรณีฉุกเฉิน ขอให้ ใช้น�้ำหล่อเย็นแท้แบบผสมแล้วของฮอนด้าเท่านั้น โดยไม่
ใช้น�้ำมันเบรกใหม่ที่บรรจุอยู่ในภาชนะที่ปิดมิดชิดเท่านั้น ถ้า ต้องเอาน�้ำเจือลงไป
ท่านได้เติมน�้ำมันเบรกเข้าไป ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ น�้ำหล่อเย็นแท้แบบผสมแล้วของฮอนด้านี้มีคุณสมบัติดีเด่น
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คระบบเบรกโดยศูนย์บริการ ในการป้องกันสนิมภายในเครื่องยนต์ และป้องกันไม่ให้

การบำ�รุงรักษา
ฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้ เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป
ควรตรวจสอบและเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็นอย่างเหมาะสมโดย
ข้อสังเกต ปฏิบัติตามตารางการบ�ำรุงรักษา หน้า 60
น�้ำมันเบรกอาจท�ำให้เกิดความเสียหายกับพื้นผิวพลาสติก ข้อสังเกต
และพื้นผิวที่มีการทาสีได้ การใช้น�้ำหล่อเย็นที่ไม่ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อใช้กับชิ้น-
เช็ดน�้ำมันเบรกที่หกออกให้หมดโดยทันทีและล้างด้วยน�้ำ ส่วนของเครื่องยนต์ที่เป็นอลูมิเนียม หรือการใช้น�้ำประปาธรรมดา
ให้สะอาด หรือน�้ำแร่อาจท�ำให้เกิดสนิมได้
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
น�้ำมันเบรกที่แนะน�ำ : ควรรับบริการให้บ่อยขึ้นเมื่อขับขี่ในขณะฝนตก ขับขี่ด้วย
น�้ำมันเบรกฮอนด้า DOT 3 หรือ DOT 4 หรือ ความเร็วสูง หรือหลังจากล้างรถหรือรถล้ม ควรรับบริการเมื่อ
เทียบเท่า ระดับเขม่าสะสมในท่อระบายมีมากจนสามารถมองเห็นได้
อย่างชัดเจน
ถ้าท่อระบายเรือนเครื่องยนต์มีน�้ำมันเครื่องล้นออกมา ไส้กรอง
อากาศอาจปนเปื้อนไปด้วยน�้ำมันเครื่องซึ่งจะท�ำให้ประสิทธิ-
ภาพในการท�ำงานของเครื่องยนต์ต�่ำ หน้า 76
67
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
ยาง (การตรวจสอบ/การเปลี่ยน) การตรวจสอบการสึกหรอผิดปกติ
การตรวจเช็คแรงดันลมยาง ตรวจสอบสภาพของยางว่ามีอาการ
ตรวจสอบสภาพของยางด้วยสายตาและใช้เกจวัดแรง สึกหรอผิดปกติที่บริเวณหน้ายางที่
ดันลมยางเพื่อวัดแรงดันลมยางอย่างน้อยที่สุดเดือนละ สัมผัสพื้นผิวถนนหรือไม่
การบำ�รุงรักษา

ครั้งหรือเมื่อใดก็ตามที่ท่านเห็นว่ายางอ่อน ตรวจเช็ค
แรงดันลมยางเสมอในขณะที่ยางเย็น
การตรวจสอบความเสียหาย
ตรวจสอบยางว่ามีรอยฉีกขาด
รอยแยก หรือรอยแตก จนสามารถ
มองเห็นโครงสร้างของชั้นผ้าใบ
หรือเส้นลวด หรือมีตะปูหรือวัตถุ
แปลกปลอมอื่นๆ ติดฝังในด้าน
ข้างของยางหรือดอกยางหรือไม่
ตรวจสอบดูด้วยว่ายางมีรอยบวมหรือส่วนที่นูนออกมา
จากบริเวณแก้มยางหรือไม่

68
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา

การตรวจสอบความสึกของดอกยาง คำ�เตือน
ตรวจสอบต�ำแหน่งความสึกของดอกยาง ถ้าสามารถ การขับขี่รถจักรยานยนต์ที่มีสภาพยางสึกหรอ
มองเห็นได้ชัดเจนให้เปลี่ยนยางใหม่ทันที มากหรือเติมลมยางไม่เหมาะสม อาจก่อให้เกิด
เพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัย ท่านควรเปลี่ยนยางใหม่เมื่อถึง อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจ

การบำ�รุงรักษา
ค่าความสึกของดอกยางต�่ำสุด ได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำทั้งหมดในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้
เกี่ยวกับการเติมลมยางและการบ�ำรุงรักษายาง

จุดสังเกตความสึกของดอกยาง

69
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริ- คำ�เตือน
การเปลี่ยนยางโดยศูนย์บริการฮอนด้า ส�ำหรับยางที่แนะน�ำ การประกอบยางที่ไม่เหมาะสมเข้ากับรถจักรยานยนต์
แรงดันลมยาง และค่าความสึกของดอกยางต�่ำสุด ให้ดูได้ ฮอนด้า A.T. ของท่าน อาจมีผลเสียต่อการบังคับรถ
จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” หน้า 133 และการทรงตัวของรถได้ และสิ่งนี้เองอาจก่อให้เกิด
เมื่อใดก็ตามที่ท่านเปลี่ยนยางให้ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำดังต่อ
การบำ�รุงรักษา

อุบัติเหตุเช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับ


ไปนี้
บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
• ใช้ยางที่แนะน�ำหรือยางเทียบเท่า ซึ่งมีขนาดยาง โครงสร้าง
ของยาง อัตราความเร็วสูงสุดที่ยางรับได้ และความสามารถ
ใช้ยางให้ถูกต้องตามชนิดและขนาดของยางตามที่
ในการรับน�้ำหนักเหมือนกับยางดั้งเดิมของท่าน
ได้แนะน�ำไว้ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้เสมอ
• อย่าใส่ยางในเข้าในยางชนิดไม่มียางในของรถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้ เพราะเมื่อมีความร้อนจัดอาจเป็นเหตุ
ให้ยางในเกิดการระเบิดได้
• ใช้ยางชนิดไม่มียางในกับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่น
นี้เท่านั้น เนื่องจากขอบล้อได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้กับ
ยางชนิดไม่มียางใน และในระหว่างการเร่งความเร็วหรือ
การเบรกอย่างกะทันหัน ยางชนิดมียางในอาจหลุดออก
จากขอบล้อและเป็นเหตุให้ยางแฟบลงอย่างรวดเร็ว

70
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
ไส้กรองอากาศ
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้มีไส้กรองอากาศเป็น
แบบกระดาษเปียก
การทำ�ความสะอาดโดยการใช้ลมเป่าหรือการทำ�ความ
สะอาดด้วยวิธีการอื่นใด จะทำ�ให้ประสิทธิภาพของไส้-

การบำ�รุงรักษา
กรองอากาศแบบกระดาษเปียกลดลง และทำ�ให้มีฝุ่น
เข้าไปด้านในได้
อย่าทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ กับไส้กรองอากาศ
การบริการไส้กรองอากาศควรกระทำ�โดยศููนย์บริการ
ฮอนด้า

71
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ
ชุดเครื่องมือประจำ�รถจัดเก็บอยู่ในช่องเก็บของอเนก
ประสงค์ หน้า 54
ท่านสามารถซ่อมรถระหว่างทาง ปรับตั้งเล็กๆ น้อยๆ
และเปลี่ยนชิ้นส่วนได้โดยใช้เครื่องมือที่อยู่ในชุดเครื่อง-
มือนี้
การบำ�รุงรักษา

• ประแจขันหัวเทียน
• ประแจปากตาย 10 x 14 มม.
• ไขควงแบน/ไขควงแฉก
• ด้ามไขควง
• สายคล้องหมวกกันน็อก
•ตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน

72
ชุการถอดและการประกอบส่
ดเครื่องมือประจำ�รถ วนประกอบตัวถัง
แบตเตอรี่ 4. ปลดขั้วบวก + แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่
5. ดึงแบตเตอรี่ออก และระวังอย่าทำ�น๊อตยึดขั้วสาย
ขั้วบวก + แบตเตอรี่ สายรัดแบตเตอรี่ หล่น
การประกอบ

การบำ�รุงรักษา
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
ต่อขั้วบวก + แบตเตอรี่ก่อนเสมอ ต้องแน่ใจว่าโบ้ลท์
และน๊อตต่างๆ ขันแน่นอยู่
ต้องแน่ใจว่าได้ตั้งนาฬิกาไปยังเวลาที่เหมาะสมเรียบร้อย
แล้ว หลังจากที่ได้ต่อขั้วของแบตเตอรี่กลับเข้าไปใหม่
แบตเตอรี่ ขั้วลบ - แบตเตอรี่
แล้ว หน้า 19
ระบบสัญญาณกันขโมยจะถูกยกเลิกการทำ�งานถ้าถอด
การถอด ขั้วสายของแบตเตอรี่ออก และระบบจะยังคงไม่ทำ�งาน
ต้องแน่ใจว่าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่งปิด แม้ว่าจะได้ต่อขั้วสายของแบตเตอรี่กลับเข้าที่แล้วก็ตาม
1. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 74 การตั้งค่าระบบใหม่ ให้ดู “การตั้งค่าระบบสัญญาณกัน
2. ปลดสายรัดแบตเตอรี่ออก ขโมย” หน้า 25
3. ปลดขั้วลบ - แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่ สำ�หรับการจัดการกับแบตเตอรี่ที่เหมาะสม ให้ดูได้จาก
“หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษาแบตเตอรี่” หน้า 64
“แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ” ดูหน้า 113
73
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ฝาปิดแบตเตอรี่

ฝาปิดแบตเตอรี่ การถอด
1. เปิดเบาะนั่งขึ้น หน้า 52
2. กดเขี้ยวล๊อคและถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก
การบำ�รุงรักษา

การประกอบ
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ
เขี้ยวล๊อค
ถอด

ฝาปิดแบตเตอรี่

74
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน

ฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน
การถอด
ดึงฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉินออกไปทาง
ด้านหลังในขณะที่กดด้านข้างของฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะ

การบำ�รุงรักษา
นั่งในกรณีฉุกเฉินลง ฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่ง
ในกรณีฉุกเฉิน

การประกอบ
ประกอบฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉินโดยทำ� ฝาปิดสวิทช์เปิด
ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด เบาะนั่งในกรณี
ต้องแน่ใจว่าเขี้ยวล๊อคทั้งหมดของฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะ ฉุกเฉิน
นั่งในกรณีฉุกเฉินได้ประกอบเข้าที่อย่างแน่นหนา
เรียบร้อยแล้ว

75
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
การทำ�ความสะอาดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
1. วางภาชนะที่เหมาะสมไว้ใต้ท่อระบายเรือนไส้กรอง
อากาศ
การบำ�รุงรักษา

2. ถอดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศออกและเทเขม่า
สะสมออก
3. ประกอบท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศกลับเข้าที่
ท่อระบายเรือน
ไส้กรองอากาศ

76
หัวเทียน
การเปลี่ยนหัวเทียน
แผ่นยางรองเท้า
สำ�หรับหัวเทียนที่แนะนำ� ให้ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค”
หน้า 133
ใช้หัวเทียนชนิดที่แนะนำ�ไว้เท่านั้นซึ่งมีเบอร์หัวเทียนตาม สกรู

การบำ�รุงรักษา
ที่ได้แนะนำ�ไว้

ข้อสังเกต
การใช้หัวเทียนผิดเบอร์อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่
เครื่องยนต์ได้
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งข้างบนพื้น
ที่มีระดับเสมอกัน
2. ดึงแผ่นยางรองเท้าออก ฝาปิดช่องบ�ำรุง
3. ถอดสกรูออก รักษาหัวเทียน

4. ถอดฝาปิดช่องบำ�รุงรักษาหัวเทียนออกโดยสอดปลาย ร่อง
ของไขควงแบนซึ่งหุ้มไว้ด้วยเศษผ้าเข้าไปในร่องตรง
ที่วางเท้า เศษผ้า

77
หัวเทียน การเปลี่ยนหัวเทียน
5. ปลดปลั๊กหัวเทียนออกจากหัวเทียน 8. ประกอบหัวเทียนอันใหม่ ใส่หัวเทียนเข้ากับฝาสูบโดย
6. ทำ�ความสะอาดเอาสิ่งสกปรกออกจากรอบๆ ฐานหัวเทียน ใช้มือหมุนนำ�เข้าไปก่อนให้สุดเกลียวเพื่อป้องกันเกลียว
7. ถอดหัวเทียนออกด้วยประแจขันหัวเทียนที่อยู่ในชุด หัวเทียนเสียหาย
เครื่องมือประจำ�รถ 9. ขันหัวเทียน :
การบำ�รุงรักษา

• ประกอบหัวเทียนอันใหม่ ให้ขันหัวเทียน 2 ครั้งเพื่อ


ประแจขันหัวเทียน ป้องกันการคลาย :
ก) ในครั้งแรก, ให้ขันหัวเทียน :
1/2 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
ข) จากนั้นให้คลายหัวเทียนออก
ค) ขันหัวเทียนอีกครั้ง :
1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว

ข้อสังเกต
ปลั๊กหัวเทียน
การขันหัวเทียนอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจท�ำให้เครื่อง-
ยนต์เสียหายได้ ถ้าหัวเทียนหลวมเกินไปลูกสูบอาจได้รับ
ความเสียหายได้ และถ้าหากหัวเทียนแน่นเกินไป เกลียว
ของหัวเทียนอาจได้รับความเสียหายได้

78
หัวเทียน การเปลี่ยนหัวเทียน

10. ประกอบปลั๊กหัวเทียนเข้ากับหัวเทียน ระวังอย่าทำ�


ให้สายเคเบิลหรือสายไฟใดๆ บิดงอ
11. ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ
ถอด

การบำ�รุงรักษา
79
น�้ำมันเครื่อง
การตรวจเช็คน�้ำมันเครื่อง
ตรวจเช็คน�้ำมันเครื่องในขณะที่สวิทช์หยุดการท�ำงาน ขีดบอกระดับสูงสุด
ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่ต�ำแหน่ง IDLING
1. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็น
การบำ�รุงรักษา

เวลา 3-5 นาที


2. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (Off) และรอ
เป็นเวลา 2-3 นาที ขีดบอกระดับต�่ำสุด
3. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบน
พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
4. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก เช็ดน�้ำมัน
ออกจากก้านวัด
5. ใส่ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่แต่
ยังไม่ต้องขันเกลียว
6. ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องว่าอยู่ระหว่างขีดบอก
ระดับสูงสุดและขีดบอกระดับต�่ำสุดบนฝาปิดช่องเติม
น�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดหรือไม่
7. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้า
ที่เดิมให้แน่นหนา
80
น�้ำมันเครื่อง การเติมน�้ำมันเครื่อง
การเติมน�้ำมันเครื่อง ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำและค�ำแนะน�ำในการเลือกใช้
ถ้าหากระดับน�้ำมันเครื่องอยู่ต�่ำกว่าหรือใกล้ถึงขีดบอกระดับ น�้ำมันเครื่อง ให้ดูได้จาก “หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา”
ต�่ำสุด ให้เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ หน้า 66, 133 หน้า 66
1. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก เติมน�้ำมัน
เครื่องที่แนะน�ำจนกระทั่งถึงขีดบอกระดับสูงสุด การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาด

การบำ�รุงรักษา
ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบนพื้น ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
ที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกันเมื่อท�ำการตรวจ
เช็คระดับน�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาดตะแกรงกรอง
อย่าเติมน�้ำมันเครื่องจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูงสุด น�้ำมันเครื่องจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือพิเศษ ทางบริษัทฯ ขอ
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่องเติม แนะน�ำให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป
น�้ำมันเครื่อง เข้ารับบริการโดยศูนย์บริการฮอนด้า
เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที
2. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่เดิม เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องในขณะที่สวิทช์หยุดการท�ำงานของเครื่อง-
ให้แน่นหนา ยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่ต�ำแหน่ง IDLING
ข้อสังเกต 1. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็นเวลา
การเติมน�้ำมันเครื่องจนล้นหรือติดเครื่องยนต์ในขณะที่มีน�้ำมัน 3-5 นาที
เครื่องไม่เพียงพออาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องยนต์ของ 2. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (Off) และรอเป็น
ท่านได้ อย่าน�ำน�้ำมันเครื่องต่างยี่ห้อและต่างเกรดมาผสมกัน เวลา 2-3 นาที
เพราะอาจมีผลกระทบต่อการหล่อลื่นของคลัทช์ได้
81
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
3. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่
แหวนรองกันรั่ว
มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
4. วางถาดรองรับน�้ำมันไว้ใต้โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องและฝา
ปิดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
5. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมัน
การบำ�รุงรักษา

เครื่อง และแหวนรองกันรั่วออกเพื่อที่จะถ่ายน�้ำมันเครื่อง
6. ถอดฝาปิดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง โอริง สปริง และ
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่องออกและปล่อยให้น�้ำมันเครื่อง
ที่ตกค้างอยู่ไหลออกมาจนหมด โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง
น�ำน�้ำมันเครื่องไปก�ำจัดที่ศูนย์รีไซเคิลที่ได้รับการรับรอง
ฝาปิดตะแกรง
7. ท�ำความสะอาดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง กรองน�้ำมันเครื่อง
8. ตรวจสอบตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่องและยางรองกันรั่วว่า สปริง
อยู่ในสภาพดีหรือไม่
9. เปลี่ยนโอริงใหม่และทาน�้ำมันเครื่องบางๆ ที่โอริงอันใหม่
ก่อนที่จะประกอบโอริงเข้าที่
10. ประกอบตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง สปริง และฝาปิด
โอริง
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง และขันให้แน่น
อัตราการขันแน่น : ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
20 นิวตัน-เมตร (2.0 กก.-ม., 15 ฟุต-ปอนด์)
82
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง

11. ประกอบแหวนรองกันรั่วอันใหม่เข้ากับโบ้ลท์ถ่าย
น�้ำมันเครื่อง ขันโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องให้แน่น
อัตราการขันแน่น :
24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)

การบำ�รุงรักษา
12. เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ (หน้า 66, 133) และ
ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
น�้ำมันเครื่องที่ก�ำหนด
เมื่อเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและท�ำความสะอาดตะแกรง
กรองน�้ำมันเครื่อง : 0.9 ลิตร
เมื่อเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องเท่านั้น : 0.8 ลิตร

13. ตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่อง หน้า 80


14. ตรวจสอบดูว่าไม่มีน�้ำมันเครื่องรั่วซึม

83
น�้ำหล่อเย็น
การตรวจเช็คน�้ำหล่อเย็น ถ้าหากระดับน�้ำหล่อเย็นลดต�่ำลงอย่างเห็นได้ชัดหรือ
ไม่มีน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรอง เป็นไปได้ว่าท่านอาจ
ตรวจสอบระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรองในขณะที่
จะก�ำลังมีปัญหาการรั่วซึมอย่างมากในระบบหล่อเย็น
เครื่องยนต์เย็น
ดังนั้นขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบน
การบำ�รุงรักษา

ไปเข้ารับการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรองว่าอยู่ระหว่าง
ขีดบอกระดับสูง (UPPER) และขีดบอกระดับต�่ำ การเติมน�้ำหล่อเย็น
(LOWER) ในถังน�้ำส�ำรองหรือไม่ ถ้าหากระดับน�้ำหล่อเย็นอยู่ในระดับต�่ำกว่าขีดบอกระดับ
ต�่ำ (LOWER) ให้เติมน�้ำหล่อเย็นที่แนะน�ำ (หน้า 67)
ขีดบอกระดับสูง (UPPER) จนระดับน�้ำหล่อเย็นถึงขีดบอกระดับสูง (UPPER)
เติมน�้ำหล่อเย็นเข้าทางฝาปิดถังน�้ำส�ำรองเท่านั้น และ
ไม่ต้องถอดฝาปิดหม้อน�้ำออก
1. ดึงแผ่นยางรองเท้าออก
2. ถอดแผ่นปิดถังน�้ำส�ำรองออกโดยสอดปลายของไข-
ควงแบนซึ่งหุ้มไว้ด้วยเศษผ้าเข้าไปในร่องตรงที่วาง
ขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER) ถังน�้ำส�ำรอง
เท้าด้านขวา
84
น�้ำหล่อเย็น การเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็น
3. ถอดฝาปิดถังน�้ำส�ำรองออกและเติมน�้ำหล่อเย็นใน
แผ่นยางรองเท้า
ขณะที่คอยสังเกตดูระดับน�้ำหล่อเย็นด้วย
อย่าเติมน�้ำหล่อเย็นจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูง
(UPPER) แผ่นปิดถังน�้ำส�ำรอง
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่อง เศษผ้า

การบำ�รุงรักษา
เติมน�้ำหล่อเย็นของถังน�้ำส�ำรอง
4. ประกอบฝาปิดถังน�้ำส�ำรองกลับเข้าที่เดิมให้แน่นหนา
5. ประกอบแผ่นปิดถังน�้ำส�ำรองและแผ่นยางรองเท้า
คำ�เตือน
ฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง ร่อง
การถอดฝาปิดหม้อน�้ำในขณะที่เครื่องยนต์ก�ำลัง
ร้อนอยู่อาจเป็นเหตุให้ท่านได้รับอันตรายจาก
การเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็น
ไอน�้ำที่พุ่งออกมา
ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป
ปล่อยให้เครื่องยนต์และหม้อน�้ำเย็นลงเสมอก่อน เข้ารับบริการเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็นโดยศูนย์บริการฮอนด้า
การถอดฝาปิดหม้อน�้ำ นอกเสียจากท่านจะมีเครื่องมือที่เหมาะสมและมีฝีมือ
ทางช่าง
85
เบรก
ตรวจเช็คน�้ำมันเบรก เบรกหน้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้ตรงบนพื้นที่มั่นคง กระปุกน�้ำมันเบรกหน้า
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ตรวจเช็คว่ากระปุกน�้ำมันเบรกอยู่ในแนวขนานกับพื้นและ
การบำ�รุงรักษา

ระดับน�้ำมันเบรกอยู่ :
เบรกหน้า เหนือต�ำแหน่งขีดบอกระดับต�่ำ (LWR) หรือไม่
ขีดบอกระดับต�่ำ (LWR)
คอมบายเบรก ระหว่างขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER)
และขีดบอกระดับสูง (UPPER) หรือไม่ คอมบายเบรก
กระปุกนำ�้ มันเบรกของระบบคอมบายเบรก
ถ้าหากระดับน�้ำมันเบรกในกระปุกน�้ำมันเบรกอันใดอันหนึ่ง
อยู่ในระดับต�่ำกว่าขีดบอกระดับต�่ำ (LWR หรือ LOWER)
หรือถ้าหากระยะฟรีของคันเบรกมากเกินไป ให้ตรวจสอบการ ขีดบอกระดับสูง (UPPER)
สึกหรอของผ้าดิสก์เบรก ถ้าผ้าดิสก์เบรกยังไม่สึกหรอ เป็น
ไปได้มากที่สุดว่าท่านอาจจะก�ำลังมีปัญหาการรั่วซึมในระบบ
เบรก ดังนั้นขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER)
ท่านไปเข้ารับการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
86
เบรก การตรวจสอบผ้าดิสก์เบรกหน้า
การตรวจสอบผ้าดิสก์เบรกหน้า การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรกหลัง
ตรวจเช็คสภาพของร่องแสดงการสึกหรอของผ้าดิสก์
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลาง
เบรก
2. วัดระยะจากจุดปกติของคันเบรกหลังเคลื่อนที่ไปจน
ท่านจำ�เป็นต้องเปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่ ถ้าหากผ้าดิสก์
เบรกเริ่มท�ำงาน

การบำ�รุงรักษา
เบรกสึกหรอจนถึงร่องแสดงการสึกหรอ
ผ้าดิสก์เบรก ระยะฟรีที่ปลายของคันเบรกหลัง :
10 – 20 มม. (0.4 – 0.8 นิ้ว)

ร่องแสดงการสึกหรอ
ของผ้าดิสก์เบรก
จานดิสก์เบรก
1. ตรวจเช็คผ้าดิสก์เบรกจากด้านล่างของคาร์ลิปเปอร์
เบรก
ถ้าจ�ำเป็น ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ระยะฟรี
ท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่โดยศูนย์
บริการฮอนด้า
เปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกทั้งด้านขวาและด้านซ้ายใหม่พร้อมๆ
กันเสมอ
87
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง

ตรวจเช็คสายเบรกว่าสึกหรอหรือติดขัดหรือไม่ ถ้าจ�ำเป็น การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง


ให้เปลี่ยนสายเบรกใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า
ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลังในขณะที่จัดต�ำแหน่งของ
ท�ำการหล่อลื่นสายเบรกเพื่อป้องกันการสึกหรอเร็วกว่า
ล้อหน้าของรถให้มุ่งตรงไปข้างหน้า
ก�ำหนด
ต้องแน่ใจว่ารอยตัดของน๊อตปรับตั้งเบรกหลังลงร่อง
การบำ�รุงรักษา

ต้องแน่ใจว่าขาเบรก สปริง และตัวยึดต่างๆ อยู่ในสภาพ


บนสลักขาเบรกหลังจากปรับตั้งระยะฟรีเบรก
ที่ดี
น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง
สลักขาเบรก

หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลให้ท่านน�ำ
รถไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า

88
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง
1. ปรับตั้งโดยการหมุนน๊อตปรับตั้งเบรกหลังทีละครึ่ง 3. ดันขาเบรกหลังเข้าไปเพื่อให้แน่ใจว่ามีช่องว่างระหว่าง
รอบในแต่ละครั้งของการหมุน น๊อตปรับตั้งเบรกหลังกับสลักขาเบรก

สลักขาเบรก ขาเบรกหลัง

การบำ�รุงรักษา
ดันเข้าไป

เพิ่มระยะฟรี สลักขาเบรก

ช่องว่าง น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง
ลดระยะฟรี น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง
หลังการปรับตั้งระยะฟรี ให้ตรวจเช็คเพื่อยืนยันระยะฟรี
ของคันเบรกหลัง
2. บีบคันเบรกหลังหลายๆ ครั้ง แล้วตรวจสอบการหมุน ต้องแน่ใจว่าขาเบรก สปริง และตัวยึดต่างๆ อยู่ในสภาพ
ฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรกหลัง ที่ดี
ข้อสังเกต
อย่าหมุนน๊อตปรับตั้งเกินขีดจ�ำกัดในการปรับตั้งตามปกติ

89
เบรก การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก
การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก
เมื่อใช้เบรกลูกศรที่ติดอยู่บนขาเบรกจะเคลื่อนที่ไปที่
เบรกหลังจะประกอบด้วยเครื่องหมายแสดงระดับการ มาร์คชี้ระดับบนจานเบรก ถ้าลูกศรตรงกับมาร์คชี้ระดับ
สึกหรอของผ้าเบรก เมื่อบีบเบรกเต็มที่จ�ำเป็นจะต้องเปลี่ยนผ้าเบรกใหม่ ควร
เข้าศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อรับบริการนี้
การบำ�รุงรักษา

ลูกศร

เมื่อต้องการบริการเกี่ยวกับผ้าเบรก ควรไปรับบริการที่
ศูนย์บริการฮอนด้า และควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้า
หรือเทียบเท่า
มาร์คชี้ระดับ

ขาเบรก จานเบรก

90
ขาตั้งข้าง
การตรวจเช็คขาตั้งข้าง 4. นั่งบนรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. และยกขาตั้งข้าง
ขึ้น
5. สตาร์ทเครื่องยนต์
6. ลดขาตั้งข้างลงจนสุด เครื่องยนต์ควรจะดับเมื่อลด

การบำ�รุงรักษา
ขาตั้งข้างลง ถ้าเครื่องยนต์ไม่ดับ ขอให้ท่านนำ�รถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับการตรวจ
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
สปริงขาตั้งข้าง

1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบน


พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ตรวจเช็คว่าขาตั้งข้างทำ�งานได้อย่างราบรื่นหรือไม่
ถ้าขาตั้งข้างฝืดหรือมีเสียงดัง ให้ทำ�ความสะอาดบริ-
เวณจุดหมุนขาตั้งข้าง และหล่อลื่นโบ้ลท์ยึดจุดหมุน
ด้วยจาระบีที่สะอาด
3. เช็คความเสียหายหรือการเสียความยืดหยุ่นของสปริง
ขาตั้งข้าง
91
คันเร่ง
การตรวจเช็คคันเร่ง
ในขณะที่ดับเครื่องยนต์ ตรวจสอบว่าปลอกคันเร่งหมุน
ได้อย่างราบรื่นจากตำ�แหน่งปิดสุดถึงตำ�แหน่งเปิดสุด
และในทุกตำ�แหน่งการเลี้ยว รวมทั้งระยะฟรีคันเร่งมีค่า
การบำ�รุงรักษา

ถูกต้องหรือไม่ ถ้าคันเร่งหมุนไม่คล่องตัว ไม่คืนกลับโดย


อัตโนมัติ หรือถ้าสายคันเร่งเสียหาย ขอให้ท่านนำ�รถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
ระยะฟรีที่ริมขอบของปลอกคันเร่ง :
2 – 6 มม. (0.1 – 0.2 นิ้ว)
ระยะฟรี

ริมขอบของ
ปลอกคันเร่ง

92
การปรับตั้งอื่นๆ
การปรับตั้งระดับไฟหน้า
ท่านสามารถปรับตั้งระดับไฟหน้าในแนวดิ่งเพื่อให้ไฟ
หน้าอยู่ในระดับที่เหมาะสม หมุนเฟืองปรับตั้งไฟหน้า
โดยใช้ไขควงแฉกที่อยู่ในชุดเครื่องมือประจำ�รถ (หน้า

การบำ�รุงรักษา
72) เข้าหรือออกถ้าจำ�เป็น
ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับที่กำ�หนด

ลดต�่ำลง

เฟืองปรับตั้งไฟหน้า ยกสูงขึ้น

93
แบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์
การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์ 1. ถอดฝาปิดตัวบนออกโดยการสอดเหรียญหรือไขควง
ถ้าสัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์กะพริบ 5 ครั้ง หัวแบนที่คลุมปิดไว้ด้วยผ้าสำ�หรับป้องกันเข้าไปใน
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง (On) หรือเมื่อรัศมี รอยแยก
การเชื่อมต่อไม่คงที่ ขอให้ท่านเปลี่ยนแบตเตอรี่ทันทีที่ คลุมปิดเหรียญหรือไขควงไว้ด้วยผ้าสำ�หรับป้องกัน
การบำ�รุงรักษา

เป็นไปได้ เพื่อป้องกันไม่ให้ไปขูดขีดกับฮอนด้าสมาร์ทคีย์
อย่าสัมผัสกับวงจรหรือขั้วสาย เพราะจะทำ�ให้เกิด
ขอแนะนำ�ให้ท่านไปรับบริการเปลี่ยนแบตเตอรี่ของฮอนด้า ปัญหาต่างๆ ได้
สมาร์ทคียท์ ี่ศูนย์บริการฮอนด้า ระมัดระวังไม่ให้เกิดการขูดขีดกับแผงวงจรไฟหรือ
ไม่ทำ�ให้ฝุ่นเข้าไปด้านในได้
ชนิดของแบตเตอรี่ : CR2032 อย่าใช้กำ�ลังในการถอดส่วนประกอบของตัวเรือน
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ออก

94
แบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์ การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์

ฝาปิดตัวบน
แบตเตอรี่
ผ้าส�ำหรับ
ป้องกัน

การบำ�รุงรักษา
ฝาปิดตัวล่าง รอยแยก

2. เปลี่ยนแบตเตอรี่เก่าออก และประกอบแบตเตอรี่ใหม่
เข้าไปโดยให้ด้านขั้วลบ - อยู่ด้านบน
3. กดฝาปิดทั้งสองของฮอนด้าสมาร์ทคีย์กลับเข้าหากัน
ต้องแน่ใจว่าฝาปิดตัวบนและฝาปิดตัวล่างประกอบ
อยู่ในตำ�แหน่งที่ถูกต้อง

95
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
การบำ�รุงรักษา

เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด .............................................................หน้า 97 เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของ


เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณไฟระบบหยุดการ
(สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด).............................หน้า 98 ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาติด..........................................หน้า 103
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติดหรือกะพริบ......................................หน้า 99 เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง...........................................หน้า 104
สัญญาณไฟ PGM-FI....................................................................หน้า 99 เมื่อระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ท�ำงานอย่างเหมาะสม..................หน้า 105
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์................................................หน้า 100 การปลดล๊อคเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน...........................................หน้า 107
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น.......................................................... หน้า 101 การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดในกรณีฉุกเฉิน...............................หน้า 108
สัญญาณไฟเตือนถึงความผิดปกติของ ยางรั่ว...........................................................................................หน้า 112
เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง.......................................................... หน้า 101 ปัญหาระบบไฟฟ้า........................................................................หน้า 113
เมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ....................................................................หน้า 113
ไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม............................................. หน้า 102 หลอดไฟขาด................................................................................หน้า 113
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน ฟิวส์ขาด.......................................................................................หน้า 116
รอบเดินเบาไม่ติด..........................................................................หน้า 102 การท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ไม่สม�่ำเสมอเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว.....หน้า 117
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด
มอเตอร์สตาร์ททำ�งาน แต่เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด มอเตอร์สตาร์ทไม่ทำ�งาน
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ : ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ :
• ตรวจเช็คขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ว่าถูกต้องหรือ • ต้องแน่ใจว่ายกขาตั้งข้างขึ้น
ไม่ หน้า 45 • ตรวจเช็คว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ หน้า 116
• ตรวจเช็คว่ามีน�้ำมันเชื้อเพลิงอยู่ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง • ตรวจเช็คว่าการเชื่อมต่อแบตเตอรี่หลวมหรือเกิดสนิม

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
หรือไม่ ที่ขั้วแบตเตอรี่หรือไม่ หน้า 64, 73
• ตรวจเช็คว่าสัญญาณไฟ PGM-FI ติดหรือไม่ • ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่ หน้า 113
ถ้าสัญญาณไฟติด ขอให้ติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า ถ้าปัญหายังคงมีอยู่ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า
ทันทีที่เป็นไปได้ A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการ
ฮอนด้า

97
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป (สัญญาณไฟเตือนอุณ หภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด)
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป (สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด)
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไปเมื่อสิ่งต่อไปนี้ปรากฏ 1. ดับเครื่องยนต์โดยใช้สวิทช์จุดระเบิด
ขึ้น : 2. ปล่อยให้เครื่องยนต์เย็นลงในขณะที่สวิทช์จุดระเบิด
• สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด อยู่ที่ตำ�แหน่ง (Off)
• อัตราเร่งอืด 3. หลังจากเครื่องยนต์เย็นลงแล้ว ให้ตรวจสอบท่อน�้ำ
ถ้าหากสิ่งเหล่านี้ปรากฏขึ้น ขอให้ท่านเข็นหรือจูงรถ และตรวจเช็คดูด้วยว่ามีรูรั่วซึมหรือไม่ หน้า 84
เข้าข้างทางอย่างปลอดภัย และปฏิบัติตามขั้นตอนดัง
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ถ้าหากมีรูรั่วซึม :
ต่อไปนี้
การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานอาจท�ำให้สัญญาณ อย่าสตาร์ทเครื่องยนต์ ขอให้บรรทุกหรือขนย้ายรถ
ไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติดได้ จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการ
ตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
ข้อสังเกต 4. ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรอง และเติม
การขับขี่รถต่อไปในขณะที่เครื่องยนต์มีความร้อน น�้ำหล่อเย็นถ้าจ�ำเป็น หน้า 84
สูงเกินไปอาจท�ำให้เกิดความเสียหายร้ายแรงกับ 5. ถ้าท�ำการตรวจเช็คตามข้อที่ 1-4 แล้วพบว่าเป็นปกติ
เครื่องยนต์ได้ ท่านสามารถจะขับขี่ต่อไปได้ แต่ต้องคอยสังเกตดู
สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงอย่างใกล้
ชิดด้วย

98
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติดหรือกะพริบ
สัญญาณไฟ PGM-FI
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นในขณะขับขี่ ท่านอาจมีปัญหาร้าย
แรงเกี่ยวกับระบบ PGM-FI ดังนั้นขอให้ลดความเร็วลง
และนำ�รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับ
บริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
99
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติดหรือกะพริบ สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
ถ้าท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง SEAT FUEL,
เมื่อสัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์กะพริบ 5 ครั้ง (Off) หรือ (LOCK) ในขณะที่สัญญาณไฟเตือน
การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์ หน้า 94 ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ก�ำลังกะพริบอยู่ วงแหวนรอบสวิทช์
จุดระเบิด ไฟเลี้ยว สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
เมื่อสัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์กำ�ลังกะพริบ
จะติดสว่างขึ้น และสัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้นเป็น
อยู่ในขณะที่สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่งเปิด เวลาประมาณ 20 วินาที แล้ววงแหวนรอบสวิทช์จุด
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะกะพริบเมื่อการ ระเบิด ไฟเลี้ยว สัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์


เชื่อมต่อระหว่างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน และสัญญาณเสียงเตือนจะหยุดการท�ำงานโดยอัตโนมัติ
และฮอนด้าสมาร์ทคีย์หยุดลงหลังจากที่หมุนสวิทช์จุด จากนั้นสวิทช์จุดระเบิดจะถูกล๊อค
ระเบิดไปที่ตำ�แหน่งเปิด ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าอาจเกิด เช่นเดียวกัน การที่จะหยุดการกะพริบและการส่งสัญญาณ
จากสาเหตุต่อไปนี้ : เสียงเตือนนี้ ให้ท่านกดสวิิทช์จุดระเบิดลงและค้างไว้เป็น
เวลามากกว่า 2 วินาที หลังจากที่การกะพริบและการส่ง
• คลื่นวิทยุความแรงสูงหรือสัญญาณรบกวนส่งผลกระทบ สัญญาณเสียงเตือนหยุดลง สวิทช์จุดระเบิดก็จะถูกล๊อค
ต่อการท�ำงานของระบบ
• ท่านท�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์สูญหายในขณะขับขี่ ถ้าท่านไม่มีฮอนด้าสมาร์ทคีย์ ท่านจะสามารถปลดล๊อค
อย่างไรก็ตามจะไม่ส่งผลกระทบต่อการท�ำงานของรถ สวิทช์จุดระเบิดได้โดยใช้กุญแจฉุกเฉินและแผ่นรหัส
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านจนกว่าสวิทช์จุด ลับ ID หน้า 108
ระเบิดจะถูกล๊อค
100
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น
สัญญาณไฟเตือนถึงความผิดปกติของเกจวัดระดับ
น�้ำมันเชื้อเพลิง
ถ้าระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงมีความผิดปกติเกิดขึ้น สัญญาณ-
ไฟของเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิงจะปรากฏขึ้นดัง
แสดงในภาพประกอบ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ถ้าหากเกิดกรณีดังกล่าวเหล่านี้ กรุณานำ�รถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์
บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้

101
เมื่อระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไม่สามารถทำ�งานได้อย่างเหมาะสม
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน ถ้าสัญญาณไฟ PGM-FI กะพริบ :
รอบเดินเบาไม่ติด
เมื่อสัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ เมื่อสัญญาณไฟ PGM-FI กะพริบ ระบบหยุดการทำ�งานของ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ทำ�งานเพื่อป้องกันความ
เดินเบาไม่ติด ให้ปฏิบัติดังนี้ : เสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับเครื่องยนต์ ดังนั้นขอให้ท่านนำ�รถ
ถ้าสวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
เบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING :
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่ต�่ำ :
กดสวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่
ตำ�แหน่ง IDLING STOP ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. สักครู่ จากนั้นดับเครื่อง-
ถ้าเครื่องยนต์เย็น : ยนต์แล้วสตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งด้วยการกดปุ่มสตาร์ท โดย
อ้างอิงตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ (หน้า 45) ส�ำหรับ
อุ่นเครื่องยนต์ การสตาร์ทเครื่องยนต์แบบปกติ ระบบหยุดการท�ำงานของ
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอาจจะไม่ท�ำงานถ้าแบตเตอรี่มี
ทำ�งานถ้าหากเครื่องยนต์เย็น แรงเคลื่อนไฟฟ้าต�่ำ
ถ้าท่านไม่ได้ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หลังจาก ถ้าปัญหานี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง โปรดติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า
ที่เครื่องยนต์สตาร์ทติด :
ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ที่ความเร็วเกินกว่า 10
กิโลเมตร/ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง) ระบบหยุดการทำ�งานของ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ทำ�งานจนกว่าจะได้ความเร็ว
ตามที่กำ�หนด
102
เมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาติด

เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุด ถ้าไม่ได้ผ่อนคันเร่งจนสุด :
การทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่
ผ่อนคันเร่งจนสุด
สัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์
ในรอบเดินเบาติด
เมื่อเครื่องยนต์ไม่ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุดการ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณ
ไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
ติด ให้ปฏิบัติดังนี้ :

ถ้ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หยุดไม่สนิท :


หยุดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้สนิท ระบบหยุด
การทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะทำ�งานเมื่อ
ความเร็วอยู่ที่ 0 (ศูนย์)​กิโลเมตร/ชั่วโมง (0 (ศูนย์)​ไมล์/
ชั่วโมง) เท่านั้น

103
เมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง

เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง ถ้าสวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ
เดินเบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING :
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้ว่าจะบิดคันเร่งก็ตาม ให้ปฏิบัติ
ดังนี้ : ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุดการทำ�
งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ถ้าท่านกดสวิทช์หยุดการ
ถ้าลดขาตั้งข้างลง : ทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่ตำ�แหน่ง IDLING
ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุดการทำ� ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะถูก
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา หากท่านลดขาตั้งข้างลง ยกเลิก สตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งด้วยการกดปุ่มสตาร์ท โดย


สัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน อ้างอิงตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ (หน้า 45) สำ�หรับ
เบาที่กำ�ลังกะพริบอยู่จะดับหรือหยุดกะพริบ และเปลี่ยนเป็น การสตาร์ทเครื่องยนต์แบบปกติ
ติดค้าง และระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน ถ้าสัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ
เบาจะถูกยกเลิก สตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งด้วยการกดปุ่ม เดินเบากะพริบ (สวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ
สตาร์ท โดยอ้างอิงตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ (หน้า เดินเบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING STOP) แต่เครื่องยนต์สตาร์ท
45) สำ�หรับการสตาร์ทเครื่องยนต์แบบปกติ ไม่ติดแม้ว่าจะบิดคันเร่งก็ตาม ให้ปฏิบัติดังนี้ :
แบตเตอรี่มีกำ�ลังไฟอ่อน (หรือแบตเตอรี่หมดไฟ)
หรือสายไฟแบตเตอรี่หลวม :
ตรวจสอบแบตเตอรี่และขั้วสายของแบตเตอรี่ ถ้าแบตเตอรี่
มีกำ�ลังไฟอ่อน โปรดติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า
104
เมื่อระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ทำ�งานอย่างเหมาะสม
เมื่อระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ทำ�งานอย่างเหมาะสม • ตรวจสอบว่าไม่มีความล้มเหลวในการสื่อสารเกิดขึ้น
ให้ปฏิบัติดังนี้ : ในระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์
• ตรวจสอบว่าระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ได้ถูกเปิดใช้งาน ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ
อยู่หรือไม่ ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์อาจจะท�ำงานอย่างไม่เหมาะสม
ค่อยๆ กดปุ่มเปิด-ปิดการเชื่อมต่อสัญญาณที่อยู่บน ในสภาพแวดล้อมดังต่อไปนี้ :

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ • เมื่อมีสิ่งก่อสร้างหรืออาคารใกล้ๆ ซึ่งก่อให้เกิดคลื่นวิทยุ
ถ้าไฟ LED ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์เป็นสีแดง ให้เปลี่ยน ความแรงสูงหรือสัญญาณรบกวน เช่น หอส่งสัญญาณ-
สถานะของระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไปสู่การเปิดใช้ โทรทัศน์ โรงไฟฟ้า สถานีวิทยุ หรือสนามบิน
งานระบบ หน้า 35 • เมื่อท่านน�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์พกติดตัวไปด้วยพร้อม
ถ้าไฟ LED ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ตอบสนอง ให้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop) หรือ
เปลี่ยนแบตเตอรี่ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์ อุปกรณ์การสื่อสารแบบไร้สาย เช่น วิทยุโทรศัพท์
หรือโทรศัพท์มือถือ
• เมื่อฮอนด้าสมาร์ทคีย์สัมผัสกับวัตถุที่เป็นโลหะหรือ
ถูกห่อหุ้มด้วยวัตถุที่เป็นโลหะ

105
เมื่อระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่ทำ�งานอย่างเหมาะสม
• ตรวจสอบว่าได้ใช้ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ซึ่งลงทะเบียนไว้ • ตรวจสอบสภาพของแบตเตอรี่และสายไฟแบตเตอรี่ใน
หรือไม่ รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน
ขอให้ท่านใช้ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ซึ่งลงทะเบียนไว้ ตรวจสอบแบตเตอรี่และขั้วสายของแบตเตอรี่
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะไม่สามารถเปิดใช้งานได้ ถ้าแบตเตอรี่มีก�ำลังไฟอ่อน โปรดติดต่อศูนย์บริการ
ถ้าไม่มีฮอนด้าสมาร์ทคีย์ซึ่งลงทะเบียนไว้ ฮอนด้า
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

• ต้องแน่ใจว่าท่านไม่ได้ใช้ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ที่แตก หัก ถ้าระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไม่สามารถเปิดใช้งานได้


หรือเสียหาย เนื่องจากสาเหตุอื่นๆ โปรดติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า
ถ้าท่านใช้ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ที่แตก หัก หรือเสียหาย
ระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะไม่สามารถเปิดใช้งานได้
กรุณาน�ำกุญแจฉุกเฉินและแผ่นรหัสลับ ID ไปเข้ารับ
บริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า

106
การปลดล๊อคเบาะนัง่ ในกรณีฉกุ เฉิน
ที่ล๊อคเบาะสามารถปลดล๊อคได้โดยใช้กุญแจฉุกเฉิน
สวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน
การเปิด
1. ถอดฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉินออก
หน้า 75
2. จัดให้เดือยของกุญแจฉุกเฉินลงในร่องของสวิทช์

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน และหมุนกุญแจฉุกเฉิน
ทวนเข็มนาฬิกา
3. เปิดเบาะนั่งขึ้นและหมุนกุญแจฉุกเฉินตามเข็มนาฬิกา

เดือย ปิด
การปิด
1. ปิดและกดช่วงหลังของเบาะนั่งลงจนกระทั่งล๊อคเข้าที่
ต้องแน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้วโดยการดึงเบาะนั่ง เปิด
ร่อง
ขึ้นเล็กน้อย ถ้าเบาะนั่งไม่ได้ถูกล๊อค ให้หมุนกุญแจ
ฉุกเฉินตามเข็มนาฬิกาเพื่อล๊อคขาล๊อคเบาะ
กุญแจฉุกเฉิน
2. ประกอบฝาปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งในกรณีฉุกเฉิน

107
การปลดล๊อคสวิทช์จดุ ระเบิดในกรณีฉกุ เฉิน
สวิทช์จุดระเบิดสามารถปลดล๊อคได้โดยใช้กุญแจฉุกเฉิน
เขี้ยวล๊อค ขอเกี่ยว
และแผ่นรหัสลับ ID
การปรับเข้าสู่โหมดการป้อนรหัสลับ ID
1. ใช้กุญแจฉุกเฉินในการเปิดเบาะนั่ง หน้า 107
2. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 74
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

3. ดึงขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออก
4. ถอดฝาครอบขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน (สีฟ้า) โดยการปลด ตัวช็อตขั้วต่อโหมด
ฉุกเฉิน
เขี้ยวล๊อคของขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกในขณะที่ยกขอ
เกี่ยวของฝาครอบขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน (สีฟ้า) ขึ้น
5. ตรวจสอบรหัสลับ ID ที่อยู่บนแผ่นรหัสลับ ID ฝาครอบขั้วต่อ ขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน
6. ต่อตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินที่มีอยู่ในชุดเครื่องมือ โหมดฉุกเฉิน (สีฟ้า)
ประจ�ำรถเข้ากับขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน
แผ่นรหัสลับ ID

108
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดในกรณีฉุกเฉิน
การป้อนรหัสลับ ID • การป้อนเลขรหัส “1” ให้กดสวิทช์จุดระเบิด 1 ครั้งภายใน
ท่านสามารถป้อนรหัสลับ ID ของท่านโดยการกดสวิทช์จุด 5 วินาทีเมื่อวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดติดสว่างขึ้น
ระเบิดเมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง (Off), (LOCK)
และ SEAT FUEL ป้อนรหัสลับ ID ที่อยู่บนแผ่นรหัสลับ ID การป้อนเลขรหัส “0”
สวิทช์จุดระเบิด
ตามล�ำดับจากเลขรหัสที่อยู่ด้านซ้ายเป็นล�ำดับต่อเนื่องกัน
ไปโดยการกดสวิทช์จุดระเบิด
รหัสลับ ID จะได้รับการยืนยันตามจ�ำนวนครั้งที่กดสวิทช์จุด

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ระเบิด
กดสวิทช์จุดระเบิดตามจ�ำนวนครั้งที่ตรงกับเลขรหัสภายใน รหัสลับ ID ไม่ต้องกด
5 วินาทีเมื่อวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดติดสว่างขึ้น หลังจาก
การป้อนเลขรหัส “1”
ผ่านไป 5 วินาที วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดจะดับและจะ สวิทช์จุดระเบิด
ติดสว่างขึ้นอีกครั้ง นั่นก็หมายความว่าเลขรหัสที่ได้ป้อนเข้าไป
จะไม่เปลี่ยนแปลง และท่านจะสามารถป้อนเลขรหัสถัดไปได้
ถ้าวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดไม่ติดสว่างขึ้นเป็นสีฟ้า แสดง
ว่าแบตเตอรี่อาจมีก�ำลังไฟอ่อน
โปรดติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า รหัสลับ ID กด 1 ครั้ง
ยกตัวอย่างเช่น :
• การป้อนเลขรหัส “0” ให้รอเป็นเวลา 5 วินาทีโดยที่ไม่ต้อง
กดสวิทช์จุดระเบิดเมื่อวงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดติด
สว่างขึ้น
109
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดในกรณีฉุกเฉิน

การป้อนรหัสลับ ID ประสบผลส�ำเร็จ สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 1 ครั้ง สวิทช์จุดระเบิดจะ


ล๊อคโดยอัตโนมัติด้วยเช่นกันเมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่
หลังจากที่ได้ป้อนรหัสลับ ID ตัวสุดท้ายเข้าไปแล้วหรือ
ตำ�แหน่ง SEAT FUEL, (Off) หรือ (LOCK) เป็น
ป้อนจนครบทุกเลขรหัสแล้ว วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
เวลาประมาณ 6 นาทีหลังจากที่ได้ป้อนรหัสลับ ID เป็น
และสัญญาณไฟเตือนฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะกะพริบทุกๆ
ผลสำ�เร็จแล้ว
2 วินาทีจนกระทั่งได้ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออก
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดถูกล๊อค วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ต้องแน่ใจว่าได้ถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกและ
จะดับลง
ประกอบฝาครอบขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน (สีฟ้า) กลับเข้าที่
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดอีกครั้ง ให้ท�ำซ�้ำขั้นตอน
เดิม สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 2 ครั้งเมื่อได้ถอดตัว
ส�ำหรับการปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด
ช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกแล้ว จากนั้นสวิทช์จุดระเบิด
จะถูกปลดล๊อค
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ กลับเข้าที่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้น
ตอนการถอดและหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On)
ภายในเวลา 6 นาที ท่านจะสามารถสตาร์ทเครื่องยนต์ได้
การล๊อคสวิทช์จุดระเบิด ให้หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่
ตำ�แหน่ง SEAT FUEL, (Off) หรือ (LOCK) และ
กดสวิทช์จุดระเบิดลงและค้างไว้เป็นเวลา 2 วินาที
110
การปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดในกรณีฉุกเฉิน

การป้อนรหัสลับ ID ไม่ประสบผลส�ำเร็จ • เก็บตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินที่ได้ถอดออกมาไว้ใน


หลังจากที่ได้ป้อนรหัสลับ ID ตัวสุดท้ายเข้าไปแล้ว วง ชุดเครื่องมือประจ�ำรถทุกครั้ง
แหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดและสัญญาณไฟเตือนฮอนด้า
สมาร์ทคีย์จะกะพริบทุกๆ วินาทีจนกระทั่งได้ถอดตัว
ช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกและสวิทช์จุดระเบิดจะไม่
สามารถปลดล๊อคได้

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ดึงตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกและต่อเข้ากับขั้วต่อ
โหมดฉุกเฉินใหม่อีกครั้ง ปฏิบัติตามขั้นตอนอีกครั้ง หน้า
109
การยกเลิกการป้อนรหัสลับ ID
ดึงตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉินออกจากขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน
เช่นเดียวกัน ถ้าท่านทำ�ผิดพลาดในขณะที่กำ�ลังป้อน
รหัสลับ ID เข้าไป ให้ท่านถอดตัวช็อตขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน
ออกจากขั้วต่อโหมดฉุกเฉิน จากนั้นต่อตัวช็อตขั้วต่อ
โหมดฉุกเฉินเข้ากับขั้วต่อโหมดฉุกเฉินอีกครั้ง และจาก
นั้นจึงป้อนรหัสลับ ID อีกครั้งตั้งแต่ต้น
111
ยางรั่ว่ว
ยางรั
การซ่อมรูรั่วของยางหรือการถอดล้อจำ�เป็นต้องใช้เครื่องมือ
คำ�เตือน
พิเศษและมีความชำ�นาญด้านเทคนิคด้วย ทางบริษัทฯ ขอ
แนะนำ�ให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. โดยที่ยางได้
เข้ารับบริการดังกล่าวโดยศูนย์บริการฮอนด้า รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราวนั้นมีความเสี่ยงสูงมากที่
หลังจากการซ่อมแซมในกรณีฉุกเฉินแล้ว ท่านควรจะนำ�รถ จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และถ้าหากการซ่อมแซมชั่ว-
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจสอบ คราวนั้นไม่ได้ผลอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การ
ชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือ
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ยาง/เปลี่ยนยางใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้าเสมอ
ถึงแก่เสียชีวิตได้
การซ่อมแซมในกรณีฉกุ เฉินโดยใช้ชดุ เครือ่ งมือในการ
ซ่อมแซมยาง
ถ้าท่านต้องขับขี่รถโดยที่ยางได้รับการซ่อมแซมไว้
ถ้ายางของท่านมีรูรั่วเล็กน้อย ท่านสามารถที่จะซ่อมแซม ชั่วคราว ท่านควรจะขับขี่อย่างช้าๆ และด้วยความ
ยางในกรณีฉุกเฉินได้โดยใช้ชุดเครื่องมือในการซ่อมแซมยาง ระมัดระวัง และอย่าขับขี่ด้วยความเร็วเกินกว่า 50
สำ�หรับยางชนิดไม่มียางใน กิโลเมตร/ชั่วโมง (30 ไมล์/ชั่วโมง) จนกว่าท่านจะได้
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ที่มีมากับชุดเครื่องมือในการ เปลี่ยนยางเส้นใหม่เรียบร้อยแล้ว
ซ่อมแซมยางฉุกเฉิน การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
โดยที่ยางได้รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราวนั้นมีความเสี่ยงสูง
มากที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ อย่าขับขี่ด้วยความเร็วเกินกว่า
50 กิโลเมตร/ชั่วโมง (30 ไมล์/ชั่วโมง) และขอให้ท่านนำ�รถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยน
ยางใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้
112
ปัญหาระบบไฟฟ้า
ปัญหาระบบไฟฟ้า
แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ หลอดไฟขาด
ชาร์จแบตเตอรี่โดยใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่สำ�หรับรถ หลอดไฟทั้งหมดของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้
จักรยานยนต์ เป็นหลอด LED
ถอดแบตเตอรี่ออกจากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ถ้ามีหลอด LED หลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไป
ก่อนการชาร์จแบตเตอรี่ เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ห้ามใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์ เนื่องจากจะทำ�ให้
เกิดความร้อนสูงเกินไปในแบตเตอรี่สำ�หรับรถจักรยาน-
ยนต์์และอาจทำ�ให้แบตเตอรี่เกิดความเสียหายถาวรได้
ถ้าแบตเตอรี่ไม่สามารถฟื้นฟูสภาพให้นำ�กลับมาใช้งาน
ได้หลังจากการชาร์จแบตเตอรี่ โปรดติดต่อศูนย์บริการ
ฮอนด้า
ข้อสังเกต
ไม่แนะนำ�ให้ใช้วิธีการพ่วงสตาร์ทโดยใช้แบตเตอรี่
สำ�หรับรถยนต์ เนื่องจากอาจทำ�ให้เกิดความเสียหาย
กับระบบไฟฟ้าในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ
ท่านได้
113
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด

ไฟหน้า/ไฟเลีี้ยวหน้า/ไฟหรี่ ไฟหน้า/ไฟเลี้ยวหน้า/ไฟหรี่ใช้หลอด LED หลายหลอด


ถ้ามีหลอด LED หลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไป
ไฟเลี้ยวหน้า
เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ไฟหรี่ ไฟหรี่

ไฟหน้า

114
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด

ไฟเบรก/ไฟท้าย/ไฟเลี้ยวหลัง/ไฟส่องป้ายทะเบียน ไฟเบรก/ไฟท้าย/ไฟเลี้ยวหลัง/ไฟส่องป้ายทะเบียนใช้
ไฟเบรก/ไฟท้าย หลอด LED หลายหลอด
ถ้ามีหลอด LED หลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไป
เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ไฟเลี้ยวหลัง

ไฟส่องป้ายทะเบียน

115
ปัญหาระบบไฟฟ้า ฟิวส์ขาด
ฟิวส์ขาด 1. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ หน้า 74
ก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาฟิวส์ ให้ดู “การตรวจสอบและ 2. ถอดฝาปิดกล่องฟิวส์
การเปลี่ยนฟิวส์” หน้า 65 3. ดึงฟิวส์หลักและฟิวส์อื่นๆ ออกทีละตัวด้วยตัวดึงฟิวส์
ซึ่งอยู่ด้านในของฝาปิดกล่องฟิวส์และตรวจเช็คว่า
ฟิวส์ที่อยู่ในกล่องฟิวส์ ฟิวส์ขาดหรือไม่ เปลี่ยนฟิวส์ที่ขาดด้วยฟิวส์สำ�รอง
ที่มีขนาดเดียวกับฟิวส์ตัวเดิมเสมอ
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ตัวดึงฟิวส์
4. ประกอบฝาปิดกล่องฟิวส์
5. ประกอบฝาปิดแบตเตอรี่
ฟิวส์ส�ำรอง
ข้อสังเกต
ฟิวส์หลัก ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าระบบไฟฟ้าภายใน
รถจักรยานยนต์ของท่านมีปัญหา ดังนั้นควรน�ำรถจักร-
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า

ฝาปิดกล่องฟิวส์

116
การท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ไม่สม�่ำเสมอเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว
ถ้ากรองเชื้อเพลิงของปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิงอุดตัน สภาพ
การท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ไม่สม�่ำเสมอจะเกิดขึ้นเป็น
ครั้งคราวในขณะที่ขับขี่
แม้ว่าอาการนี้จะเกิดขึ้น ท่านก็สามารถที่จะขับขี่รถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านต่อไปได้

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ถ้าเครื่องยนต์ท�ำงานไม่สม�่ำเสมอแม้ว่าจะมีน�้ำมัน-
เชื้อเพลิงอยู่เพียงพอ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า
A.T. ของท่านไปเข้ารับการตรวจสอบโดยศูนย์บริการ
ฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้

117
ข้อมูลที่ควรทราบ

กุญแจ.............................................................. หน้า 119


เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ.. หน้า 122
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T...... หน้า 123
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T........ หน้า 127
การขนส่งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T............. หน้า 127
ท่านและสิ่งแวดล้อม........................................ หน้า 128
หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ.................................... หน้า 129
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์...หน้า 130
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย................................ หน้า 131
กุญแจ
กุญแจ
กุญแจฉุกเฉิน
กุญแจฉุกเฉินใช้ปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดในกรณีฉุกเฉิน
หน้า 108
อย่าเก็บกุญแจฉุกเฉินไว้ในช่องเก็บของอเนกประสงค์

ข้อมูลที่ควรทราบ
กุญแจฉุกเฉิน

119
กุญแจ
ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ ฮอนด้าสมาร์ทคีย์ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซึ่ง
จะท�ำงานโดยระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์ ถ้าหากวงจรได้
การพกฮอนด้าสมาร์ทคีย์ติดตัวจะท�ำให้ท่านสามารถ รับความเสียหาย ฮอนด้าสมาร์ทคีย์จะไม่สามารถสตาร์ท
ล๊อคหรือปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด และปลดล๊อคที่ล๊อค เครื่องยนต์ ปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิด เปิดเบาะนั่ง เปิด
เบาะ เปิดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง และล๊อคหรือ ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง หรือ ล๊อคหรือปลดล๊อค
ปลดล๊อคคอรถได้ คอรถได้
รหัสลับ ID ของฮอนด้าสมาร์ทคีย์มีอยู่บนแผ่นรหัสลับ ID • อย่าท�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์ตกหล่น หรือวางสิ่งของซึ่ง
ข้อมูลที่ควรทราบ

ท่านยังสามารถปลดล๊อคสวิทช์จุดระเบิดได้โดยการป้อน มีน�้ำหนักมากไว้บนฮอนด้าสมาร์ทคีย์
รหัสลับ ID • อย่าเก็บฮอนด้าสมาร์ทคีย์ไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง
ขอให้ท่านพกทั้งกุญแจฉุกเฉินและแผ่นรหัสลับ ID ติด หรือมีอุณหภูมิและความชื้นสูง
ตัวไว้เสมอ แต่แยกออกจากฮอนด้าสมาร์ทคีย์เพื่อหลีก • อย่าท�ำให้ฮอนด้าสมาร์ทคีย์เกิดรอยขีดข่วนหรือถูก
เลี่ยงการท�ำหายทั้งหมดในเวลาเดียวกัน เจาะเป็นรู
• อย่าเก็บไว้ใกล้กับผลิตภัณฑ์ใดๆ ที่มีคุณสมบัติเป็น
ยิ่งไปกว่านั้นขอให้ท่านเก็บรักษาส�ำเนาของรหัสลับ ID แม่เหล็ก เช่น พวงกุญแจแม่เหล็ก
ของท่านไว้ในที่ที่ปลอดภัย ยกเว้นไม่ให้เก็บไว้ที่รถจักร- • เก็บรักษาฮอนด้าสมาร์ทคีย์ให้อยู่ห่างจากเครื่องใช้
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ วิทยุ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล (PC) หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลความถี่ต�่ำเสมอ

120
กุญแจ
• เก็บรักษาฮอนด้าสมาร์ทคีย์ให้อยู่ห่างจากของเหลวต่างๆ แบตเตอรี่ที่อยู่ในระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์นั้น โดยปกติแล้ว
ถ้าหากฮอนด้าสมาร์ทคีย์เปียก ให้เช็ดให้แห้งทันทีด้วยผ้า จะมีอายุการใช้งานประมาณ 2 ปี
เนื้อนุ่ม
• เก็บรักษาฮอนด้าสมาร์ทคีย์ให้อยู่ห่างจากรถจักรยานยนต์ อย่าเก็บโทรศัพท์มือถือหรืออุปกรณ์ส่งคลื่นวิทยุอื่นๆ ไว้ใน
ฮอนด้า A.T. ขณะล้างรถ
• อย่าท�ำให้ฮอนด้าสมาร์ทคีย์เกิดความร้อน ช่องเก็บของอเนกประสงค์ คลื่นความถี่วิทยุจากอุปกรณ์
• อย่าล้างฮอนด้าสมาร์ทคีย์ในเครื่องล้างความถี่สูง (Ultra- ต่างๆ จะไปรบกวนการท�ำงานของระบบฮอนด้าสมาร์ทคีย์
sonic cleaner)
• ถ้าหากมีน�้ำมันเชื้อเพลิง แวกซ์ หรือจาระบีติดอยู่กับฮอนด้า การเพิ่มฮอนด้าสมาร์ทคีย์ ขอให้ท่านนำ�ฮอนด้าสมาร์ทคีย์

ข้อมูลที่ควรทราบ
สมาร์ทคีย์ ให้เช็ดออกทันทีเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดรอยแตก และรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปยังศูนย์บริการ
หรือเสียรูป ฮอนด้า
• อย่าแยกชิ้นส่วนประกอบของฮอนด้าสมาร์ทคีย์ เว้นแต่เมื่อ
ท่านจะเปลี่ยนแบตเตอรี่ ท่านสามารถถอดแยกชิ้นส่วน
ประกอบได้เฉพาะฝาปิดของฮอนด้าสมาร์ทคีย์เท่านั้น อย่า
ถอดแยกชิ้นส่วนประกอบอื่นๆ เครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์นี้มีความสอดคล้อง
• อย่าท�ำฮอนด้าสมาร์ทคีย์ของท่านสูญหาย ถ้าหากท่านท�ำ ตามข้อกำ�หนดของ กทช.
หาย ท่านจ�ำเป็นต้องลงทะเบียนให้กับฮอนด้าสมาร์ทคีย์
อันใหม่ กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน
พร้อมกับกุญแจฉุกเฉินและแผ่นรหัสลับ ID ของท่านไปเข้า
รับบริการลงทะเบียนที่ศูนย์บริการฮอนด้า

121
เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ

เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ


มาตรวัดระยะการเดินทาง
สวิทช์จุดระเบิด
มาตรวัดระยะการเดินทางจะวนกลับมาที่ 0.0 เมื่อค่าที่
การปล่อยให้สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง (On) ใน
อ่านได้เกินกว่า 999.9
ขณะที่เครื่องยนต์ดับจะทำ�ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟ
ออกจนหมดได้ ซองเก็บเอกสาร
อย่าหมุนสวิทช์จุดระเบิดในขณะขับขี่รถ คู่มือผู้ใช้ เอกสารการจดทะเบียน และข้อมูลการรับประ-
ข้อมูลที่ควรทราบ

กัน สามารถจัดเก็บไว้ในซองเก็บเอกสารพลาสติกซึ่ง
มาตรวัดระยะทาง อยู่ในช่องเก็บของอเนกประสงค์
จอแสดงผลจะหยุดอยู่ที่ตัวเลข 999,999 เมื่อค่าที่อ่าน
ได้เกินกว่า 999,999

122
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
การท�ำความสะอาดและขัดเงารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อยู่ หลีกเลี่ยงการฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ ท่อไอเสีย และ
เป็นประจ�ำนั้นมีความส�ำคัญต่อการรับประกันอายุการใช้งานที่ ชิ้นส่วนของระบบไฟฟ้า
ยาวนานของรถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่าน รถจักรยานยนต์ที่ 3. ล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยน�้ำสะอาดอย่างทั่วถึงและ
สะอาดจะท�ำให้ง่ายแก่การพบเห็นปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช็ดรถให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น�้ำทะเลและเกลือที่ใช้ป้องกันการเกิดน�้ำแข็ง 4. หลังจากที่รถจัักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. แห้ง ให้หยอดน�้ำมัน
เกาะบนพื้นถนน จะท�ำให้เหล็กเกิดสนิมหรือผุกร่อนได้ ดังนั้นควร หล่อลื่นที่ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ใดๆ
ล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอย่าง ต้องแน่ใจว่าไม่มีน�้ำมันหล่อลื่นกระเด็นไปติดบนเบรกหรือ
ทั่วถึงทุกครั้งหลังการขับขี่ไปบนถนนที่อยู่เลียบชายฝั่งทะเลหรือบน ยางรถ ผ้าดิสก์เบรก จานดิสก์เบรก ดรัมเบรก หรือผ้าเบรกที่ี

ข้อมูลที่ควรทราบ
ถนนที่ถูกโรยด้วยเกลือ เปื้อนไปด้วยน�้ำมันจะท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง
การล้างรถจักรยานยนต์ อย่างมากและอาจน�ำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือ
รถล้มได้
ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูง
5. ใช้แวกซ์เคลือบผิวเพื่อป้องกันสนิมและการกัดกร่อน
อื่นๆ เย็นลงก่อนที่จะล้างรถ
1. ล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างทั่วถึงโดยใช้สายยางส�ำหรับ หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบไปด้วยผงซักฟอกที่มี
รดน�้ำต้นไม้เพื่อท�ำความสะอาดสิ่งสกปรกที่ไม่ฝังแน่นออก คุณสมบัติในการกัดสูงหรือตัวทำ�ละลายทางเคมีซึ่งอาจทำ�
2. ถ้าจ�ำเป็น ท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วย ให้เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ ชิ้นส่วนที่พ่นสี
ฟองน�้ำหรือผ้าขนหนูเนื้อนุ่มชุบน�้ำยาท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์ และชิ้นส่วนที่เป็นพลาสติกของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
อ่อนๆ เพื่อขจัดคราบสกปรกต่างๆ ที่มาจากถนนออก ของท่านได้
ท�ำความสะอาดแผ่นกันลม เลนส์ไฟหน้า ฝาครอบตัวถัง และ อย่าลงแวกซ์ที่ยางและเบรก
ส่วนประกอบที่เป็นพลาสติกต่างๆ ด้วยความระมัดระวังเป็น ถ้ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านมีชิ้นส่วนที่เป็นพื้น
พิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดรอยขีดข่วนที่ชิ้นส่วนดังกล่าว ผิวสีที่ด้านใดๆ อย่าใช้แวกซ์เคลือบพื้นผิวดังกล่าว
123
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ข้อควรระวังในการล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. • อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ :
ควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำต่อไปนี้เมื่อจะล้างรถจักรยานยนต์ น�้ำที่เข้าไปในไส้กรองอากาศอาจท�ำให้เครื่องยนต์สตาร์ท
ฮอนด้า A.T. : ไม่ติดได้
• อย่าใช้เครื่องฉีดน�้ำแรงดันสูง : • อย่าฉีดน�้ำตรงไปใกล้ไฟหน้า :
เครื่องฉีดล้างท�ำความสะอาดแรงดันสูงอาจท�ำให้เกิดความ ไอน�้ำภายในเลนส์ไฟหน้าควรจะหายไปหลังจากที่ติด
เสียหายกับชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้และชิ้นส่วนของระบบ เครื่องยนต์เป็นเวลา 2-3 นาทีแล้ว
ไฟฟ้า และท�ำให้ชิ้นส่วนดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้ • อย่าใช้แวกซ์ซึ่งประกอบไปด้วยสารประกอบชนิดต่างๆ
น�้ำและอากาศสามารถเข้าไปในเรือนลิ้นเร่งและ/หรือผ่าน หรือใช้สารขัดเงากับพื้นผิวสีที่ด้าน :
ข้อมูลที่ควรทราบ

เข้าสู่ไส้กรองอากาศได้ ให้ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาดพื้นผิวสี


• อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ท่อไอเสีย : ที่ด้านด้วยผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำที่ชุบน�้ำผงซักฟอกอ่อนๆ
น�้ำที่อยู่ในท่อไอเสียอาจท�ำให้รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด
สตาร์ทไม่ติดและยังท�ำให้เกิดสนิมในท่อไอเสียได้ ชิ้นส่วนอะลูมิเนียม
• ท�ำให้เบรกแห้ง : อะลูมิเนียมจะเกิดการผุกร่อนและเป็นสนิมได้เมื่อถูกฝุ่น โคลน
น�้ำมีผลเสียต่อประสิทธิภาพในการเบรก หลังจากการล้าง หรือเกลือที่โรยอยู่ตามท้องถนน ทำ�ความสะอาดชิ้นส่วน
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้เบรกซ�้ำๆ หรือย�้ำเบรกใน อะลูมิเนียมเป็นประจำ�และปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อ
ขณะที่ขับขี่ที่ความเร็วต�่ำ เพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น
หลีกเลี่ยงรอยขีดข่วนต่างๆ :
• อย่าฉีดน�้ำตรงเข้าไปใต้เบาะนั่ง :
น�้ำที่เข้าไปในช่องเก็บของใต้เบาะนั่งอาจท�ำให้เกิดความ • อย่าใช้แปรงขนแข็ง เหล็กฝอยสำ�หรับขัด หรือวัสดุและ
เสียหายกับเอกสารและทรัพย์สินอื่นๆ ของท่านได้ อุปกรณ์ทำ�ความสะอาดอื่นๆ ที่มีผงขัดเป็นส่วนประกอบ
• หลีกเลี่ยงการขับขี่ข้ามหรือครูดไปกับขอบถนน
124
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ฝาครอบตัวถังต่างๆ ชุดท่อไอเสีย
ควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด เมื่อมีการทาสีที่พื้นผิวของชุดท่อไอเสีย ไม่ควรใช้ผลิต-
รอยขีดข่วนและรอยตำ�หนิต่างๆ : ภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนพื้นผิว ซึ่งเป็น
• ค่อยๆ ท�ำความสะอาดโดยใช้ฟองน�้ำนุ่มๆ และล้าง ผลิตภัณฑ์ที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามท้องตลาดใน
ด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง การใช้ท�ำความสะอาดพื้นผิวดังกล่าว ขอให้ท่านใช้
• ขจัดสิ่งสกปรกที่ฝังแน่นอยู่ออก ใช้น�้ำผสมผงซักฟอก ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่เป็นกลางในการท�ำความ
เจือจางและล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง สะอาดพื้นผิวสีบนชุดท่อไอเสีย ถ้าหากท่านไม่แน่ใจว่า

ข้อมูลที่ควรทราบ
• หลีกเลี่ยงอย่าให้มีน�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำมันเบรก หรือผง ชุดท่อไอเสียของท่านมีการทาสีที่พื้นผิวไว้หรือไม่ ขอให้
ซักฟอกหกลงบนเครื่องวัด แผ่นกันลม ฝาครอบตัวถัง ท่านติดต่อสอบถามกับศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
หรือไฟหน้า
ข้อสังเกต
ถึงแม้ว่าท่อไอเสียจะท�ำมาจากเหล็กกันสนิมก็อาจมี
ร่องรอยหรือคราบสกปรกเกิดขึ้นได้ ให้ขจัดร่องรอย
และต�ำหนิต่างๆ ออกทันทีที่ท่านสังเกตเห็น

125
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
แผ่นกันลม
เปลี่ยนแผ่นกันลมใหม่ถ้ารอยขูดขีดนั้นไม่สามารถลบ
ให้ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาดแผ่นกัน ออกได้และเป็นอุปสรรคในการมองเห็นที่ชัดเจน
ลมด้วยผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำ (หลีกเลี่ยงการใช้ผงซักฟอก
หรือน�้ำยาท�ำความสะอาดที่เป็นสารเคมีชนิดใดก็ตาม ดูแลป้องกันไม่ให้น�้ำยาแบตเตอรี่ น�้ำมันเบรก หรือตัว
ที่แผ่นกันลม) แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด
ท�ำละลายทางเคมีอื่นๆ หกรดแผ่นกันลมและฝาครอบ
เพราะจะท�ำให้เกิดความเสียหายกับพลาสติกได้
ข้อสังเกต
ข้อมูลที่ควรทราบ

เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการขูดขีดหรือเกิดความเสียหาย
อื่นๆ ให้ใช้น�้ำและผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำเท่านั้นใน
การท�ำความสะอาดแผ่นกันลม
ส�ำหรับแผ่นกันลมที่มีคราบสกปรก ไม่ใส หรือขุ่น ให้ใช้
ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่เป็นกลางและเจือจาง โดย
ใช้ฟองน�้ำและล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง
ต้องแน่ใจว่าได้ล้างน�้ำยาท�ำความสะอาดออกจนหมด
ด้วยน�้ำ (คราบน�้ำยาที่ตกค้างอยู่อาจท�ำให้เกิดรอยแตก
ที่แผ่นกันลมได้)
126
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หลังจากที่ท่านเอารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ออกมา
ถ้าท่านเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ไว้ที่ลาน จากโรงเก็บรถ ขอให้ท่านตรวจสอบรายการบำ�รุงรักษา
จอดกลางแจ้ง ท่านควรพิจารณาใช้ผ้าคลุมสำ�หรับรถ ทั้งหมดตามที่ได้กำ�หนดไว้ในตารางการบำ�รุงรักษา
จักรยานยนต์แบบเต็มคัน ถ้าหากท่านจะไม่ขับขี่รถจักร-
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. เป็นระยะเวลานานๆ ขอให้ปฏิบัติ
ตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ : การขนส่งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
• ล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านและลงแวกซ์ ถ้าหากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านจำ�เป็นต้อง
บนพื้นผิวเคลือบทุกแห่ง (ยกเว้นพื้นผิวสีที่ด้าน) ถูกขนย้ายหรือขนส่ง ท่านควรนำ�รถจักรยานยนต์์ฮอนด้า

ข้อมูลที่ควรทราบ
เคลือบแผ่นโครเมียมด้วยน�้ำมันป้องกันสนิม
• ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. บนขาตั้งกลางและ A.T. ขึ้นรถพ่วงสำ�หรับบรรทุกรถจักรยานยนต์ หรือรถ
วางตำ�แหน่งของหมอนรองเพื่อยกยางทั้งสองล้อให้ บรรทุกหรือรถพ่วงพื้นเรียบซึ่งมีท้ายลาดหรือมีแท่นยก
อยู่เหนือพื้นดิน รถ และมีสายรัดรถจักรยานยนต์ด้วย อย่าพยายามที่จะ
• หลังจากฝนตก เอาผ้าคลุมรถออกและปล่อยรถจักร- ลากจูงรถจักรยานยนต์์ฮอนด้า A.T. ของท่านในขณะที่
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ไว้ให้แห้ง ล้อใดล้อหนึ่งหรือทั้งสองล้อยังแตะอยู่กับพื้น
• ถอดแบตเตอรี่ออก (หน้า 73) เพื่อป้องกันไม่ให้แบต-
เตอรี่จ่ายกระแสไฟออกจนหมด
ชาร์จแบตเตอรี่ในที่ร่มและมีการระบายอากาศที่ดี ข้อสังเกต
ถ้าท่านทิ้งแบตเตอรี่ไว้ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า การลากจูงรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อาจท�ำให้
A.T. ไม่ได้ถอดออก ให้ปลดขั้วลบ - ออกเพื่อป้อง เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อระบบส่งก�ำลังได้
กันไม่ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟออกจนหมด
127
ท่านและสิ่งแวดล้อม
ท่านและสิ่งแวดล้อม ขยะรีไซเคิล
การที่ได้เป็นเจ้าของและขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. บรรจุน�้ำมันและขยะมีพิษอื่นๆ ลงในภาชนะบรรจุที่
เป็นเรื่องที่สามารถให้ความสนุกและความเพลิดเพลิน เหมาะสมแล้วส่งไปยังศูนย์รีไซเคิล กรุณาโทรศัพท์ติด
แก่ท่านได้ แต่ท่านก็ต้องรับผิดชอบในส่วนของท่านใน ต่อส�ำนักงานท้องถิ่นหรือส�ำนักงานของรัฐที่ท�ำงานเกี่ยว
การรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน กับงานบริการสาธารณะและการบริการด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อสอบถามถึงที่ตั้งของศูนย์รีไซเคิลในพื้นที่ที่ท่านอาศัย
การเลือกใช้น�้ำยาท�ำความสะอาด อยู่และเพื่อขอค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับวิธีการก�ำจัดของเสีย
ข้อมูลที่ควรทราบ

ใช้ผงซักฟอกที่ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อท่าน ที่ไม่สามารถน�ำมารีไซเคิลได้ อย่าทิ้งน�้ำมันเครื่องที่ใช้


จะล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ แล้วลงในถังขยะ หรือทิ้งลงท่อระบายน�้ำ หรือเทราดลง
ท่าน หลีกเลี่ยงการใช้น�้ำยาท�ำความสะอาดชนิดสเปรย์ บนพื้นดิน น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำหล่อเย็น และ
ที่ประกอบไปด้วยสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ตัวท�ำละลายที่ใช้ในการท�ำความสะอาดต่างๆ ที่ใช้แล้ว
ซึ่งสามารถที่จะท�ำให้เกิดความเสียหายกับชั้นโอโซนที่ ประกอบไปด้วยสิ่งที่เป็นอันตรายหรือมีพิษ ซึ่งสามารถ
ปกป้องบรรยากาศรอบโลกได้ ท�ำอันตรายแก่พนักงานเก็บขยะและปนเปื้อนในน�้ำดื่ม
ทะเลสาบ แม่น�้ำ และมหาสมุทรได้

128
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ
หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ หมายเลขตัวถัง
หมายเลขตัวถังและหมายเลขเครื่องยนต์เป็นหมายเลข
เฉพาะตัวของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน
และเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับการจดทะเบียนรถ นอกจากนี้
หมายเลขดังกล่าวอาจจำ�เป็นต้องใช้เมื่อท่านจะสั่งชิ้น
ส่วนสำ�หรับการเปลี่ยน
หมายเลขตัวถังประทับอยู่ที่ส่วนหลังของโครงตัวถังภาย

ข้อมูลที่ควรทราบ
ในช่องเก็บของอเนกประสงค์
หมายเลขเครื่องยนต์ประทับอยู่ที่ด้านซ้ายของเรือน
เครื่องยนต์
ท่านควรจะจดบันทึกหมายเลขเหล่านี้ไว้และเก็บรักษา
ไว้ในที่ที่ปลอดภัย

หมายเลขเครื่องยนต์

129
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ข้อสังเกต
น�้ำมันเชื้อเพลิงทั่วไปบางชนิดซึ่งผสมแอลกอฮอล์สามารถ การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
หาซื้อได้ในบางพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณไอเสียให้ตรง ซึ่งมีค่าเปอร์เซ็นต์ของแอลกอฮอล์สูงกว่าที่ได้รับรอง
ตามมาตรฐานอากาศสะอาดที่มีก�ำหนดไว้ ถ้าท่านวาง ไว้ อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่ชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ
แผนว่าจะใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ยาง และพลาสติกของระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงของท่าน
ขอให้ตรวจสอบดูว่าเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วและ ได้
มีค่าออกเทนอย่างน้อยที่สุดเท่ากับที่ได้ก�ำหนดไว้หรือไม่
ข้อมูลที่ควรทราบ

หากท่านสังเกตเห็นอาการผิดปกติของเครื่องยนต์หรือ
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ดังต่อไปนี้ พบว่าเครื่องยนต์มีปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการ
สามารถน�ำมาใช้กับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ท�ำงานให้ท่านลองเปลี่ยนไปใช้น�้ำมันยี่ห้ออื่นแทน
ท่านได้ :
• เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์) สูงสุด 20% โดยปริมาตร
น�้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งประกอบด้วยเอทานอล ซึ่งวางจ�ำ-
หน่ายภายใต้ชื่อทางการค้าว่า แก๊สโซฮอล์

130
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย

อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย ดังนั้นควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ เพื่อเป็นการ


รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้เป็นรถที่มีการติดตั้ง ป้องกันอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียในรถจักรยานยนต์
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย 3 ทาง ในอุปกรณ์แปรสภาพ ฮอนด้า A.T. ของท่าน
ไอเสียนี้ประกอบด้วยทองคำ�ขาว ซึ่งทำ�หน้าที่ในการเร่ง • ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น เพราะน�้ำมันที่มี
ปฏิกิริยาทางเคมีเมื่อมีอุณหภูมิสูง เพื่อเปลี่ยนไฮโดร- สารตะกั่วจะท�ำให้อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียเกิดความ
คาร์บอน (HC) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และไนโตร- เสียหายได้
เจนออกไซด์ (NOx) ในก๊าซไอเสียให้เป็นสารประกอบ • ดูแลเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี

ข้อมูลที่ควรทราบ
ที่ปลอดภัย ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม • นำ�รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริ-
การจากศูนย์บริการฮอนด้าถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียที่มีสภาพไม่สมบูรณ์หรือชำ�รุด ติด เครื่องยนต์ติดขัด หรือทำ�งานไม่เป็นปกติ ในกรณี
จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและทำ�ให้ประสิทธิภาพ ดังกล่าวขอให้ท่านหยุดรถและดับเครื่องยนต์
การทำ�งานของเครื่องยนต์ลดลง การเปลี่ยนระบบแปร
สภาพไอเสียอันใหม่จะต้องใช้อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรือ
อะไหล่ที่ทดแทนกันได้เท่านั้น

131
ข้อมูลทางเทคนิค
ส่วนประกอบหลัก ปริมาตรกระบอกสูบ 149.32 ซม.3 (9.109 cu-in)
รุ่น KF20 57.300 x 57.907 มม.
กระบอกสูบและระยะชัก
ความยาว 1,931 มม. (76.0 นิ้ว) (2.256 x 2.280 นิ้ว)
ความกว้าง 737 มม. (29.0 นิ้ว) อัตราส่วนการอัด 10.6 : 1
ความสูง 1,103 มม. (43.4 นิ้ว) น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วที่แนะน�ำ :
ระยะห่างช่วงล้อ 1,315 มม. (51.8 นิ้ว) น�้ำมันเชื้อเพลิง
ค่าออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ระยะห่างจากพื้น 138 มม. (5.4 นิ้ว) ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง 8.0 ลิตร
มุมแคสเตอร์ 27º 00´ YTZ6V
ระยะเทรล 86 มม. (3.4 นิ้ว) แบตเตอรี่
12V-5.0 Ah (10 HR)
ข้อมูลทางเทคนิค

น�้ำหนักสุทธิ 131 กก. (289 ปอนด์) ระบบส่งก�ำลังแบบ V-Matic


ความสามารถในการ อัตราทดขั้นต้น
132 กก. (291 ปอนด์) (2.4:1 - 0.80:1)
*1
รับน�้ำหนักสูงสุด อัตราทดขั้นสุดท้าย 10.751
น�้ำหนักสัมภาระ ช่องเก็บของอเนกประสงค์ 10 กก. (22.0 ปอนด์)
สูงสุดที่รับได้ ช่องเก็บของส่วนหน้า 1 กก. (2.2 ปอนด์)
ความสามารถใน
การบรรทุก ผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย 1 คน
รัศมีวงเลี้ยวแคบสุด 1.98 ม. (6.50 ฟุต)
*1 ประกอบด้วยน�้ำหนักของผู้ขับขี่ ผู้ซ้อนท้าย สัมภาระทั้งหมด และอุปกรณ์
เพิ่มเติมทั้งหมด
132
ข้อมูลทางเทคนิค
ข้อมูลบริการ น�้ำมันเครื่อง 4-AT ฮอนด้า
หน้า 90/90-14M/C 46P มาตรฐานเอพีไอ (API) : SG หรือสูงกว่า
ขนาดของยาง หลัง 100/90-14M/C 57P ไม่รวมถึงน�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอัน
น�้ำมันเครื่อง
ชนิดของยาง ยางธรรมดา ชนิดไม่มียางใน ที่แนะน�ำ ได้แก่ “Energy Conserving” หรือ “Resource
IRC SS-560F G Conserving” ปรากฏอยู่ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน
หน้า ความหนืด : SAE 10W-30

ยางที่แนะน�ำ DUNLOP TT900F
IRC SCT-004 มาตรฐาน JASO T903 : MB
หลัง หลังถ่ายน�้ำมันเครื่อง 0.8 ลิตร
DUNLOP TT900A
แรงดันลมยาง หน้า
2 2
200 กิโลปาสคาล (2.00 กก./ซม. , 29 ปอนด์/นิ้ว ) ความจุ หลังถ่ายน�้ำมันเครื่องและ
2 2
น�้ำมันเครื่อง ท�ำความสะอาดตะแกรง 0.9 ลิตร
[ขับขี่คนเดียว] หลัง 225 กิโลปาสคาล (2.25 กก./ซม. , 33 ปอนด์/นิ้ว )
กรองน�้ำมันเครื่อง

ข้อมูลทางเทคนิค
แรงดันลมยาง หน้า
2 2
200 กิโลปาสคาล (2.00 กก./ซม. , 29 ปอนด์/นิ้ว )
2 2 หลังผ่าเครื่อง 0.9 ลิตร
[มีผู้ซ้อนท้าย 1 คน] หลัง 250 กิโลปาสคาล (2.50 กก./ซม. , 36 ปอนด์/นิ้ว )
ความจุ หลังถ่ายน�้ำมันเฟืองท้าย 0.12 ลิตร
ความสึกของ หน้า 1.5 มม. (0.06 นิ้ว)
น�้ำมันเฟืองท้าย หลังผ่าเครื่อง 0.14 ลิตร
ดอกยางต�่ำสุด หลัง 2.0 มม. (0.08 นิ้ว) น�้ำมันเบรก
หัวเทียน (มาตรฐาน) CPR7EA-9 (NGK) น�้ำมันเบรกฮอนด้า DOT 3 หรือ DOT 4
ที่แนะน�ำ
ระยะห่างเขี้ยว ความจุน�้ำหล่อเย็น
0.8 - 0.9 มม. (0.03 - 0.04 นิ้ว) 0.48 ลิตร
หัวเทียน ทั้งระบบ
รอบเดินเบา 1,700 ± 100 รอบต่อนาที น�้ำหล่อเย็น
น�้ำหล่อเย็นแบบผสมแล้วของฮอนด้า
ที่แนะน�ำ

133
ข้อมูลทางเทคนิค
หลอดไฟต่างๆ อัตราการขันแน่น
ไฟหน้า LED ฝาปิดตะแกรงกรอง
20 นิวตัน-เมตร (2.0 กก.-ม., 15 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเบรก/ไฟท้าย LED น�้ำมันเครื่อง
ไฟเลี้ยวหน้า LED โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง 24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเลี้ยวหลัง LED
ไฟส่องป้ายทะเบียน LED
ไฟหรี่ LED

ฟิวส์
ข้อมูลทางเทคนิค

ฟิวส์หลัก 25 A
ฟิวส์อื่นๆ 10 A, 5 A

134
061216
PRINTED IN THAILAND

You might also like