You are on page 1of 100

คูมื่ อผู้ ใชรถจั

้ กรยานยนต์
UB27EXU3.book Page 1 Tuesday, October 17, 2017 1:39 PM

คูมื่ อผู้ ใชรถจั


้ กรยานยนต์

SR400
รถจักรยานยนต์
กรุณาอ‹this
Read านคู‹มmanual
ือนี้อย‹างละเอี ยดก‹อนการใชŒ
carefully before งานoper-
รถจั
atingกรยานยนต
this vehicle.

SR400
รถจักรยานยนต์
กรุณาอ‹this
Read านคู‹มmanual
ือนี้อย‹างละเอี ยดก‹อนการใชŒ
carefully before งานoper-
รถจั
atingกรยานยนต
this vehicle.

SR400
B27-28199-U3

[English (E)] DIC183

SR400
B27-28199-U3

[English (E)] DIC183


UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

UAU46091

กรุณาอานคูมือนี้อยางละเอียด กอนการใชงานรถจักรยานยนต เมื่อมีการซื้อขายรถจักรยานยนต ควรสงตอ


คูมอื นี้ไปกับรถดวย
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

คํานํา
UAU10103

ขอตอนรับสูโลกของการขับขี่รถจักรยานยนตยามาฮา!
รถจักรยานยนตยามาฮารุน SR400 เปนผลงานที่บรรจงสรางขึ้นจากประสบการณที่มีมายาวนานของยามาฮา และ
ดวยการนําการออกแบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช ทำใหสมรรถนะของรถจักรยานยนตดีเยี่ยม จึงทําใหลกู คา
ไววางใจในชือ่ เสียงของยามาฮา
กรุณาทําความเขาใจกับคูมือนี้ SR400 เพื่อผลประโยชนของทานเอง คูมือเลมนี้เปนการแนะนําการใชรถ
การตรวจสอบ ตลอดจนการบํารุงรักษารถจักรยานยนตอยางถูกวิธี โดยครอบคลุมถึงการปองกันและอันตราย
ตางๆ ที่จะเกิดขึ้นกับตัวทานเองอีกดวย
คูมือเลมนี้สามารถชวยเหลือทานไดดีที่สุดเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น ถาทานมีขอ สงสัยประการใด โปรดสอบถาม
ผูจําหนายยามาฮาไดทุกแหงทั่วประเทศ
ทางบริษัทฯ มีความปรารถนาใหทานมีความปลอดภัยและความพอใจในการขับขี่ รวมถึงความปลอดภัยเปน
อันดับหนึ่งเสมอ
ยามาฮามีการพัฒนาคุณภาพ รูปลักษณอยางตอเนื่องอยูเสมอ ในการจัดทําคูมือเลมนี้ ขอมูลทุกอยางจะเปนขอมูล
ที่ทันสมัยที่สุด ณ วันที่พิมพ ดังนั้นจึงอาจมีขอ แตกตางบางประการระหวางคูมือกับรถจักรยานยนตที่ไมตรงกัน
หากทานมีขอสงสัยใดๆ เกี่ยวกับคูมือเลมนี้ กรุณาติดตอ ผูจําหนายยามาฮา
UWA10032

คําเตือน
กรุณาอานคูมอื นี้อยางละเอียดและระมัดระวังกอนการใชรถจักรยานยนต
UB27EXU3.book Page 1 Wednesday, October 18, 2017 2:35 PM

ขอมูลคูม ือที่สําคัญ
UAU63350

รายละเอียดตอไปนี้จะชวยใหทานเขาใจเครื่องหมายและสัญลักษณในคูมือเลมนี้มากขึ้น:
นี่คือสัญลักษณเตือนความปลอดภัย แสดงการเตือนใหระวังอันตรายจากการไดรับ
บาดเจ็บตอบุคคลที่อาจเกิดขึ้นได ใหปฏิบตั ิตามขอมูลความปลอดภัยที่ตามหลัง
เครื่องหมายนี้ทั้งหมด เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บหรือการเสียชีวิตที่อาจเกิดขึ้นได

คําเตือนเพื่อแสดงถึงสถานการณอันตราย หากทานไมสามารถปฏิบัติตามได
คำเตือน อาจสงผลใหเกิดการเสียชีวิตหรือบาดเจ็บรายแรงได

ขอควรระวังเพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดความเสียหายตอรถจักรยานยนตหรือทรัพยสิน
ขอควรระวัง อื่น

ขŒอแนะนำ ขอแนะนําเพื่อใหมีความชัดเจนหรือเขาใจในคูมือมากยิ่งขึ้น

*ผลิตภัณฑและขอมูลจําเพาะอาจมีการเปลีย่ นแปลงไดโดยไมตองแจงใหทราบลวงหนา

UAU10201

SR400
คูมือผูใชรถจักรยานยนต
©2018 โดย บริษัท ยามาฮามอเตอร จํากัด
พิมพครั้งที่ 1, ตุลาคม 2017
หามทําการคัดลอก
พิมพซ้ําสวนหนึ่งสวนใดหรือทั้งหมดของคูมือเลมนี้ดวยวิธีการใดๆ
ของคูม ือเลมนี้ดวยวิธีการใดๆ ยกเวนไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจาก
บริษัท ยามาฮามอเตอร จํากัด
พิมพในประเทศญี่ปุน
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

สารบั ญ

สารบัญ
ตําแหนงฉลากตางๆ ที่สําคัญ ....................................... 1-1 การเปลี่ยนเกียร....................................................... 6-4
คําแนะนําวิธลี ดความสิ้นเปลืองน้ํามัน
วิธีแหงความปลอดภัย ................................................. 2-1 เชื้อเพลิง (วิธีการประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง) ........ 6-5
อาจถึงตายหรือพิการ หากไมสวมหมวกนิรภัย ....... 2-6 ระยะรันอินเครื่องยนต ............................................ 6-5
การจอดรถ.............................................................. 6-6
คําอธิบาย..................................................................... 3-1
มุมมองดานซาย ...................................................... 3-1 การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ .................... 7-1
มุมมองดานขวา ...................................................... 3-2 เครื่องมือประจํารถ ................................................. 7-2
การควบคุมและอุปกรณ ......................................... 3-3 ตารางการบํารุงรักษาตามระยะสําหรับระบบ
ควบคุมมลพิษแกสไอเสีย .................................. 7-4
อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม ................................ 4-1 ตารางการบํารุงรักษาและการหลอลื่นโดยทั่วไป ..... 7-5
สวิทชกุญแจ/การล็อคคอรถ.................................... 4-1 การถอดและการติดตั้งฝาครอบ.............................. 7-8
สัญญาณไฟและไฟเตือน ........................................ 4-2 การตรวจสอบหัวเทียน........................................... 7-9
ชุดมาตรวัดความเร็ว ............................................... 4-3 กลองดักไอน้ํามัน ................................................. 7-10
มาตรวัดรอบเครื่องยนต .......................................... 4-4 น้ํามันหลอลื่นและไสกรองน้ํามันหลอลื่น ............ 7-11
สวิทชแฮนด ............................................................ 4-4 การเปลี่ยนไสกรองอากาศ.................................... 7-14
คันคลัทช ................................................................ 4-6 การตรวจสอบความเร็วรอบเครื่องยนตเดินเบา..... 7-15
คันเปลี่ยนเกียร ........................................................ 4-6 การตรวจสอบระยะฟรีปลอกคันเรง ..................... 7-16
คันเบรคหนา ........................................................... 4-7 การปรับตั้งระยะหางวาลว .................................... 7-16
คันเบรคหลัง ........................................................... 4-7 ยาง........................................................................ 7-17
ฝาปดถังน้ํามันเชื้อเพลิง .......................................... 4-8 ลอซี่ลวด............................................................... 7-19
น้ํามันเชื้อเพลิง........................................................ 4-9 การปรับตั้งระยะฟรีคันคลัทช ............................... 7-19
ระบบบําบัดไอเสีย ................................................ 4-10 การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหนา ......................... 7-20
กอกน้ํามันเชื้อเพลิง .............................................. 4-11 การปรับตั้งความสูงของคันเบรคหลัง
คันสตารทเทา ....................................................... 4-11 และระยะฟรี .................................................... 7-21
คันลดแรงดัน ........................................................ 4-12 การตรวจสอบคันเปลี่ยนเกียร ............................... 7-23
เบาะนั่ง ................................................................. 4-12 สวิทชไฟเบรค ...................................................... 7-23
ที่แขวนหมวกกันน็อค .......................................... 4-13 การตรวจสอบผาเบรคหนาและผาเบรคหลัง ........ 7-24
การปรับตั้งชุดโชคอัพหลัง ................................... 4-13 การตรวจสอบระดับน้ํามันเบรค ........................... 7-25
ตะขอสายรัดสัมภาระ ........................................... 4-14 การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรค.................................... 7-26
ขาตั้งขาง............................................................... 4-15 ระยะหยอนโซขับ ................................................. 7-26
ระบบการตัดวงจรการสตารท ...............................4-15 การทําความสะอาดและการหลอลื่นโซขับ ........... 7-28
การตรวจสอบและการหลอลื่นสายควบคุม
เพื่อความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน ... 5-1 ตางๆ ................................................................ 7-29
การตรวจสอบและการหลอลื่นปลอกคันเรง
การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญ และสายคันเรง ................................................. 7-29
ของการขับขี่................................................................ 6-1 การตรวจสอบและการหลอลื่นคันเบรคและ
การสตารทเครื่องยนต............................................. 6-2 คันคลัทช.......................................................... 7-30
ปญหาในการสตารท............................................... 6-3 การตรวจสอบและการหลอลื่นคันเบรคหลัง ........ 7-30
UB27EXUA.book Page 2 Friday, August 18, 2017 8:55 AM

สารบัญ
การตรวจสอบและการหลอลื่นขาตั้งกลางและ
ขาตั้งขาง ..........................................................7-31
การหลอลื่นเดือยสวิงอารม ...................................7-31
การตรวจสอบโชคอัพหนา ...................................7-32
การตรวจสอบชุดบังคับเลี้ยว.................................7-32
การตรวจสอบลูกปนลอ........................................7-33
แบตเตอรี่ ..............................................................7-33
การเปลี่ยนฟวส .....................................................7-35
การเปลี่ยนหลอดไฟหนา ......................................7-37
การเปลี่ยนหลอดไฟหรี่.........................................7-38
การเปลี่ยนหลอดไฟเบรค/ไฟทาย.........................7-39
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว......................................7-40
ลอหนา .................................................................7-41
ลอหลัง..................................................................7-42
การแกไขปญหา ...................................................7-44
ตารางการแกไขปญหา..........................................7-45

การทําความสะอาดและการเก็บรักษา
รถจักรยานยนต ...........................................................8-1
ขอควรระวังเกี่ยวกับสีแบบผิวดาน .........................8-1
การดูแลรักษา .........................................................8-1
การเก็บรักษา ..........................................................8-4

ขอมูลจําเพาะ...............................................................9-1

ขอมูลสําหรับทานเจาของรถ.....................................10-1
ตัวเลขที่แสดงถึงขอมูลรถของทาน.......................10-1
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

ตําแหนงฉลากตางๆ ที่สําคัญ
UAU63360

ควรอานและทําความเขาใจกับฉลากบนรถจักรยานยนตทุกแผนใหละเอียด เนื่องจากมีขอมูลที่สําคัญเกีย่ วกับ


ความปลอดภัยและการใชงานรถจักรยานยนตที่ถูกตอง หามลอกแผนฉลากออกจากตัวรถเด็ดขาด หากขอความ
บนแผนเลือนลางจนอานไดยาก ทานสามารถซื้อแผนฉลากใหมไดที่ศูนยบริการยามาฮา 1

1 2

1-1
UB27EXUA.book Page 2 Thursday, August 10, 2017 4:19 PM

ตําแหนงฉลากตางๆ ที่สําคัญ
1

B27-2117B-02

B27-21668-00

1-2
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย
UAU1028B
ทําใหชนิ้ สวนเสียหายได ดูหนา 5-1 สําหรับรายการ
ตรวจสอบกอนการใชงาน
 รถจักรยานยนตนี้มีการออกแบบใหสามารถ
สิ่งที่เจาของรถจักรยานยนตตอ งรับผิดชอบ
บรรทุกทั้งผูขับขีแ่ ละผูโดยสารได
ในฐานะที่เปนเจาของรถจักรยานยนต ทานตองมี
 ผูขบ ั ขี่ที่ไมมีจิตสํานึกในการปฏิบัติตามกฎ
ความรับผิดชอบตอการใชงานรถจักรยานยนตให
จราจรมักจะเปนตนเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
ถูกตองและปลอดภัย 2
รถจักรยานยนตเปนยานพาหนะทางเดี่ยว ทั้งในรถยนตและรถจักรยานยนต หากอุบัติเหตุ
เกิดขึ้นเพราะผูขับรถยนตมองไมเห็น
การใชงานและขับขี่จกั รยานยนตอยางปลอดภัย
รถจักรยานยนต ทานตองทําใหผูขับรถยนต
ขึ้นอยูกับเทคนิคการขับขี่ที่ดี และความเชีย่ วชาญ
ของผูขบั ขี่ สิ่งจําเปนที่ควรทราบกอนการขับขี่ สามารถมองเห็นวาทานไดขับรถผานมาทางนี้
ซึ่งจะเปนการลดโอกาสที่จะทําใหเกิดอุบัติเหตุ
รถจักรยานยนตมีดังนี้
ได
สิ่งที่ควรทราบ:
และปฏิบัตดิ ังตอไปนี้:
 ไดรับคําแนะนําลักษณะการทํางานของอุปกรณ
 สวมเสื้อผาที่มีสีสวาง
สวนตางๆ ของรถจักรยานยนต
 ระมัดระวังการขับขี่รถเมื่อเขาใกลสี่แยกและ
 ปฏิบัติตามคําเตือนและการบํารุงรักษาตามคูมือ
ผานสี่แยก ซึ่งบริเวณเหลานี้มักเกิดอุบัติเหตุ
ผูใชรถจักรยานยนต
กับรถจักรยานยนตบอยครั้ง
 ไดรับการอบรมจากเจาหนาที่เกีย่ วกับ
 ในการขับขี่ ใหผูขับขี่คนอื่นๆ สามารถมอง
ขอกําหนดและเทคนิคในการขับขี่
เห็นทาน เพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดอุบัติเหตุ
 ควรเขารับบริการดานเทคนิคตามที่คูมือแนะนํา
 อยาทําการบํารุงรักษารถจักรยานยนตโดย
และ/หรือบํารุงรักษาโดยตองทราบขอมูลดาน
ปราศจากความรูที่ถูกตอง ติดตอตัวแทน
เทคนิค
จําหนายรถจักรยานยนตเพื่อใหขอมูล
 อยาใชงานรถจักรยานยนตโดยไมไดรับการ
เกีย่ วกับการบํารุงรักษาขั้นพื้นฐาน การ
ฝกสอน หรือคําแนะนําที่ถูกตอง เขาหลักสูตร
บํารุงรักษาแบบพิเศษตองกระทําโดย
ฝกอบรม ผูเริ่มตนควรไดรับไดฝกอบรมจาก
เจาหนาที่ที่ไดรับใบรับรองเทานัน้
ผูสอนที่ไดรับใบรับรอง ติดตอตัวแทนจําหนาย
รถจักรยานยนตเพื่อสอบถามเกีย่ วกับศูนยฝก
อบรมที่ใกลที่สุด

การขับขี่อยางปลอดภัย
ควรมีการตรวจสอบรถจักรยานยนตกอ นการขับขี่
ทุกครั้ง เพื่อใหอยูในสภาพการใชงานที่ปลอดภัย
หากไมมีการตรวจสอบหรือบํารุงรักษาที่ถูกตอง
อาจเปนการเพิ่มโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุหรือ

2-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย
 บอยครั้งที่การเกิดอุบัติเหตุมีสาเหตุมาจาก  ผูโดยสารควรจับผูขับขี่ และจับรถหรือจับ
ผูขับขี่ไมมีความชํานาญในการขับขี่ และยัง เหล็กกันตกไวเสมอโดยจับทั้งสองมือ และ
ไมมีใบอนุญาตในการขับขีร่ ถจักรยานยนต วางเทาทั้งสองขางไวบนที่พักเทาของ
 ทําการขอใบอนุญาตขับขี่และเรียนรูกฎ ผูโดยสาร หามบรรทุกผูโดยสารถาเขา
ขอบังคับของใบอนุญาตขับขี่ หรือเธอไมนั่งอยางถูกตอง และไมวางเทา
รถจักรยานยนตใหเขาใจ บนที่พักเทา
2  เมื่อขับขี่รถไมควรดื่มสุราหรือเสพยาเสพยติด
 ทราบถึงขอจํากัดและทักษะในการขับขี่รถ
อื่นๆ
เพื่อชวยใหทานสามารถหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ
 รถจักรยานยนตคันนี้ออกแบบขึ้นเพื่อใชงาน
ได
บนทองถนนเทานั้น จึงไมเหมาะสําหรับการ
 ทางบริษัทสนับสนุนใหทานขับขี่

รถจักรยานยนตตามกฎจราจร ซึ่งเมื่อทาน ใชงานทางวิบาก (off-road)


ทําตามกฎจราจรก็จะเกิดเปนความคุน เคย
จนติดเปนนิสัย เครือ่ งแตงกายทีเ่ หมาะสม
โดยสวนใหญคนที่เสียชีวิตดวยอุบัติเหตุจาก
 บอยครั้งที่อุบัติเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของ
รถจักรยานยนตมาจากการไดรับบาดเจ็บทางศีรษะ
ผูขับขี่ เชน วิ่งเขาโคงดวยความเร็วสูงเกินไป การสวมหมวกกันน็อคจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับผูขับขี่
ทําใหรถวิ่งเลยโคงของถนน หรือหักรถเขาโคง รถจักรยานยนตโดยเฉพาะ เพื่อปองกันอุบัติเหตุหรือ
มากเกินไป (เนื่องจากมุมเอียงของถนนไม ลดการบาดเจ็บทางศีรษะ
เอียงพอรองรับกับความเร็วของรถ)  สวมหมวกกันน็อคทุกครั้งเพื่อปองกันอุบัติเหตุ
 มีการปฏิบัติตามปายจํากัดความเร็ว และ  คลุมใบหนาหรือสวมแวนกันลม เพื่อปองกัน
ไมควรใชความเร็วเกินกวาปายจํากัด อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับสายตา ซึ่งสามารถชวย
ความเร็วของถนนตางๆ ลดการบาดเจ็บและชวยลดอันตรายทีจ่ ะเกิดขึ้น
 ทุกครั้งเมื่อมีการเลีย ้ วหรือเปลีย่ นเสนทาง ได
ควรมีการใหสัญญาณกอน เพื่อใหผูขับขี่  สวมเสื้อคลุม รองเทาที่แข็งแรง กางเกง ถุงมือ
รถคันอื่นเห็นอยางชัดเจน และอื่นๆ สามารถปองกันหรือลดรองรอยการ
 ทานั่งของผูขบ ั ขี่และผูโดยสารควรมีทานั่งที่ ถลอกได
 ไมควรสวมเสื้อผาที่หลวมหรือคับจนเกินไป
ถูกตอง
มิฉะนั้น อาจทําใหเสื้อผาไปพันกับคันเบรค
 ผูขับขี่ควรจับแฮนดรถทั้ง 2 ขาง และวางเทา
ที่พักเทาหรือลอ ทําใหเสียการควบคุมได ซึ่ง
บนที่พักเทาทั้ง 2 ขาง เพื่อควบคุมการขับขี่ เปนตนเหตุของการบาดเจ็บหรือการเกิด
รถจักรยานยนตใหดี อุบัติเหตุ
 สวมเสื้อผาคลุมทั้งขา ขอเทา และเทา เนื่องจาก
เครื่องยนตหรือทอไอเสียจะรอนมาก ขณะที่
กําลังทํางานหรือหลังการขับขี่ และสามารถ
ลวกผิวหนังได
 ผูโดยสารควรศึกษาทําความเขาใจกับคําแนะนํา
ขางตนใหเขาใจอยางถองแท ซึง่ จะเปนการชวย
ปองกันอุบัติเหตุไดดวย

2-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย
หลีกเลี่ยงควันพิษจากคารบอนมอน็อกไซด ควรมีการขับขี่ดวยความระมัดระวังเปนพิเศษ ดังนั้น
ไอเสียจากเครื่องยนตทั้งหมดมีสารคารบอนมอน็อก การบรรทุกหรือติดตั้งอุปกรณตกแตงเสริมของ
ไซดอยู ซึ่งเปนอันตรายถึงแกชีวิตได การหายใจโดย รถจักรยานยนต ใหปฏิบัติตามคําแนะนําดังตอไปนี้:
สูดสารคารบอนมอน็อกไซดเขาไปอาจทําใหปวด การรับน้ําหนักของผูขับขี่ ผูโดยสาร อุปกรณตกแตง
หรือเวียนศีรษะ เซื่องซึม คลืน่ ไส เปนลม และอาจถึง และสิ่งของบรรทุกจะมีผลตอความสามารถในการ
แกชีวิตได ขับขี่ การใชงานรถจักรยานยนตทมี่ ีน้ําหนักบรรทุก
2
คารบอนมอน็อกไซดเปนกาซที่ไมมีสี ไมมีกลิ่นและ มากเกินไป อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุได
ไมมีรส ซึ่งอาจมีอยูแตทานมองไมเห็นหรือไมได
กลิ่นกาซไอเสียใดๆ เลยก็ได ระดับความอันตราย น้ําหนักบรรทุกสูงสุด:
150 กก. (331 ปอนด)
ของคารบอนมอน็อกไซดสามารถเพิ่มขึน้ ไดรวดเร็ว
มากและทานอาจถูกปกคลุมจนเปนอันตรายถึงแก ขณะที่มีการบรรทุกของ ควรมีการระมัดระวังและ
ชีวิตได นอกจากนี้ ระดับความอันตรายของคารบอน เอาใจใสดังตอไปนี้:
มอน็อกไซดยังสามารถระเหยอยูไดหลายชัว่ โมงหรือ  สิ่งของบรรทุกและอุปกรณตกแตง ควรจะมี
หลายวันในบริเวณที่อากาศถายเทไดไมสะดวก หาก น้ําหนักเทาที่จําเปนเทานั้น และใหบรรจุแนบ
ทานพบวามีอาการคลายกับไดรับพิษจากคารบอน สนิทกับรถจักรยานยนต ใหบรรจุสิ่งของที่มี
มอน็อกไซดใหออกจากบริเวณนั้นทันที สูดอากาศ น้ําหนักมากสุดไวใกลตรงกลางของ
บริสุทธิ์ และพบแพทย รถจักรยานยนตใหมากที่สุด และกระจาย
 อยาติดเครื่องบริเวณพื้นที่ในอาคาร แมวาทาน น้ําหนักใหเทากันทั้ง 2 ขางของรถจักรยานยนต
ถายเทอากาศโดยใชพัดลมหรือเปดหนาตาง โดยมีความสมดุลและไมเสียการทรงตัว
และประตู เนื่องจากจะเปนการทําใหคารบอน  การเปลี่ยนน้ําหนักอาจจะทําใหเสียสมดุลทันที
มอน็อกไซดเพิ่มระดับความอันตรายไดรวดเร็ว จึงตองแนใจวาการบรรทุกน้ําหนักและการเพิ่ม
มาก อุปกรณตกแตงจะไมทําใหรถเสียสมดุล กอน
 อยาติดเครื่องบริเวณที่อากาศถายเทไดไม การขับขี่ ตรวจสอบสิ่งของที่ไมจําเปนและนํา
สะดวก หรือบริเวณที่ถูกปดลอมไวบางสวน ออกจากรถ
เชน โรงเก็บรถ โรงรถ หรือที่จอดรถซึ่งสราง  ปรับระบบกันสะเทือนใหเหมาะสมกับ
โดยการตอหลังคาจากดานขางตึก สิ่งของบรรทุก (สําหรับรุนที่ปรับระบบ
 อยาติดเครื่องนอกอาคารในบริเวณที่ไอเสีย กันสะเทือนไดเทานั้น) และตรวจสอบ
สามารถถูกดูดเขาไปในอาคารโดยผานชองเปด สภาพกับแรงดันลมยาง
ตางๆ เชน หนาตาง และประตู  ไมควรนําของที่มีขนาดใหญหรือมีน้ําหนัก

มากมาผูกติดกับแฮนดบังคับเลีย้ ว โชคอัพ
การบรรทุก หนา หรือบังโคลนหนา ตัวอยางเชน ถุงนอน
การเพิ่มอุปกรณตกแตงหรือสิ่งของบรรทุกจะทําให ถุงผาหม เต็นท เพราะจะทําใหการหักเลีย้ ว
รถจักรยานยนตรับน้ําหนักมากขึ้น สงผลใหบังคับ ไมดี หรือทําใหคอรถหมุนฝดได
ทิศทางไดไมดี ดังนั้นถาเปนไปได ควรหลีกเลี่ยงการ
ตกแตงหรือบรรทุกของในรถจักรยานยนต

2-3
UB27EXU0.book Page 4 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย
 รถจักรยานยนตรุนนี้ไมไดออกแบบมาเพื่อใช ควรทําตามคําแนะนําเชนเดียวกับหัวขอ “การบรรทุก”
ลากเทรลเลอรหรือติดรถพวงดานขาง เมื่อมีอุปกรณตกแตงเพิ่มขึน้ ดังนี้
 ไมควรติดตั้งอุปกรณตกแตงหรือบรรทุก
อุปกรณตกแตงแทของยามาฮา สิ่งของที่อาจจะทําใหรถเสียสมดุล เพราะจะ
การเลือกอุปกรณตกแตงสําหรับรถจักรยานยนตของ ทําใหสมรรถนะของรถจักรยานยนตลดลง
ทานเปนสิ่งสําคัญ อุปกรณตกแตงแท ของยามาฮา ดังนั้น กอนที่จะมีการติดตั้งอุปกรณเสริม
2
ซึ่งมีจําหนายที่ผูจําหนายยามาฮาเทานั้น จะไดรับการ เขาไปตองมีความระมัดระวังและตรวจสอบให
ออกแบบทดสอบและรับรองจากยามาฮาแลววา แนใจวาจะไมทําใหระยะความสูงใตทองรถ
เหมาะสม ในการใชงานกับรถจักรยานยนตของทาน ต่ําลงหรือมุมของการเลีย้ วนอยลง ระยะยุบตัว
บริษัทจํานวนมากที่ไมเกี่ยวของกับยามาฮา ไดผลิต ของโชคถูกจํากัด การหมุนคอรถหรือควบคุม
ชิน้ สวนและอุปกรณตกแตงหรือทําการดัดแปลง การทํางานไมได หรือมีการบดบังลําแสงของ
รถจักรยานยนตยามาฮา ทางยามาฮาไมไดทําการ ไฟหนาหรือทําใหเกิดการสะทอนเขาตาได
ทดสอบสินคาที่บริษัทเหลานี้ผลิต ดังนั้น ยามาฮา  การปรับแตงในสวนของแฮนดบังคับเลีย ้ว
จึงไมสามารถใหการรับประกันหรือแนะนําใหทานใช หรือโชคอัพหนาจะทําใหเกิดความไมเสถียร
อุปกรณตกแตงทดแทนที่ไมไดจําหนาย โดยยามาฮา เพราะการกระจายน้ําหนักของพื้นที่ไม
หรือการดัดแปลงที่ไมไดรับการแนะนําเปนกรณี สมดุล สูญเสียความลูล มตามหลักอากาศ
พิเศษ โดยยามาฮาได นอกจากสินคาที่มีการจําหนาย พลศาสตร ถามีการปรับแตงเพิ่มเติมบริเวณ
หรือติดตั้ง โดยผูจําหนายยามาฮาเทานั้น พื้นที่ของแฮนดบังคับเลีย้ วหรือโชคอัพหนา
สิ่งจําเปนที่ตองมีการคํานึงถึงคือในเรื่องของ
ชิ้นสวนหรืออุปกรณตกแตงทดแทน และการดัดแปลง ขนาดน้ําหนักที่ตองมีน้ําหนักเบาที่สุด
ทานอาจพบวาสินคาทดแทนเหลานี้มีการออกแบบ  อุปกรณตกแตงสวนใหญหรือสวนมากอาจจะ

และคุณภาพคลายกับ อุปกรณตกแตงแทของยามาฮา มีผลกระทบอยางรุนแรงในเรื่องของความ


โปรดระลึกวาอุปกรณตกแตงทดแทนหรือการ สมดุลของตัวรถจักรยานยนต เนื่องจาก
ดัดแปลงเหลานี้ไมเหมาะสมกับรถจักรยานยนต สงผลตอความลูล มตามหลักอากาศ
ของทาน เนื่องจากอันตรายที่อาจกับตัวทานหรือ พลศาสตร ซึ่งจะทําใหเสียการทรงตัว
ผูอื่น การติดตั้งสินคาทดแทนเหลานี้หรือทําการ เนื่องจากแรงลม อุปกรณตกแตงเหลานี้
ดัดแปลงรถจักรยานยนตโดยผูอื่น ซึ่งทําใหเกิดการ อาจจะทําใหเสียการทรงตัวเมื่อวิ่งผาน
เปลี่ยนแปลงตอลักษณะการออกแบบหรือการใชงาน รถยนตหรือพาหนะขนาดใหญ
รถจักรยานยนต สามารถทําใหทานหรือผูอื่นเกิดการ  เนื่องจากอุปกรณตกแตงตางๆ สามารถ

บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแกชวี ิตได และทานยังตอง ทําใหตําแหนงการขับขี่เปลีย่ นแปลงไป


รับผิดชอบตอการบาดเจ็บอันเนื่องมาจากการ ซึ่งจะทําใหการเคลื่อนไหวอยางอิสระของ
ดัดแปลงรถจักรยานยนตอีกดวย ผูขับขีม่ ีขอจํากัด จึงสงผลตอความสามารถ
ในการควบคุมรถจักรยานยนต ดังนัน้ จึง

2-4
UB27EXU0.book Page 5 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย
ไมแนะนําใหตกแตงรถดวยอุปกรณที่บริษัท หรือชิน้ สวนอื่นๆ ที่อาจแตกหักได) เลือก
ไมไดแนะนํา ตําแหนงสําหรับสายรัดใหเหมาะสม เพื่อไมให
 การใสอุปกรณไฟฟาเพิ่มขึ้นในรถจักรยานยนต สายรัดเสียดสีกับพื้นผิวที่เคลือบสีในระหวาง
หรือดัดแปลง ควรทําดวยความระมัดระวัง การขนยาย
อยางมาก ถาอุปกรณไฟฟาที่ติดตั้งนั้นมีขนาด  ระบบกันสะเทือนอาจมีแรงกระแทกบางจาก
กําลังไฟฟามากกวาระบบไฟฟาของ การยึดรถ แตกจ็ ะไมกระแทกมากเกินไปใน
2
รถจักรยานยนต จะทําใหเกิดความเสียหาย ระหวางการขนสง
และเปนตนเหตุของความเสียหายในระบบไฟ
หรือกําลังของเครื่องยนต

ยางหรือขอบลอทดแทน
ยางหรือขอบลอที่มาพรอมกับรถจักรยานยนตของ
ทานไดรับการออกแบบมาใหเหมาะสมกับสมรรถนะ
และใหความสอดคลองในการทํางานรวมกันกับ
ระบบการควบคุม การเบรค และความสบายที่สุดแลว
ยาง ขอบลอ และขนาดอื่นๆ อาจไมเหมาะสม ดูหนา
7-17 สําหรับขอมูลจําเพาะและรายละเอียดอื่นๆ
เกีย่ วกับยางเมื่อทําการเปลี่ยนยาง

การขนยายรถจักรยานยนต
ควรแนใจวาไดอานคําแนะนําตอไปนี้กอนทําการ
ขนยายรถจักรยานยนตดวยยานพาหนะอื่น
 ถอดชิ้นสวนที่หลุดงายทั้งหมดออกจาก
รถจักรยานยนต
 ตรวจสอบวากอกน้ํามันเชื้อเพลิง (ถามี) อยูใน
ตําแหนงปด “OFF” และไมมีน้ํามันเชือ้ เพลิง
รั่วไหล
 ปรับลอหนาใหตรงไปดานหนาเมื่ออยูบนรถ
ยก หรือแทนรองบนรถบรรทุก และใสราง
เพื่อปองกันไมใหเคลื่อนไหว
 เขาเกียร (สําหรับรุนเกียรธรรมดา)
 รัดรถจักรยานยนตดวยเชือกรัด หรือแถบรัด
ที่เหมาะสมซึ่งยึดชิน้ สวนตางๆ ที่แข็งของ
รถจักรยานยนต เชนโครง หรือแคลมปยึด
โชคอัพหนาดานบน (และไมรวมแฮนดบังคับ
เลีย้ วที่ทําจากยาง หรือไฟเลีย้ ว

2-5
UB27EXU0.book Page 6 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย
UAUU0033
การสวมหมวกทีถ่ ูกตอง
อาจถึงตายหรือพิการ หากไมสวมหมวกนิรภัย
การสวมหมวกนิรภัยที่ถกู ตองจะสามารถปองกัน
ศีรษะของผูข ับขี่จากอุบัตเิ หตุ โดยสวนใหญคนที่
เสียชีวิตดวยอุบตั ิเหตุจากรถจักรยานยนตมาจากการ
ไดรับบาดเจ็บทางศีรษะ การสวมหมวกกันน็อคจึง
2 เปนสิ่งจําเปนสําหรับผูขบั ขีร่ ถจักรยานยนตโดยเฉพาะ
เพื่อปองกันอุบัติเหตุหรือลดการบาดเจ็บทางศีรษะ
ZAUU0003
ควรเลือกหมวกนิรภัยที่ไดรับการรับรองเสมอ
ดังนั้นการเลือกหมวกนิรภัยจะตองคํานึงถึงคุณสมบัติ การสวมหมวกทีไ่ มถูกตอง
ดังหัวขอตอไปนี้
 เลือกหมวกนิรภัยที่มีความปลอดภัยตาม
มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
 หมวกนิรภัยจะตองกระชับกับศีรษะผูขับขี่
ไมควรคับหรือหลวมเกินไป
 ตองเปนหมวกนิรภัยที่ไมไดรับการกระแทก
อยางรุนแรงมากอน ZAUU0007

การสวมหมวกนิรภัยอยางถูกตอง ชนิดของหมวกนิรภัยและการใชงาน
เมื่อสวมหมวกนิรภัยตองแนใจวาสายรัดคางที่หมวก  หมวกนิรภัยแบบครึ่งใบ: เหมาะสมสําหรับ
นิรภัยไดรัดคางผูขับขีแ่ ลว ถาไมไดรัดจะทำใหหมวก การขับขี่ที่ความเร็วต่ําเทานั้น
นิรภัยเลื่อนหลุดจากศีรษะ ซึ่งอาจเกิดอุบัติเหตุตามมา

ZAUU0004

 หมวกนิรภัยแบบเต็มใบเปดหนา: เหมาะสม
สําหรับการขับขี่ที่ความเร็วต่ําถึงความเร็ว
ปานกลาง

2-6
UB27EXU0.book Page 7 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

วิธีแหงความปลอดภัย

ZAUU0005
2

 หมวกนิรภัยแบบเต็มใบ: เหมาะสมสําหรับ
การขับขี่ที่ความเร็วปานกลางถึงความเร็วสูง

ZAUU0006

2-7
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

คําอธิบาย
UAU63371

มุมมองดานซาย
1,2 3 4 5,6 7 8

10 9
1. เกจวัดระดับน้ํามันเครื่อง (หนา 7-11)
2. ฝาชองเติมน้ํามันเครื่อง (หนา 7-11)
3. ฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิง (หนา 4-8)
4. กอกน้ํามันเชื้อเพลิง (หนา 4-11)
5. แบตเตอรี่ (หนา 7-33)
6. ฟวส (หนา 7-35)
7. ที่แขวนหมวกกันน็อค (หนา 4-13)
8. ตะขอสายรัดสัมภาระ (หนา 4-14)
9. แหวนปรับตั้งสปริงพรีโหลดชุดโชคอัพหลัง (หนา 4-13)
10. คันเปลี่ยนเกียร (หนา 4-6)

3-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

คําอธิบาย
UAU63391

มุมมองดานขวา
1 2 3 4 5

8 7 6
1. ตะขอสายรัดสัมภาระ (หนา 4-14)
2. ไสกรองอากาศ (หนา 7-14)
3. คันสตารทเทา (หนา 4-11)
4. ไฟแสดงคันสตารท (หนา 6-2)
5. ไฟหนา (หนา 7-37)
6. คันเบรคหลัง (หนา 4-7)
7. เครื่องมือประจํารถ (หนา 7-2)
8. แหวนปรับตั้งสปริงพรีโหลดชุดโชคอัพหลัง (หนา 4-13)

3-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

คําอธิบาย
UAU63401

การควบคุมและอุปกรณ

1 2 3 4 5 6 7 8

10 9

1. คันคลัทช (หนา 4-6)


2. สวิทชแฮนดซา ย (หนา 4-4)
3. ชุดมาตรวัดความเร็ว (หนา 4-3)
4. สวิทชกุญแจ/ล็อคคอรถ (หนา 4-1)
5. มาตรวัดรอบเครื่องยนต (หนา 4-4)
6. กระปุกน้ํามันเบรคหนา (หนา 7-25)
7. สวิทชแฮนดขวา (หนา 4-4)
8. คันเบรคหนา (หนา 4-7)
9. ปลอกคันเรง (หนา 7-16)
10. คันลดแรงดัน (หนา 4-12)

3-3
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU10462 UAU1068B

สวิทชกุญแจ/การล็อคคอรถ LOCK (ล็อค)


คอรถถูกล็อค และระบบไฟฟาทุกวงจรดับ ลูกกุญแจ
ถอดออกได

การล็อคคอรถ
1 2

สวิทชกญุ แจ/การล็อคคอรถใชสําหรับควบคุมวงจร
4
ไฟจุดระเบิดและวงจรสัญญาณไฟในรถทั้งคัน และใช
ในการล็อคคอรถจักรยานยนต ซึ่งในตําแหนงตางๆ
มีคําอธิบายอยูดานลาง 1. กด
UAU33591
2. บิด
ON (เปด)
1. หมุนแฮนดบังคับไปทางดานซายจนสุด
ระบบไฟใชงานไดทุกวงจร; ไฟเรือนไมล ไฟทาย
2. เมื่อกุญแจอยูในตําแหนงปด “OFF” ใหกด
และไฟหรี่หนาจะสวางขึ้น และเครื่องยนตสามารถ
กุญแจเขา และหมุนไปที่ตําแหนงล็อค “LOCK”
สตารทติดได ลูกกุญแจถอดออกไมได
3. ดึงลูกกุญแจออก
ขอแนะนํา
เมื่อสตารทเครื่องยนต ไฟหนาจะติดโดยอัตโนมัติ ขอแนะนํา
ถาคอรถไมล็อค ใหลองหมุนแฮนดบังคับกลับไป
และจะติดจนกระทั่งบิดกุญแจไปที่ “OFF” แมวา
ทางขวาเล็กนอย
เครื่องยนตจะหยุดกลางคันก็ตาม
UAU10662 การปลดล็อคคอรถ
OFF (ปด)
ระบบไฟฟาทุกวงจรดับ ลูกกุญแจถอดออกได 1 2
UWA10062

คําเตือน
หามบิดลูกกุญแจไปที่ตําแหนงปด “OFF” หรือล็อค
“LOCK” ขณะที่รถจักรยานยนตกําลังเคลื่อนที่
มิฉะนั้น ระบบไฟฟาทัง้ หมดจะดับ ซึ่งอาจทําให
สูญเสียการควบคุมหรือเกิดอุบัติเหตุได
1. กด
2. บิด

4-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
จากตําแหนงล็อค “LOCK” ใหกดกุญแจเขา และหมุน UAU49399

ไปที่ตําแหนงปด “OFF”
สัญญาณไฟและไฟเตือน

UAU59680

(จอดรถ)
สามารถเปดไฟฉุกเฉินและไฟเลี้ยวได แตระบบไฟฟา
ทั้งหมดดับลง ลูกกุญแจถอดออกได
คอรถจะถูกล็อคกอนที่กุญแจจะหมุนไปที่ “ ”
UCA20760

ขอควรระวัง
1 2 345
การใชไฟฉุกเฉินหรือไฟเลี้ยวเปนเวลานาน อาจทำให
1. ไฟเตือนปญหาเครื่องยนต “ ”
แบตเตอรีห่ มดได
4 2. ไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลิง “ ”
3. สัญญาณไฟเกียรวาง “ ”
4. สัญญาณเตือนไฟสูง “ ”
5. สัญญาณไฟเลี้ยว “ ”

UAU11022

สัญญาณไฟเลี้ยว “ ”
สัญญาณไฟนี้จะกะพริบ เมื่อสัญญาณไฟเลี้ยวกะพริบ
UAU11061

สัญญาณไฟเกียรวาง “ ”
สัญญาณไฟนี้จะสวางขึ้นเมื่อเกียรอยูในตําแหนงเกียร
วาง
UAU11081

สัญญาณเตือนไฟสูง “ ”
สัญญาณไฟนี้จะสวางขึ้นเมื่อเปดสวิทชไฟสูง
UAU11354

ไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลิง “ ”
ไฟเตือนนี้จะสวางขึ้นเมื่อระดับน้ํามันเชื้อเพลิงตกลง
ต่ํากวาประมาณ 2.2 ลิตร (0.58 US gal, 0.48 Imp.gal)
เมื่อเกิดเหตุการณเชนนี้ ควรเติมน้ํามันโดยเร็วที่สุด

4-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
สามารถตรวจสอบวงจรไฟฟาของไฟเตือนนี้โดยการ UAU11631

บิดสวิทชกญ ุ แจไปตําแหนงเปด “ON” ไฟเตือนนี้


ชุดมาตรวัดความเร็ว
ควรติดขึ้น 2-3 วินาที แลวดับไป 1 2 3 4
หากไฟเตือนนี้ไมติดขึ้นทันทีที่บิดสวิทชกุญแจไปที่
ตําแหนงเปด “ON” หรือไฟเตือนติดสวางคาง โปรด
ติดตอผูจําหนายยามาฮาเพื่อตรวจสอบวงจรไฟฟา
UAU11486

ไฟเตือนปญหาเครื่องยนต “ ”
ไฟเตือนนี้จะติดขึ้น เมื่อตรวจพบปญหาในระบบวงจร
ไฟฟาที่ควบคุมเครื่องยนต ถาเกิดปญหาในกรณีนี้ 1. ปุมรีเซ็ท
โปรดนํารถจักรยานยนตเขาตรวจสอบที่ผูจําหนาย 2. มาตรวัดความเร็ว 4
ยามาฮา 3. มาตรวัดระยะทาง
สามารถตรวจสอบวงจรไฟฟาของไฟเตือนนี้โดยการ 4. มาตรวัดชวงระยะทาง
บิดสวิทชกญ ุ แจไปตําแหนงเปด “ON” ไฟเตือนนี้
ควรติดขึ้น 2-3 วินาที แลวดับไป ชุดมาตรวัดความเร็วประกอบไปดวย มาตรวัด
หากไฟเตือนนี้ไมติดขึ้นทันทีที่บิดสวิทชกุญแจไปที่ ความเร็ว มาตรวัดระยะทาง และมาตรวัดชวง
ตําแหนงเปด “ON” หรือไฟเตือนติดสวางคาง โปรด ระยะทาง มาตรวัดความเร็วจะแสดงความเร็วในการ
ขับขี่ มาตรวัดระยะทางจะแสดงระยะเดินทางทั้งหมด
ติดตอผูจําหนายยามาฮาเพื่อตรวจสอบวงจรไฟฟา
มาตรวัดระยะทางจะแสดงระยะทางที่เดินทาง ตั้งแต
เซ็ทคาเปนศูนยครั้งลาสุดดวยปุมรีเซ็ท มาตรวัด
ระยะทางสามารถใชเพื่อประเมินระยะทางที่สามารถ
ใชเดินทางไดดวยน้ํามันเชื้อเพลิงเต็มถัง ขอมูลนี้จะ
ชวยใหคุณวางแผนในการเติมน้ํามันครั้งตอไปได

4-3
UB27EXU0.book Page 4 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU11882 UAU1234K

มาตรวัดรอบเครื่องยนต สวิทชแฮนด
ดานซาย
1
1

1. มาตรวัดรอบเครื่องยนต
4 2. พื้นที่สแี ดงของมาตรวัดรอบเครื่องยนต 1. สวิทชไฟสูง/ต่ํ า “ / ”
2. สวิทชไฟขอทาง “ ”
มาตรวัดรอบเครื่องยนตจะบอกใหผูขับขี่ทราบถึง
ความเร็วรอบเครื่องยนต และคงระดับใหอยูในชวง
กําลังความเร็วรอบเครื่องยนตที่ตองการ
UCA10032

ขอควรระวัง
หามใหเครื่องยนตทํางานในพื้นที่สีแดงของมาตรวัด 1
รอบเครื่องยนต 2
พื้นที่สีแดง: 7,000 รอบตอนาที ขึน้ ไป

1. สวิทชไฟเลี้ยว “ / ”
2. สวิทชแตร “ ”

ดานขวา

1. สวิทชดับเครื่องยนต “ / ”
2. สวิทชไฟฉุกเฉิน “ ”

UAU12352

สวิทชไฟขอทาง “ ”
เมื่อตองการกะพริบไฟหนา ใหกดที่สวิทชนี้
4-4
UB27EXU0.book Page 5 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UCA10062

ขอแนะนํา ขอควรระวัง
เมื่อตั้งสวิทชไฟสูง/ต่ําเปน “ ” จะไมมีผลกระทบ
หามใชไฟฉุกเฉินเปนระยะเวลานาน เมือ่ เครื่องยนต
กับสวิทชไฟขอทาง
ไมไดทํางาน มิฉะนั้นแบตเตอรี่อาจจะหมดได
UAU12401

สวิทชไฟสูง/ต่ํ า “ / ”
เลือ่ นสวิทชไฟนี้ใหอยูที่ “ ” สําหรับเปดไฟสูง
และเลือ่ นสวิทชไฟใหอยูที่ “ ” สําหรับเปดไฟต่ํา
UAU12461

สวิทชไฟเลี้ยว “ / ”
เมื่อตองการใหสัญญาณไฟเลี้ยวขวา ดันสวิทชไปที่
4
ตําแหนง “ ” สัญญาณไฟเลีย้ วดานขวาจะติด เมือ่
ตองการใหสัญญาณไฟเลี้ยวซาย ดันสวิทชไปที่
ตําแหนง “ ” สัญญาณไฟเลีย้ วดานซายจะติด เมื่อ
ปลอยสวิทช สวิทชจะมาอยูที่ตําแหนงตรงกลาง เมื่อ
ตองการยกเลิกสัญญาณไฟเลี้ยว ใหกดปุมตรงกลาง
สวิทชไฟ
UAU12501

สวิทชแตร “ ”
เมื่อตองการใชสัญญาณแตรใหกดที่สวิทชแตร
UAU12662

สวิทชดับเครื่องยนต “ / ”
กดสวิทชที่ตําแหนง “ ” กอนสตารท กดสวิทชที่
ตําแหนง “ ” เพื่อดับเครื่องยนตในกรณีฉุกเฉิน เชน
เมื่อรถจักรยานยนตลม หรือสายคันเรงติด
UAU12735

สวิทชไฟฉุกเฉิน “ ”
เมื่อหมุนกุญแจไปที่ตําแหนง “ON” หรือ “ ” ใช
สวิทชนี้เพื่อเปดไฟฉุกเฉิน (ไฟเลีย้ วทุกดวงกะพริบ
ในเวลาเดียวกัน)
ไฟฉุกเฉินจะถูกใชในกรณีฉกุ เฉินหรือเตือนผูขับ
คนอื่นๆ เมื่อคุณจอดรถในที่ซึ่งการจราจรหนาแนน

4-5
UB27EXU0.book Page 6 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU12822 UAU12872

คันคลัทช คันเปลี่ยนเกียร

1
1. คันคลัทช 1. คันเปลี่ยนเกียร
4
คันคลัทช ติดตั้งอยูที่ดานซายของแฮนดบังคับ ในการ คันเปลี่ยนเกียรติดตั้งอยูทางดานซายของรถ
ใชงานคลัทช ใหบีบคันคลัทชเขากับปลอกแฮนด จักรยานยนตและใชรวมกับคันคลัทชเมื่อตองการ
บังคับเลีย้ ว ในการเลิกใชงานคลัทช ใหปลอย เปลีย่ นเกียร ในระบบสงกําลังเฟองตรงคงที่ความเร็ว
คันคลัทช ควรบีบคันคลัทชอยางรวดเร็ว และปลอย 5 ระดับซึ่งติดตั้งอยูในรถจักรยานยนตนี้
อยางชาๆ เพื่อใหคลัทชทํางานไดอยางราบรื่น
คันคลัทชนี้ไดติดตั้งสวิทชคลัทชอยูดวย ซึ่งเปน
สวนหนึ่งของระบบการตัดวงจรการสตารท
(ดูหนา 4-15)

4-6
UB27EXU0.book Page 7 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU12892 UAU12944

คันเบรคหนา คันเบรคหลัง
1
1

1. คันเบรคหนา 1. คันเบรคหลัง
4
คันเบรคหนาติดตั้งอยูที่ติดตั้งอยูที่ดานขวาของแฮนด คันเบรคหลังติดตั้งอยูทางดานขวาของรถ
บังคับเลีย้ ว ในการเบรคลอหนา ใหบีบคันเบรคเขากับ จักรยานยนต ในการเบรคลอหลัง ใหเหยียบ
ปลอกคันเรง คันเบรคหลังลง

4-7
UB27EXU0.book Page 8 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU13125

ฝาปดถังน้ํามันเชื้อเพลิง ขอแนะนํา
ฝาถังน้ํามันเชือ้ เพลิงจะไมสามารถปดได หากกุญแจ
เมือ่ ตองการเปดฝาปดถังน้ํามันเชื้อเพลิง ไมอยูในตัวล็อค นอกจากนี้ ก็จะยังดึงกุญแจออกไมได
หากปดและล็อคฝาปดไมถกู ตอง
UWA10132

1 คําเตือน
หลังจากมีการเติมน้ํามันเชื้อเพลิง ตรวจสอบใหแนใจ
วาไดปดฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิงแนนสนิทแลว น้ํามัน
2
เชื้อเพลิงที่รั่วออกมาอาจทําใหเกิดอันตรายจากเพลิง
ไหมได
4
1. ปลดล็อค
2. ฝาครอบตัวล็อคฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิง

เลื่อนเปดฝาครอบตัวล็อคฝาปดถังน้ํามันเชือ้ เพลิง
เสียบกุญแจเขากับตัวล็อค แลวบิดตามเข็มนาฬิกาไป
1/4 รอบ จะเปนการปลดตัวล็อค และสามารถเปด
ฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิงได

การปดฝาปดถังน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ใสฝาปดถังน้ํามันเชื้อเพลิงเขาไปในที่เปด
ถังน้ํามันโดยใชกญุ แจที่สอดเขาไปในชองล็อค
และใหหันเครื่องหมาย “ ” ไปดานหนา

1. แสดงตําแหนงการปรับตั้ง “ ”
2. ฝาครอบตัวล็อคฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิง

2. บิดกุญแจทวนเข็มนาฬิกากลับไปตําแหนงเดิม
แลวดึงกุญแจออกแลวปดฝาครอบตัวล็อค

4-8
UB27EXU0.book Page 9 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU13222
3. เช็ดน้ํามันเชือ้ เพลิงที่หกทันที ขอควรระวัง:
น้ํามันเชื้อเพลิง เช็ดน้ํามันเชื้อเพลิงที่หกทันทีดวยผาสะอาด
ดูใหแนใจวามีน้ํามันเชือ้ เพลิงในถังเพียงพอ แหง และนุม เนื่องจากน้ํามันเชื้อเพลิงอาจทํา
UWA10882

คําเตือน ความเสียหายใหกับสีรถหรือชิ้นสวนพลาสติก
น้ํามันเบนซินและไอน้ํามันเบนซินเปนสารไวไฟสูง [UCA10072]

ใหปฏิบัตติ ามคําแนะนําตอไปนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการ 4. ดูใหแนใจวาไดปดฝาปดถังน้ํามันเชื้อเพลิงแนน


เกิดเพลิงไหมและการระเบิด และเพื่อการลดโอกาส สนิทดีแลว
UWA15152

ในการไดรับบาดเจ็บขณะเติมน้ํามันเชื้อเพลิง คําเตือน
1. กอนเติมน้ํามันเชื้อเพลิง ใหดับเครื่องยนตกอน น้ํามันเบนซินเปนสารมีพิษ และสามารถทําให
และดูใหแนใจวาไมมีผูใดนั่งอยูใกลกบั บาดเจ็บหรือเสียชีวิตได ตองใชดวยความระมัดระวัง
รถจักรยานยนต หามเติมน้ํามันเชือ้ เพลิงขณะ หามใชปากดูดน้ํามันเบนซิน หากทานกลืนน้ํามัน 4
สูบบุหรี่ หรือขณะที่อยูใกลกับประกายไฟ เบนซินเขาไปเพียงเล็กนอย หรือสูดไอน้ํามันเบนซิน
เปลวไฟ หรือ แหลงจุดระเบิดตางๆ เชน ไฟ เขาไปจํานวนมาก หรือน้ํามันเบนซินเขาตา ใหไป
แสดงการทํางานของเครื่องทําน้ํารอน และ พบแพทยทันที หากน้ํามันเบนซินสัมผัสผิวหนัง ให
เครื่องอบผา ลางดวยสบูและน้ํา หากน้ํามันเบนซินเลอะเสือ้ ผา
2. ไมควรเติมน้ํามันเชือ้ เพลิงจนลนถัง เมื่อเติม ใหเปลี่ยนเสื้อผาทันที
น้ํามันเชื้อเพลิงตองแนใจวาไดใสหัวจาย
น้ํามันเชื้อเพลิงไปยังชองเติมถังน้ํามันเชือ้ เพลิง UAU54993

หยุดเติมเมื่อระดับน้ํามันเชื้อเพลิงถึงปลายทอ
เติมน้ํามัน เนื่องจากน้ํามันเชื้อเพลิงจะขยายตัว น้ํามันเชื้อเพลิงที่แนะนํา:
เมื่อรอนขึ้น ความรอนจากเครื่องยนตหรือ น้ํามันเบ็นซินไรสารตะกั่วหรือน้ํามันแกสโซฮอล
แสงอาทิตยอาจทําใหน้ํามันเชือ้ เพลิงไหลลน (E10)
ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง:
ออกมาจากถังได 12 ลิตร (3.2 US gal, 2.6 Imp.gal)
ความจุการสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง (เมื่อไฟเตือนระดับ
1 2
น้ํามันเชื้อเพลิงสํารองสวาง):
2.2 ลิตร (0.58 US gal, 0.48 Imp.gal)
UCA11401

ขอควรระวัง
ใชเฉพาะน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่วเทานั้น การใช
น้ํามันเบนซินที่มีสารตะกั่วจะทําใหชิ้นสวนภายใน
ของเครื่องยนต เชน วาลวและแหวนลูกสูบรวมทั้ง
1. ระดับน้ํามันเชื้อเพลิงสูงสุด
ระบบไอเสียเสียหายได
2. ทอเติมของถังน้ํามันเชื้อเพลิง
เครื่องยนตยามาฮาของทานถูกออกแบบมาสําหรับ
น้ํามันเบนซินไรสารตะกั่ว ที่มีคา ออกเทน RON 91
ขึ้นไป หากเครื่องน็อค (หรือมีเสียงดัง) ใหเปลี่ยน
4-9
UB27EXU0.book Page 10 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
ไปใชน้ํามันเบนซินยี่หออื่นๆ หรือน้ํามันเบนซิน UAU13434

ไรสารตะกั่วพิเศษ การใชน้ํามันเชือ้ เพลิงไรสารตะกั่ว


ระบบบําบัดไอเสีย
จะชวยยืดอายุการใชงานของหัวเทียน และลดคา รถจักรยานยนตรุนนี้มีระบบบําบัดไอเสีย (catalytic
บํารุงรักษาไดอีกดวย converter) ภายในระบบไอเสียของรถ
UWA10863
น้ํามันเชื้อเพลิงแกสโซฮอล คําเตือน
แกสโซฮอลมี 2 ประเภทคือ: แกสโซฮอลที่มีสวนผสม ระบบไอเสียจะมีความรอนหลังจากมีการใชงาน เพื่อ
ของเอทานอลแอลกอฮอล และอีกประเภทหนึ่งมี ปองกันอันตรายจากไฟไหมหรือไฟลวก:
สวนผสมของเมทานอลแอลกอฮอล ทานสามารถ  หามจอดรถจักรยานยนตใกลกับบริเวณที่อาจ
ใชแกสโซฮอลในรถจักรยานยนตยามาฮาได หากมี เกิดอันตรายจากไฟไหม เชน หญาหรือวัสดุอื่น
สวนผสมของเอทานอลแอลกอฮอลไมเกิน 10% (E10) ที่ติดไฟงาย
ทางยามาฮาไมแนะนําใหใชแกสโซฮอลที่มีสวนผสม  จอดรถจักรยานยนตในทีท ่ ี่ไมมีเด็กหรือคนเดิน
4
ของเมทานอลแอลกอฮอล เพราะอาจทําใหเกิดความ พลุกพลาน เพื่อใหไมไดรับอันตรายจากการ
เสียหายตอระบบน้ํามันเชือ้ เพลิงหรือเกิดปญหา สัมผัสกับระบบไอเสีย
ประสิทธิภาพของรถจักรยานยนต  ตองแนใจวาระบบไอเสียเย็นลงแลวกอนทําการ
ซอมบํารุง
 อยาปลอยใหเครื่องยนตเดินเบานานเกินกวา
2-3 นาที การปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาเปน
เวลานานจะทําใหเครื่องยนตรอนเกินไป
UCA10702

ขอควรระวัง
ใชเฉพาะน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่วเทานั้น การใช
น้ํามันเบนซินที่มสี ารตะกั่วจะทําใหระบบบําบัด
ไอเสียเสียหายจนอาจซอมไมได

4-10
UB27EXU0.book Page 11 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU59491 UAU13651

กอกน้ํามันเชื้อเพลิง คันสตารทเทา
กอกน้ํามันเชือ้ เพลิงจะควบคุมและกรองการจาย
น้ํามันเชื้อเพลิงจากถังน้ํามันเชือ้ เพลิง
กอกน้ํามันเชือ้ เพลิงมีสองตําแหนง:

ON (เปด)

1
1. คันสตารทเทา
4
การสตารทเครื่องยนต ใหกางคันสตารทออก เหยียบ
ลงดานลางเบาๆ จนกระทั่งเขาเกียร จากนั้นกดลงอยาง
1 ราบรื่นโดยใชแรง ในรุนนี้มีคันสตารทเทาหลัก ซึ่งจะ
ชวยใหเครื่องยนตสตารทในเกียรใดก็ได ถาปลอย
1. เครื่องหมายลูกศรอยูที่ตําแหนงเหนือ “ON”
คลัทชไว อยางไรก็ตาม แนะนําใหเปลีย่ นเกียรไปอยู
เมื่อคันปรับอยูในตําแหนงนี้ น้ํามันเชื้อเพลิงจะจาย ในตําแหนงเกียรวางกอนการสตารท
ไปยังเครื่องยนต การทํางานจะเปนปกติเมือ่ คันปรับ
อยูในตําแหนงนี้

OFF (ปด)

1. เครื่องหมายลูกศรอยูที่ตําแหนงเหนือ “OFF”

เมื่อคันปรับอยูในตําแหนงนี้ น้ํามันเชื้อเพลิงจะไม
ไหล ใชคันปรับตําแหนงนี้เมื่อทําการบํารุงรักษา
รถจักรยานยนต หรือเมื่อเก็บรถไวเปนเวลานาน

4-11
UB27EXU0.book Page 12 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU13701 UAU13962

คันลดแรงดัน เบาะนั่ง

การถอดเบาะนั่ง
ถอดโบลทออก และจากนั้นดึงเบาะนั่งออกไป

1
1 1
1. คันลดแรงดัน
4
เมื่อดึงคันปรับนี้ วาลวไอเสียจะถูกเปดโดยใชแรง เพื่อ
ใหลดแรงดันบีบอัดลง ซึ่งจะชวยใหลกู สูบเลื่อนผาน
1. โบลท
จังหวะการอัด กอนจะสตารทเทา (ดูหนา 6-2)
การใสเบาะนั่ง
1. เสียบเดือยที่ดานหนาของเบาะนั่งเขาไปในที่ยึด
เบาะนั่ง ตามที่แสดงไว
2
1

1. ที่ยึดเบาะ
2. เขีย้ วล็อค

2. วางเบาะนั่งในตําแหนงเดิม แลวขันโบลท
ใหแนน
ขอแนะนํา
เพื่อความปลอดภัย ควรตรวจสอบใหแนใจวาเบาะรถ
ปดสนิทกอนการขับขี่

4-12
UB27EXU0.book Page 13 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU14283 UAU14883

ที่แขวนหมวกกันน็อค การปรับตั้งชุดโชคอัพหลัง
UWA10211

2 คําเตือน
ปรับชุดโชคอัพหลังทั้งคูใหเทากันเสมอ มิฉะนั้นอาจ
ทําใหประสิทธิภาพการบังคับเลี้ยวลดลง และสูญเสีย
การทรงตัวได

1
ชุดโชคอัพหลังแตละชุด มีการติดตั้งคันปรับตั้ง
แหวนปรับสปริงโชค
UCA10102

1. ที่แขวนหมวกกันน็อค ขอควรระวัง
2. ปลดล็อค เพื่อปองกันกลไกชํารุดเสียหาย อยาพยายามหมุนเกิน 4
กวาคาสูงสุดหรือต่ําสุด
การเปดที่แขวนหมวกกันน็อค ใหเสียบกุญแจเขาไป
ในล็อค จากนั้นหมุนกุญแจตามที่แสดง ปรับตั้งสปริงโชคดังตอไปนี้
การล็อคที่แขวนหมวกกันน็อค ใหวางไวในตําแหนง ในการเพิ่มแรงสปริงโชคและทําใหระบบกันสะเทือน
เดิม และจากนั้นถอดกุญแจออก คําเตือน! อยาขับขี่ แข็งขึ้น ใหหมุนแหวนปรับตั้งบนชุดโชคอัพหลัง
รถโดยแขวนหมวกกันน็อคไวกับที่แขวน เพราะ แตละชุด ไปในทิศทาง (a) ในการลดแรงสปริงโชค
หมวกกันน็อคอาจไปชนกับวัตถุตางๆ จะทําใหรถ และทําใหระบบกันสะเทือนนุมขึ้น ใหหมุนแหวน
เสียการทรงตัว และเกิดอุบัติเหตุได [UWA10162] ปรับตั้งบนชุดโชคอัพหลังแตละชุด ไปในทิศทาง (b)
จัดแนวรองบากที่เหมาะสมในแหวนปรับตั้ง ใหตรง
กับตัวแสดงตําแหนงบนโชคอัพหลัง

1
(a) 2
(b) 3
4
5

1. แหวนปรับตั้งสปริงโชค

4-13
UB27EXU0.book Page 14 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU15191
การปรับตั้งสปริงโชค: ตะขอสายรัดสัมภาระ
ต่ําสุด (นุม):
1
มาตรฐาน:
1
สูงสุด (แข็ง):
5
1

1. ตะขอสายรัดสัมภาระ
4
ตะขอสายรัดสัมภาระทั้งสี่จะอยูใตดานหลังของเบาะ
นั่ง

4-14
UB27EXU0.book Page 15 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม
UAU15306 UAU66820

ขาตั้งขาง ระบบการตัดวงจรการสตารท
ขาตั้งขางติดตั้งอยูดานซายของโครงรถ ยกขาตั้งขาง ระบบการตัดวงจรการสตารท (ประกอบดวยสวิทช
ขึ้น หรือเหยียบลงดวยเทาโดยจับตัวรถใหตั้งตรง ขาตั้งขาง สวิทชคลัทช และสวิทชเกียรวาง) มีหนาที่
ขอแนะนํา ใชงานดังตอไปนี้
สวิทชขาตั้งขางแบบติดตั้งมากับรถเปนสวนหนึ่ง  ปองกันการสตารทเมื่อระบบสงกําลังเขาเกียร
ของระบบการตัดวงจรการสตารท ซึ่งจะตัดการจุด อยู และยกขาตั้งขางขึ้นแลว แตไมไดกํา
ระเบิดในบางสถานการณ (ดูหัวขอตอไปนี้สําหรับ คันคลัทช
คําอธิบายเกี่ยวกับระบบการตัดวงจรการสตารท)  ปองกันการสตารทเมื่อระบบสงกําลังเขาเกียร
UWA10242
อยูและกําคันคลัทชแลว แตไมไดยกขาตั้งขาง
คําเตือน ขึ้น
 ดับเครื่องยนตที่กําลังทํางานเมื่อระบบสงกําลัง 4
หามขับขีร่ ถจักรยานยนตโดยไมไดยกขาตั้งขางขึ้น
หรือขาตั้งขางฝด และไมสามารถเก็บขึน้ ได (หรือ เขาเกียรอยู และขาตั้งขางเลือ่ นหลนลง
ใหตรวจสอบการทํางานของระบบการตัดวงจรการ
เลื่อนหลนลงได) มิฉะนั้น ขาตั้งขางอาจสัมผัสพื้น
และรบกวนสมาธิของผูขบั ขี่ ทําใหเสียการทรงตัวได สตารทเปนประจําตามขั้นตอนตอไปนี้
ระบบการตัดวงจรการสตารทของยามาฮา ออกแบบ
ขึน้ เพื่อชวยเตือนใหผูขบั ขี่ไมลืมยกขาตั้งขางขึน้ กอน
จะเริ่มออกตัว ดังนั้น ควรตรวจสอบระบบนี้เปน
ประจําและใหผูจําหนายยามาฮาทําการซอมบํารุง
หากระบบทํางานไมถูกตอง

4-15
UB27EXU0.book Page 16 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

อุปกรณและหนาที่ในการควบคุม

เมื่อเครื่องยนตดับอยู‹: คำเตือน
1. เลื่อนขาตั้งขŒางลง • ในระหว‹างทำการตรวจสอบระบบ ตŒองตั้งรถจักรยานยนต
2. ตรวจสอบใหŒแน‹ใจว‹าไดŒตั้งสวิทชดับเครื่องยนต บนขาตั้งกลาง
ไวŒŒที่ “ ” • หากพบการทำงานผิดปกติ ใหŒนำรถจักรยานยนตเขŒา
3. บิดกุญแจไปที่ตำแหน‹ง “ON” ตรวจสอบระบบที่ผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹าก‹อนขับขี่
4. เขŒาเกียรว‹าง
5. กดสวิทชสตารท
เครื่องยนตติดหรือไม‹

สวิทชเกียรว‹างอาจทำงานไม‹ถูกตŒอง
ใช‹ ไม‹ใช‹ ไม‹ควรขับขี่รถจักรยานยนต จนกว‹าจะไดŒรับการตรวจสอบ
4
จากผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า

เมื่อเครื่องยนตยังคงทำงาน:
6. เลื่อนขาตั้งขŒางขึ้น
7. ดึงคันคลัทชคŒางไวŒ
8. เขŒาเกียร
9. เลื่อนขาตั้งขŒางลง
เครื่องยนตดับหรือไม‹

สวิทชขาตั้งขŒางอาจทำงานไม‹ถูกตŒอง
ใช‹ ไม‹ใช‹ ไม‹ควรขับขี่รถจักรยานยนต จนกว‹าจะไดŒรับการตรวจสอบ
จากผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า

หลังจากเครื่องยนตดับไป:
10. เลื่อนขาตั้งขŒางขึ้น
11. ดึงคันคลัทชคŒางไวŒ
12. กดสวิทชสตารท
เครื่องยนตติดหรือไม‹
สวิทชคลัทชอาจทำงานไม‹ถูกตŒอง
ใช‹ ไม‹ใช‹ ไม‹ควรขับขี่รถจักรยานยนต จนกว‹าจะไดŒรับการตรวจสอบ
จากผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า

ระบบเปšนปกติ สามารถขับขี่รถจักรยานยนตไดŒ

4-16
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

เพื่อความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน
UAU63440

ตรวจสอบรถจักรยานยนตของทานทุกครัง้ กอนใชงาน เพื่อใหมนั่ ใจวารถของทานอยูใ นสภาพพรอมใชงานและ


ปลอดภัย ใหปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการตรวจสอบและบํารุงรักษาตามกําหนดเวลาทีร่ ะบุไวในคูม ือผูใ ชรถจักรยานยนต
เสมอ
UWA11152

คําเตือน
หากไมมีการตรวจสอบหรือบํารุงรักษาที่ถูกตอง อาจเปนการเพิ่มโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุหรือทำใหชิ้นสวน
เสียหายได อยาใชรถหากทานพบสิ่งผิดปกติ หากขั้นตอนทีร่ ะบุไวในคูมือนี้ไมสามารถแกไขปัญหาได ใหนํา
รถจักรยานยนตเขารับการตรวจสอบทีผ่ ูจําหนายยามาฮา
ตรวจสอบรายการตอไปนี้ กอนการใชงานรถจักรยานยนต:
จุดตรวจสอบ การตรวจสอบ หนา
• ตรวจสอบระดับน้ํามันเชื้อเพลิงในถัง
น้ํามันเชื้อเพลิง • เติมน้ํามันเชื้อเพลิง ถาจําเปน 4-9
• ตรวจสอบการรั่วซึมของทอน้ํามันเชื้อเพลิง
5
• ตรวจสอบระดับน้ํามันในถังน้ํามันเครื่อง
น้ํามันเครื่อง • ถาจําเปน ใหเติมน้ํามันเครื่องที่แนะนําจนถึงระดับที่กําหนด 7-11
• ตรวจสอบรถจักรยานยนตเพือ่ ปองกันการรั่วซึม
• ตรวจสอบการทํางาน
• ถาระดับคันเบรคลึกผิดปกติ ใหนํารถเขาตรวจสอบระบบไฮดรอลิกที่ผูจําหนาย
ยามาฮา
• ตรวจสอบระยะฟรีคันคลัทช
• ทําการปรับตั้ง ถาจําเปน 7-20,
เบรคหนา 7-24,
• ตรวจสอบความสึกของผาเบรค 7-25
• เปลี่ยน ถาจําเปน
• ตรวจสอบระดับน้ํามันเบรคที่กระปุกน้ํามันเบรค
• ถาจําเปน ใหเติมน้ํามันเบรคที่กําหนดใหอยูในระดับที่กําหนด
• ตรวจสอบระบบไฮดรอลิกเพือ่ ปองกันการรั่ว
• ตรวจสอบการทํางาน 7-21,
เบรคหลัง • ตรวจสอบระยะฟรีคันเบรคหลัง
• ทําการปรับตั้ง ถาจําเปน 7-24
• ตรวจสอบการทํางาน
• ทําการหลอลื่นสาย ถาจําเปน
คลัทช 7-19
• ตรวจสอบระยะฟรีคันคลัทช
• ทําการปรับตั้ง ถาจําเปน
• ตรวจสอบความคลองตัวเพื่อความสะดวกในการใชงาน
• ตรวจสอบระยะฟรีปลอกคันเรง 7-16,
ปลอกคันเรง • ถาตองการปรับตั้ง ใหทําการปรับตั้งระยะฟรีปลอกคันเรงและหลอลืน่ ชุด 7-29
สายคันเรง และเบาปลอกคันเรงไดที่รานผูจําหนายยามาฮา
• ตรวจสอบความคลองตัวเพื่อความสะดวกในการใชงาน
สายควบคุมตางๆ 7-29
• ทําการหลอลื่น ถาจําเปน
• ตรวจสอบระยะหยอนโซขับ
โซขับ • ทําการปรับตั้ง ถาจําเปน 7-26,
• ตรวจสอบสภาพโซ 7-28
• ทําการหลอลื่น ถาจําเปน
5-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

เพื่อความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน
จุดตรวจสอบ การตรวจสอบ หนา
• ตรวจสอบความเสียหาย
• ตรวจสอบสภาพยางและความลึกของดอกยาง 7-17,
ลอและยาง • ตรวจสอบลมยาง 7-19
• ทําการแกไข ถาจําเปน
• ตรวจสอบความคลองตัวเพือ่ ความสะดวกในการใชงาน
คันเปลี่ยนเกียร 7-23
• ทําการแกไข ถาจําเปน
• ตรวจสอบความคลองตัวเพือ่ ความสะดวกในการใชงาน
คันเบรคหลัง 7-30
• ควรหลอลื่นดวยน้ํามันในจุดที่จําเปน
• ตรวจสอบความคลองตัวเพือ่ ความสะดวกในการใชงาน
คันเบรคและคันคลัทช 7-30
• ควรหลอลื่นดวยน้ํามันในจุดที่จําเปน
• ตรวจสอบความคลองตัวเพือ่ ความสะดวกในการใชงาน
ขาตั้งกลาง, ขาตั้งขาง 7-31
• ควรหลอลื่นดวยน้ํามันในจุดที่จําเปน
• ตรวจสอบใหแนใจวาไดขันนัท โบลท และสกรูทุกตัวแนนแลว
จุดยึดโครงรถ —
• ขันใหแนน ถาจําเปน
5 อุปกรณ ไฟ สัญญาณไฟ และ • ตรวจสอบการทํางาน

สวิทช • ทําการแกไข ถาจําเปน
• ตรวจสอบการทํางานของระบบตัดวงจรการจุดระเบิด (ดับเครื่องยนต)
สวิทชขาตั้งขาง • หากระบบทํางานไมถูกตอง ใหนํารถจักรยานยนตเขารับการตรวจสอบที่ 4-15
ผูจําหนายยามาฮา

5-2
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญของการขับขี่
UAU15952 UAU59360

อานคูม ือผูใชรถจักรยานยนตโดยละเอียดเพื่อทําความ ขอแนะนํา


เขาใจกับการควบคุมตางๆ หากมีการควบคุมหรือ รถจักรยานยนตรุนนี้ไดติดตั้ง:
หนาที่การทํางานใดของรถจักรยานยนตที่ทาน  เซ็นเซอรตรวจจับการเอียงของรถเพื่อดับ
ไมเขาใจ ทานสามารถปรึกษาผูจําหนายยามาฮาได เครื่องยนตในกรณีที่พลิกคว่ํา ในกรณีนี้ ให
UWA10272

คําเตือน หมุนกุญแจไปที่ “OFF” และจากนั้นไปที่ “ON”


หากไมทําเชนนี้ จะไมสามารถสตารท
หากทานไมทําความคุนเคยกับการควบคุมตางๆ อาจ
เครื่องยนตได แมวาเครื่องยนตจะหมุนเมื่อ
นําไปสูการสูญเสียการควบคุมรถจักรยานยนต ซึ่ง
ทําการกดคันสตารทเทาแลวก็ตาม
สามารถทําใหเกิดอุบัติเหตุหรือไดรับบาดเจ็บได
 ระบบดับเครื่องยนตอัตโนมัติ เครื่องยนตจะดับ
โดยอัตโนมัติ หากมีการปลอยใหเครื่องเดินเบา
นานกวา 20 นาที หากเครื่องยนตดับ ใหเหยียบ
คันสตารทเทาลงเพื่อสตารทเครื่องอีกครั้ง

6-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญของการขับขี่
UAUN0073 UAU59532

การสตารทเครื่องยนต
UCAN0072

ขอควรระวัง เพื่อใหระบบการตัดวงจรการสตารทเปดใหสามารถ
สตารทเครื่องยนตได (หนา 4-15) ตองมีลักษณะตรง
หามขับขี่ผานน้ําลึก มิฉะนั้นเครื่องยนตอาจเสียหาย
ตามเงื่อนไขขอใดขอหนึ่งตอไปนี้:
ได ควรหลีกเลี่ยงหลุม, บอ เนื่องจากอาจจะลึกกวาที่
 ระบบสงกําลังอยูในตําแหนงเกียรวาง
คาดคิดไว
 ระบบสงกําลังเขาเกียรอยูพรอมกับดึงคันคลัทชไว
และขาตั้งขางยกขึน้
1. หมุนคันกอกน้ํามันเชื้อเพลิงไปที่ “ON”
2. หมุนกุญแจไปที่ “ON” และตั้งสวิทชดับ
เครื่องยนตเปน “ ”
สัญญาณไฟเตือนปญหาเครื่องยนตและไฟเตือน
ระดับน้ํามันเชือ้ เพลิง ควรติดขึน้ 2-3 วินาที
แลวดับไป
UCA23270

ขอควรระวัง
6 ถาไฟเตือนไมติดขึ้นทันทีที่บิดสวิทชกุญแจไปใน
ตําแหนงเปด “ON” หรือไฟเตือนติดสวางคาง ดูที่
หนา 4-2 สําหรับการตรวจสอบวงจรไฟเตือน
3. เขาเกียรวาง สัญญาณไฟเกียรวางควรสวางขึ้น
หากไมสวาง ควรใหผูจําหนายยามาฮาทําการ
ตรวจสอบวงจรไฟฟา
4. ปดคันเรงใหสนิท และใชคันลดแรงดัน
5. คอยๆ กดคันสตารทเทาลงจนกระทั่ง
เครื่องหมายการสตารทแสดงขึ้นบนไฟแสดง
คันสตารท

6-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญของการขับขี่
UAU59470

ปญหาในการสตารท
ถาไมสามารถสตารทเครื่องยนตไดหลังจาก 4 ถึง 5
1 2
คิกแลว ใหทําตามขั้นตอนการทํางานตอไปนี้
1. บิดกุญแจไปที่ปดตําแหนง “OFF”
2. ขณะที่ใชคันลดแรงดัน ใหเปดปลอกคันเรง
ใหสุดและกดคันสตารทเทาลด 4 ถึง 5 ครั้ง
3. บิดกุญแจไปที่ตําแหนง “ON” แลวลองสตารท
1. เครื่องหมายการสตารท เครื่องยนต
2. ไฟแสดงคันสตารท

6. ปลดคันลดแรงดัน ปลอยคันสตารทเทา และ


จากนั้นใชแรงเหยียบคันสตารทเทาลงเพื่อ
สตารทเครื่องยนต
UCA11043

ขอควรระวัง
เพื่อรักษาเครื่องยนตใหมีอายุการใชงานที่ยาวนาน 6
ไมควรเรงเครื่องยนตมากขณะเครื่องยนตเย็น

6-3
UB27EXU0.book Page 4 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญของการขับขี่
UAU16673
มาเพื่อตานทานแรงกระแทกจากการฝน
การเปลี่ยนเกียร
เปลี่ยนเกียร

5
4
3
2
N
1
2 1
1. คันเปลี่ยนเกียร
2. ตําแหนงเกียรวาง

การเปลีย่ นเกียรชวยในการควบคุมการสงกําลังที่
เหมาะสมสําหรับการออกตัว การเรง และการไตที่สูง
เปนตน
6 ในรูปเปนการแสดงตําแหนงตางๆ ของเกียร
ขอแนะนํา
หากตองการเขาเกียรวาง ใหเหยียบคันเปลี่ยนเกียรลง
ดานลางซ้ําๆ จนสุด แลวยกขึ้นเล็กนอย
UCA10261

ขอควรระวัง
 แมระบบสงกําลังจะอยูในตําแหนงเกียรวาง
ก็หามปลอยใหรถไหลเปนเวลานานขณะ
ดับเครื่องอยู และหามลากรถจักรยานยนตเปน
ระยะทางไกล ระบบสงกําลังจะมีการหลอลื่น
อยางเหมาะสมตอเมื่อเครื่องยนตทํางานอยู
เทานั้น การหลอลื่นไมเพียงพออาจทําให
ระบบสงกําลังเสียหาย
 ใชคลัทชเสมอขณะเปลี่ยนเกียรเพื่อหลีกเลี่ยง
มิใหสรางความเสียหายตอเครื่องยนต ระบบ
สงกําลัง และเพลาสงกําลัง ซึ่งไมไดออกแบบ

6-4
UB27EXU0.book Page 5 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญของการขับขี่
UAU16811 UAU16842

คําแนะนําวิธีลดความสิ้นเปลืองน้ํามัน ระยะรันอินเครื่องยนต
เชื้อเพลิง (วิธีการประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง) ไมมีชวงเวลาใดจะสําคัญที่สุดในอายุการใชงานของ
ความสิ้นเปลืองน้ํามันเชือ้ เพลิงสวนใหญเกิดจาก รถจักรยานยนตมากไปกวาชวงระยะ 0 กม. ถึง 1,600
ลักษณะการขับขี่รถของแตละบุคคล ซึ่งคําแนะนําวิธี กม. (1,000 ไมล) (รันอิน) สําหรับการคํานึงถึงระยะ
ลดความความสิ้นเปลืองน้ํามันเชือ้ เพลิง ใหพิจารณา ดังกลาว ควรทําความเขาใจใหละเอียดตามคูมือ
ดังนี้: ดวยสภาพเครื่องยนตใหม ควรหลีกเลี่ยงการใชงานที่
 เปลีย่ นเกียรขน ึ้ อยางรวดเร็ว และหลีกเลีย่ งการ หนักเกินไปในชวงระยะแรกที่ 1,600 กม. (1,000 ไมล)
ใชความเร็วรอบเครื่องสูงขณะเรงเครื่อง การทํางานของชิ้นสวนภายในเครื่องยนตที่เคลื่อนที่
 ไมเรงเครื่องยนตขณะเปลีย่ นเกียรต่ํา และ เสียดสีกัน ทําใหเกิดระยะชองวางที่เกิดการสึกหรอ
หลีกเลีย่ งการใชความเร็วเครื่องยนตสูงโดย อยางรวดเร็ว หรือควรหลีกเลี่ยงการกระทําใดๆที่อาจ
ไมมีโหลดภาระบนเครื่องยนต ทําใหเครื่องยนตรอนเกินไป
 ดับเครื่องยนตแทนที่จะปลอยใหเครื่องยนต UAU17094
เดินเบาเปนเวลานาน (เชน ในการจราจรที่
ติดขัด เมื่อหยุดรอสัญญาณไฟจราจรหรือรอ
รถไฟผาน) 0–1,000 กม. (0–600 ไมล)
6
หลีกเลีย่ งการทํางานเกิน 3,500 รอบ/นาที
ขอควรระวัง: หลังจาก 1,000 กม. (600 ไมล)
แรกของการขับขี่ ตองมีการเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง
และกรองและไสกรองน้ํามันเครื่อง [UCA10303]
[UCA10303]

1,000–1,600 กม. (600–1,000 ไมล)


หลีกเลีย่ งการทํางานเกิน 4,200 รอบ/นาที

1,600 กม. (1,000 ไมล) ขึน้ ไป


ในระยะนี้สามารถใชรถจักรยานยนตไดเปนปกติ
UCA10311

ขอควรระวัง
 รักษาความเร็วรอบเครื่องยนตไมใหอยูในพื้นที่
สีแดงของมาตรวัดรอบเครื่องยนต
 หากมีปญหาใดๆ เกิดขึ้นในระยะรันอิน
เครื่องยนต กรุณานํารถจักรยานยนตของทาน
เขาตรวจสอบทีผ่ ูจําหนายยามาฮา

6-5
UB27EXU0.book Page 6 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทํางานของรถจักรยานยนตและจุดที่สําคัญของการขับขี่
UAU17214

การจอดรถ
เมื่อทําการจอดรถ ใหดับเครื่องยนตและดึงลูกกุญแจ
ออกจากสวิทชกุญแจ
UWA10312

คําเตือน
 เนื่องจากเครื่องยนตและระบบไอเสียมีความ
รอนสูง จึงไมควรจอดรถในที่ที่อาจมีเด็กหรือ
คนเดินสัมผัสและถูกไฟลวกได
 ไมควรจอดรถบริเวณพื้นที่ลาดเอียง หรือ
พื้นดินที่ออน มิฉะนั้น อาจจะทําใหรถลม
เสียหายได ซึง่ มีโอกาสทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงรั่ว
และเกิดไฟไหมได
 หามจอดรถจักรยานยนตใกลกับพื้นหญาแหง
หรือวัตถุที่ลุกติดไฟไดงาย

6-6
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU17246 UWA15461

คําเตือน
การตรวจสอบการปรับตั้งและการหลอลื่นตามระยะ จานเบรค แมปมเบรคตัวลาง ดรัมเบรค และผาเบรค
จะชวยใหรถจักรยานยนตของทานมีประสิทธิภาพ จะรอนมากระหวางการใชงาน เพื่อเปนการหลีกเลี่ยง
และใหความปลอดภัยในการขับขี่มากยิ่งขึ้น ความ การถูกลวกไหม ควรปลอยใหชิ้นสวนเบรคเย็นลง
ปลอดภัยคือภาระหนาที่ของเจาของและผูขับขี่ กอนทีจ่ ะสัมผัส
รถจักรยานยนต จุดสําคัญตางๆ สําหรับการตรวจสอบ
การปรับแตง การหลอลืน่ จะอธิบายรายละเอียดใน
หนาถัดไป
ชวงระยะเวลาที่กําหนดในตารางการบํารุงรักษาตาม
ระยะ ควรพิจารณาเปนคําแนะนําทั่วไปโดยควรขับขี่
อยูภายใตสภาวะปกติ อยางไรก็ตามขึ้นอยูกับสภาพ
อากาศ ภูมิประเทศ ทําเล และลักษณะการใชงานของ
แตละบุคคล ซึ่งมีผลตอระยะเวลาในการบํารุงรักษา
วาจะเร็วหรือชา
UWA10322

คําเตือน
หากทานทําการบํารุงรักษาไมถกู ตอง หรือทําการบํารุง
รักษาผิดวิธี อาจเพิ่มความเสี่ยงในการไดรบั บาดเจ็บ
7
หรือถึงแกชวี ิตขณะทําการบํารุงรักษา หรือขณะใชงาน
หากทานไมคุนเคยกับการบํารุงรักษารถจักรยานยนต
โปรดใหผูจําหนายยามาฮาเปนผูดําเนินการแทน
UWA15123

คําเตือน
ดับเครื่องยนตขณะทําการบํารุงรักษายกเวนในกรณี
ที่ระบุไว
 เครื่องยนตที่กําลังทํางานจะมีชิ้นสวนที่
เคลื่อนทีอ่ ยู ซึ่งสามารถเกี่ยวชิ้นสวนรางกาย
หรือเสื้อผา และชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ซึ่ง
ทําใหเกิดไฟดูดหรือเพลิงไหมได
 การปลอยใหเครื่องทํางานขณะทําการบํารุง
รักษาอาจทําใหดวงตาไดรับบาดเจ็บ เกิดการ
ลวกไหม เพลิงไหม หรือไดรับพิษจากกาซ
คารบอนมอน็อกไซด – อาจถึงแกชีวิตได ดูหนา
2-3 สําหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกาซคารบอน
มอน็อกไซด

7-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU17303 UAU59370

เครื่องมือประจํารถ
ระบบการควบคุมแกสไอเสียรถจักรยานยนตไมใช
ทําใหมลพิษทางอากาศลดลงเทานั้น แตมีความสําคัญ
1
ตอการทํางานเครื่องยนตในสภาวะที่เหมาะสม ตาราง
บํารุงรักษาตามระยะ การใหบริการที่เกีย่ วของกับการ
ควบคุมแกสไอเสียตองจัดเปนกลุมแยก การใหบริการ 2
ตองใชขอ มูลเฉพาะ ความรู และอุปกรณ การบํารุง
รักษา การเปลีย่ นหรือการซอมแซมอุปกรณและระบบ
อาจจะดําเนินการซอมโดยสถานประกอบการ หรือ
ผูที่ไดรับการรับรอง (ถามี) ตัวแทนจําหนาย ยามาฮา 1. ปลดล็อค
ไดรับการฝกอบรมและติดตั้งอุปกรณเพื่อใหการ 2. ฝาครอบตัวล็อค
บริการเหลานี้โดยเฉพาะ

7
1
1. เครื่องมือประจํารถ

เครื่องมือประจํารถจะอยูดานในกลองเครื่องมือ
การใชงานชุดเครื่องมือประจํารถ ใหเลือ่ นเปด
ฝาครอบตัวล็อคฝาปดถังน้ํามันเชือ้ เพลิง เสียบกุญแจ
เขากับตัวล็อค แลวบิดตามเข็มนาฬิกาไป 1/4 รอบ
ขอมูลดานการบริการจะรวมอยูในคูม ือเลมนี้ ชุด
เครื่องมือเหลานี้จะชวยใหทานสามารถดูแลรักษา
และ ซอมแซมรถของทานอยางงายดาย อยางไรก็ตาม
เครื่องมือพิเศษ เชน ประแจขันแรงบิด อาจจําเปนตอ
การบํารุงรักษารถอยางถูกวิธี

7-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
ขอแนะนํา
หากทานไมมีชุดเครื่องมือประจํารถ หรือไมมี
ประสบการณเกี่ยวกับการบํารุงรักษารถมากอน
ทานสามารถนํารถเขาศูนยบริการยามาฮา เพื่อให
ชางดําเนินการตรวจสอบใหทานได

7-3
UB27EXU0.book Page 4 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU48501

ขอแนะนํา
 ตั้งแต 37,000 กม. (24,000 ไมล) หรือ 36 เดือน ใหเริ่มนับระยะในการบํารุงรักษาซ้ําอีกตั้งแต 13,000 กม.
(8,000 ไมล) หรือ 12 เดือน
 รายการที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) จําเปนตองใชเครื่องมือพิเศษ ขอมูล และทักษะดานเทคนิค ใหผูจําหนาย
ยามาฮาเปนผูดําเนินการ
UAU69111

ตารางการบํารุงรักษาตามระยะสําหรับระบบควบคุมมลพิษแกสไอเสีย
รายการบํารุงรักษา ระยะเริ่มตŒน มาตรวัดระยะทาง
X 1000 กม. 1 7 13 19 25 31
ลําดับ จุดตรวจสอบ
X 1000 ไมล 0.6 4 8 12 16 20
เดือน 1 6 12 18 24 30
• ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหายของ
1 * ทอน้ํามันเชื้อเพลิง ทอน้ํามันเชื้อเพลิง     
• เปลี่ยน ถาจําเปน
• ตรวจสอบสภาพ
7   
• ปรับตั้งระยะหางและทําความสะอาด
2 หัวเทียน
ทุกๆ 13,000 กม. (8,000 ไมล) หรือ
• เปลี่ยน
12 เดือน
• ตรวจสอบและปรับตั้งระยะหางวาลวเมื่อ
3 * การปรับตั้งระยะหางวาลว      
เครื่องยนตเย็นลงแลว
• ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหายของ
ระบบระบายอากาศของ
4 * ทอระบายอากาศ   
หองเครื่องยนต
• เปลี่ยน ถาจําเปน
5 * ระบบหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง • ตรวจสอบความเร็วรอบเดินเบาเครื่องยนต     

• ตรวจสอบการรั่วซึม
6 * ระบบไอเสีย • ขันใหแนน ถาจําเปน     
• เปลี่ยนปะเก็น ถาจําเปน
ระบบควบคุมการระเหยของ • ตรวจสอบระบบควบคุมเพื่อดูความเสียหาย
7 *  
น้ํามันเชื้อเพลิง • เปลี่ยน ถาจําเปน
• ตรวจสอบความเสียหายของวาลวปด-เปด
8 * ระบบ AIS หรีดวาลวและทอ  
• เปลี่ยนชิ้นสวนที่สกึ หรอ ถาจําเปน

7-4
UB27EXU0.book Page 5 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU69161

ตารางการบํารุงรักษาและการหลอลื่นโดยทั่วไป
รายการบํารุงรักษา ระยะเริ่มตŒน มาตรวัดระยะทาง
X 1000 กม. 1 7 13 19 25 31
ลําดับ จุดตรวจสอบ
X 1000 ไมล 0.6 4 8 12 16 20
เดือน 1 6 12 18 24 30
• ตรวจสอบแรงตึงของโซราวลิ้น
1 * โซราวลิ้น      
• ทําการปรับตั้ง ถาจําเปน
2 ไสกรองอากาศ • เปลี่ยน ทุกๆ 19,000 กม. (12,000 ไมล)
• ตรวจสอบการทํางาน
3 * คลัทช      
• ปรับหรือเปลี่ยนสาย
• ตรวจสอบการทํางาน
4 * ระบบลดแรงดัน      
• เปลี่ยนสาย ถาจําเปน
• ตรวจสอบการทํางาน ระดับน้ํามันเบรค
5 * เบรคหนา และการรั่วของน้ํามันเบรค      
• เปลี่ยนผาเบรค ถาจําเปน
• ตรวจสอบการทํางาน
6 * เบรคหลัง • ปรับระยะฟรีคันเบรคหลัง และเปลี่ยน      
7
ผาเบรคถาจําเปน
• ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหาย
• ตรวจสอบความถูกตองของการเดินทอและ     
7 * ทอน้ํามันเบรค ตัวยึด
• เปลี่ยน ทุกๆ 4 ป
8 * น้ํามันเบรค • เปลี่ยน ทุกๆ 2 ป
• ตรวจสอบการแกวง-คด ความตึงลอซี่ลวด
9 * ลอรถ และความสึกหรอ      
• ขันลอซีล่ วดใหแนน ถาจําเปน
• ตรวจสอบหนายาง และการสึกหรอ
• เปลี่ยน ถาจําเปน
10 * ยาง     
• ตรวจสอบลมยาง
• ทําการแกไข ถาจําเปน
• ตรวจสอบลูกปนเพื่อใหการทํางานเปน
11 * ลูกปนดุมลอ ปกติ     
• เปลี่ยน ถาจําเปน
• ตรวจสอบจุดยึดและระยะคลอน     
12 * ลูกปนเดือยสวิงอารม
• อัดดวยจาระบีลิเธียมพอประมาณ ทุกๆ 50,000 กม. (32,000 ไมล)

7-5
UB27EXU0.book Page 6 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
รายการบํารุงรักษา ระยะเริ่มตŒน มาตรวัดระยะทาง
X 1000 กม. 1 7 13 19 25 31
ลําดับ จุดตรวจสอบ
X 1000 ไมล 0.6 4 8 12 16 20
เดือน 1 6 12 18 24 30
• ตรวจสอบระยะหยอน การวางแนว และ
ทุกๆ 500 กม. (300 ไมล) และหลังจาก
สภาพของโซ
13 โซขับ ลางรถจักรยานยนต ขับขี่ขณะฝนตก
• ปรับตั้ง และหลอลื่นขอตอโซใหทั่วดวย
หรือในบริเวณที่มีน้ําขัง
น้ํามันหลอลื่นโซโอริงพิเศษ
• ตรวจสอบชุดลูกปนเพื่อดูความหลวม      
14 * ลูกปนคอรถ
• อัดดวยจาระบีลิเธียมพอประมาณ ทุกๆ 19,000 กม. (12,000 ไมล)
• ตรวจสอบชิ้นสวนและจุดยึดโครงรถ
15 * จุดยึดโครงรถ ทั้งหมด     
• ทําการแกไข ถาจําเปน
16 เพลาเดือยคันเบรค • ทาบางๆ ดวยจาระบีซลิ ิโคน     

17 เพลาเดือยคันเบรคหลัง • ทาบางๆ ดวยจาระบีลิเธียม     

18 เพลาเดือยคันคลัทช • ทาบางๆ ดวยจาระบีลิเธียม     

เดือยขาตั้งกลางและขาตั้ง • ตรวจสอบการทํางาน
7 19     
ขาง • ทาบางๆ ดวยจาระบีลิเธียม
20 * สวิทชขาตั้งขาง • ตรวจสอบการทํางาน และเปลี่ยน ถาจําเปน      

• ตรวจสอบการทํางานและการรั่วซึมของ
21 * โชคอัพหนา น้ํามัน     
• เปลี่ยน ถาจําเปน
• ตรวจสอบการทํางานและการรั่วซึมของ
22 * ชุดโชคอัพหลัง น้ํามัน     
• เปลี่ยน ถาจําเปน
• เปลี่ยนถาย (อุนเครื่องยนตกอนทําการ
23 น้ํามันเครื่อง      
เปลี่ยนถาย)
24 ไสกรองน้ํามันเครื่อง • เปลี่ยน   

สวิทชเบรคหนาและเบรค
25 * • ตรวจสอบการทํางาน      
หลัง
• ทาน้ํามันหลอลืน่ โซและสายควบคุมของ
26 * สายควบคุมและมาตรวัด      
ยามาฮาหรือน้ํามันเครื่องใหทั่ว

7-6
UB27EXU0.book Page 7 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
รายการบํารุงรักษา ระยะเริ่มตŒน มาตรวัดระยะทาง
X 1000 กม. 1 7 13 19 25 31
ลําดับ จุดตรวจสอบ
X 1000 ไมล 0.6 4 8 12 16 20
เดือน 1 6 12 18 24 30
• ตรวจสอบการทํางาน
• ตรวจสอบระยะฟรีปลอกคันเรง และ
27 * ปลอกคันเรง     
ปรับตั้ง ถาจําเปน
• หลอลื่นสายและเบาปลอกคันเรง
ไฟแสงสวาง สัญญาณไฟ • ตรวจสอบการทํางาน
28 *      
และสวิทช • ปรับตั้งลําแสงไฟหนา
UAUT3461

ขอแนะนํา
 กรองอากาศ
 กรองอากาศของรถรุนนี้ใชไสกรองอากาศกระดาษเคลือบน้ํามันแบบใชแลวทิ้ง ซึ่งไมตองทําความ

สะอาดดวยลมอัด มิฉะนั้น อาจชํารุดเสียหายได


 ตองเปลีย ่ นไสกรองอากาศบอยครั้งขึ้น หากขับขี่ในบริเวณที่เปยกหรือมีฝุนมากกวาปกติ
 การบํารุงรักษาระบบเบรคไฮดรอลิก 7
 และหลังจากถอดประกอบแมปมเบรคตัวบนและแมปมเบรคตัวลาง ใหเปลี่ยนน้ํามันเบรคเสมอ

ตรวจสอบระดับน้ํามันเบรคเปนประจํา และเติมใสกระปุกน้ํามันตามความจําเปน
 เปลีย ่ นชิ้นสวนภายใน เชน ซีลน้ํามันของแมปมเบรคตัวบนและแมปมเบรคตัวลาง พรอมกับเปลี่ยน
น้ํามันเบรคทุกๆ 2 ป
 เปลีย ่ นสายเบรคทุกๆ 4 ป หรือเมื่อเกิดการชํารุดหรือเสียหาย

7-7
UB27EXU0.book Page 8 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU59460

การถอดและการติดตั้งฝาครอบ
ฝาครอบที่แสดงในรูปดานบนจําเปนที่จะตองถอด
ออกเพื่อการบํารุงรักษาหรือซอมแซม ในบทนี้จะ
แสดงถึงการถอด-ประกอบฝาครอบ

1 1
2
3
1. ฝาครอบ A
2. โบลท
3. แหวนรอง

การประกอบฝาครอบ
1. ฝาครอบ A วางฝาครอบในตําแหนงเดิม แลวยึดดวยโบลท
ขอแนะนํา
ฝาครอบทางดานซายสามารถถอดออกไดโดยใช
กุญแจ อยางไรก็ตาม ไมจําเปนตองถอดฝาครอบนี้
7 เพื่องานการบํารุงรักษาที่ไดอธิบายไวในบทนี้
UAU19152

ฝาครอบ A

การถอดฝาครอบ
ถอดโบลท แลวดึงฝาครอบออกดังรูปที่แสดง

7-8
UB27EXU0.book Page 9 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU19605
การตรวจสอบหัวเทียน
การตรวจสอบหัวเทียน 1. ตรวจสอบกระเบื้องสีขาวรอบๆ แกนกลาง
หัวเทียนเปนสวนประกอบที่สําคัญของเครื่องยนต ของหัวเทียนวายังเปนสีน้ําตาลออนๆ ปานกลาง
เปนชิน้ สวนที่ทําการตรวจสอบและบํารุงรักษาไดงาย หรือไม (แสดงวาเครื่องยนตปกติ)
เนื่องจากความรอนและคราบตะกอนทําใหหัวเทียน
สึกกรอนอยางชาๆ ดังนั้น จึงควรถอดหัวเทียนออกมา ขอแนะนํา
ตรวจสอบและทําความสะอาดตามที่กําหนดในตาราง ถาหัวเทียนเปนสีน้ําตาลแกๆ อาจแสดงถึงสภาพ
การบํารุงรักษาและการหลอลื่นตามระยะ นอกจากนี้ เครื่องยนตที่ไมปกติ ไมควรพยายามวินิจฉัยปญหา
สภาพหัวเทียนยังสามารถแสดงถึงสภาพการทํางาน ดวยตัวเอง โปรดนํารถจักรยานยนตของทาน ไปให
ของเครื่องยนต ชางผูจําหนายยามาฮาตรวจสอบแกไข
2. ตรวจสอบหัวเทียนของทานวามีการสึกกรอน
การถอดหัวเทียน หรือมีคราบเขมาจับหรือไม ในกรณีที่มีการ
1. ถอดปลั๊กหัวเทียน สึกกรอนหรือมีคราบเขมาจับมาก ควรเปลีย่ น
ใหม ถาจําเปน
1
เบอรหัวเทียนตามมาตรฐาน:
NGK/BPR6ES

3. วัดระยะหางเขี้ยวดวยฟลเลอรเกจ ในกรณีที่
จําเปน ใหปรับระยะหางเขีย้ วหัวเทียนตาม 7
ระยะที่กําหนดไว
1. ปลั๊กหัวเทียน

2. ถอดหัวเทียนดังรูปดวยบล็อคหัวเทียน ซึ่งรวม
อยูในเครื่องมือประจํารถ

1. ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน

ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน:
1 0.7–0.8 มม. (0.028–0.031 นิ้ว)
1. บล็อคหัวเทียน

7-9
UB27EXU0.book Page 10 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
การประกอบหัวเทียน UAU36112

1. ทําความสะอาดพื้นผิวของประเก็นหัวเทียน
กลองดักไอน้ํามัน
และหนาสัมผัสรองหัวเทียน และจากนั้นเช็ดสิ่ง
สกปรกออกจากเกลียวหัวเทียน 1
2. ประกอบหัวเทียนดวยประแจเช็คแรงบิด และ
ขันใหแนนตามแรงบิดในการขันหัวเทียนที่
กําหนด
2
คามาตรฐานแรงบิด:
หัวเทียน: 3
25 นิวตันเมตร (2.5 m·kgf, 18 ft·lbf)
1. วาลวกันกลับ
2. กลองดักไอน้ํามัน
ขอแนะนํา 3. ชองระบายอากาศของกลองดักไอน้ํามัน
ถาไมมีประแจเช็คแรงขันใหประมาณคราวๆ โดยใช
มือหมุนหัวเทียนเขาตามรองเกลียวของฝาสูบ รถจักรยานยนตรุนนี้ไดมีการติดตั้งกลองดักไอน้ํามัน
ประมาณ 1/4–1/2 รอบจนแนน อยางไรก็ตาม ควรจะ ไว เพื่อปองกันการปลอยไอระเหยน้ํามันเชื้อเพลิง
ขันใหแนนตามที่มาตรฐานกําหนดใหเร็วที่สุดเทาที่ ออกไปในบรรยากาศ กอนจะใชรถจักรยานยนตคันนี้
จะทําได ตองแนใจวาไดทําการตรวจสอบดังตอไปนี้:
 ตรวจสอบการเชือ่ มตอทอยางแตละจุด
7 3. ประกอบปลัก๊ หัวเทียน  ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหายของทอยาง
และกลองดักไอน้ํามัน เปลี่ยน เมื่อเสียหาย
 ตรวจสอบใหแนใจวาชองระบายอากาศของกลอง
ดักไอน้ํามันไมอุดตัน และทําความสะอาด
ถาจําเปน

7-10
UB27EXU0.book Page 11 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU59626

น้ํามันหลอลื่นและไสกรองน้ํามันหลอลื่น
ควรจะทําการตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่องกอนที่จะมี
การขับขี่รถ นอกจากนี้ จะตองทําการเปลี่ยนถาย 2
น้ํามันหลอลืน่ และไสกรองน้ํามันหลอลืน่ ตามระยะ
ที่กําหนดในตารางการบํารุงรักษา และการหลอลืน่ 3
ตามระยะ 1 4
การตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่อง 1. ฝาปดชองเติมน้ํามันเครื่อง
1. สตารทเครื่องใหเครื่องยนตอุนพอประมาณแลว 2. กานวัดระดับน้ํามันเครื่อง
ดับเครื่อง 3. ขีดบอกระดับสูงสุด
2. ตั้งจักรยานยนตไวดวยขาตั้งกลาง บนพื้นที่ราบ 4. ขีดบอกระดับต่ําสุด
3. รอสักครูจนกระทั่งน้ํามันเขาที่ ถอดฝาปดชอง
4. ถาน้ํามันเครื่องอยูในระดับต่ํากวาระดับต่ําสุด
เติมน้ํามันเครื่องออก ใชผาเช็ดทําความสะอาด
ใหเติมน้ํามันเครื่องชนิดที่แนะนําจนไดระดับ
กานวัดระดับ แลวใสกลับเขาไปในตําแหนง
ที่กําหนด
เดิม (ไมตองขันเกลียว) และดึงกานวัดระดับ
5. ประกอบฝาชองเติมน้ํามัน
น้ํามันเครื่องออกมาอีกครั้งเพื่อตรวจวัดระดับ
น้ํามันเครื่อง คําเตือน! หามถอดฝาปดชองเติม
การเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง (มีหรือไมมกี ารเปลี่ยน
น้ํามันเครื่องหลังจากเครือ่ งยนตทํางานทีค่ วาม 7
ไสกรองน้ํามัน)
เร็วสูง มิฉะนั้นน้ํามันเครื่องที่รอนอาจจะพุง
1. สตารทเครื่องใหเครื่องยนตอุนพอประมาณแลว
ออกมา และทําใหเกิดความเสียหายหรือบาดเจ็บ
ดับเครื่อง
ได ปลอยใหเครื่องยนตเย็นลงกอนถอดฝาปด
ชองเติมน้ํามันเครื่องออกเสมอ [UWA17640] 2. วางอางรับน้ํามันเครื่องไวใตชอ งถายน้ํามัน
เครื่อง เพื่อรองรับน้ํามันเครื่องที่ใชแลว
ขอแนะนํา 3. ถอดโบลทไลอากาศฝาครอบไสกรองน้ํามัน
น้ํามันเครื่องควรอยูในระดับกึ่งกลางระหวางขีดบอก เครื่องและปะเก็นออก และโบลทถายไสกรอง
ระดับต่ําสุดและสูงสุด น้ํามันเครื่อง เพื่อถายน้ํามันออกจากหอง
ไสกรองน้ํามันเครื่อง

7-11
UB27EXU0.book Page 12 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
1 ขอแนะนํา
ขามขั้นตอนที่ 6–8 ถาไมมีการเปลี่ยนไสกรองน้ํามัน
เครื่อง
6. คลายโบลท เพื่อถอดฝาครอบไสกรองน้ํามัน
เครื่องออก
1
3 2
1. โบลทไลอากาศฝาครอบไสกรองน้ํามันเครื่อง
2. ปะเก็น
3. โบลทถายไสกรองน้ํามันเครื่อง

4. ถอดโบลทถายน้ํามันเครื่องและปะเก็นออก
เพื่อถายน้ํามันเครื่องออกมาจากหองเครื่องยนต
1. โบลทฝาครอบไสกรองน้ํามันเครื่อง

7. ถอดและเปลีย่ นไสกรองน้ํามันเครื่องและโอริง

1 2
ขอแนะนํา
7 ตรวจสอบใหแนใจวาไดประกอบโอริงเขาที่อยาง
ถูกตองแลว

1. ปะเก็น 1
2. โบลทถายน้ํามันเครื่อง (หองเครื่องยนต) 3

5. ถอดฝาปดชองเติมน้ํามันเครื่อง โบลทถา ยถัง


น้ํามันเครื่องและปะเก็นออก เพื่อถายน้ํามัน 2
เครื่องออกจากถังน้ํามัน
1 2
1. ฝาครอบไสกรองน้ํามันเครื่อง
2. โอริง
3. ไสกรองน้ํามันเครื่อง

8. ประกอบฝาครอบไสกรองน้ํามันเครื่องเขาที่
เดิมแลวยึดดวยโบลท และจากนั้นขันแนน
โบลทตามคาแรงขันที่กําหนด
1. โบลทถายน้ํามันเครื่อง (ถังน้ํามันเครื่อง)
2. ปะเก็น
7-12
UB27EXU0.book Page 13 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
คามาตรฐานแรงบิด: ขอแนะนํา
โบลทฝาครอบไสกรองน้ํามันเครื่อง: ดูใหแนใจวาไมมีคราบน้ํามันบนชิ้นสวนตางๆ
10 นิวตันเมตร (1.0 m·kgf, 7.2 ft·lbf) หลังจากเครื่องยนตและระบบไอเสียเย็นลงแลว
9. ประกอบโบลทถา ยไสกรองน้ํามันเครื่อง แลว UCA11621

ขอควรระวัง
ขันแนนโบลทตามคาแรงขันที่กําหนด
 เพื่อปองกันคลัทชลื่น (เนื่องจากน้ํามันเครือ่ ง
คามาตรฐานแรงบิด: จะหลอลื่นคลัทชดวย) หามผสมสารเคมี
โบลทถายไสกรองน้ํามันเครื่อง: เพิ่มเติมใดๆ ลงไป ไมควรใชน้ํามันดีเซลที่ระบุ
10 นิวตันเมตร (1.0 m·kgf, 7.2 ft·lbf) สําหรับ “CD” หรือน้ํามันที่มีคุณภาพสูงกวา
10. ประกอบโบลทไลอากาศฝาครอบไสกรอง ที่กําหนด นอกจากนี้ ไมควรใชน้ํามันที่ติดฉลาก
“ENERGY CONSERVING II” หรือสูงกวา
น้ํามันเครื่อง และปะเก็น จากนั้นขันแนนโบลท
น้ํามันที่ผสมสารเคมี หรือวัสดุหลอลื่นอื่นๆ ซึ่ง
ตามคาแรงขันที่กําหนด
อาจเปนเหตุทําใหคลัทชลื่นได
คามาตรฐานแรงบิด:  ระวังเศษวัสดุ เศษสิ่งสกปรกตกลงไปในหอง
โบลทไลอากาศฝาครอบไสกรองน้ํามันเครื่อง: เครื่องยนต
5 นิวตันเมตร (0.5 m·kgf, 3.6 ft·lbf)
13. สตารทเครื่องยนต อุนเครื่องสักครู แลว
11. ประกอบโบลทถา ยน้ํามันเครื่องและปะเก็น ตรวจสอบดูใหแนใจวาไมมีน้ํามันรั่วซึมออกมา
อันใหม แลวขันโบลทใหแนนตามแรงบิด ถามีน้ํามันรั่วออกมา ใหดับเครื่องยนตทันทีและ 7
ที่กําหนด ตรวจสอบสาเหตุ
14. ดับเครื่องยนต แลวตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่อง
คามาตรฐานแรงบิด: และเติมถาจําเปน
โบลทถายน้ํามันเครื่อง (หองเครื่องยนต): UCA11232

30 นิวตันเมตร (3.0 m·kgf, 22 ft·lbf) ขอควรระวัง


โบลทถายน้ํามันเครื่อง (ถังน้ํามันเครื่อง): หลังจากเปลี่ยนน้ํามันเครื่องแลว ใหแนใจวาได
16 นิวตันเมตร (1.6 m·kgf, 12 ft·lbf)
ตรวจสอบแรงดันน้ํามันเครื่องตามทีอ่ ธิบายไวดาน
12. เติมน้ํามันเครื่องที่แนะนําตามปริมาณทีก่ ําหนด ลางแลว
จากนั้นปดฝาปดชองเติมน้ํามันเครื่อง และขัน  คลายโบลทไลอากาศ
ใหแนน  สตารทเครื่องยนต และปลอยใหเดินเบา
จนกระทัง่ น้ํามันไหลออกมา ถาไมมนี ้ํามันไหล
น้ํามันเครื่องที่แนะนํา: ออกมาหลังจากผานไปหนึ่งนาที ใหดับ
ดูหนา 9-1 เครื่องยนตทันทีเพื่อไมใหเกิดการติดยึด ถา
ปริมาณน้ํามัน: เกิดปญหาในกรณีนี้ โปรดนํารถจักรยานยนต
เปลี่ยนน้ํามันเครื่อง:
เขาซอมแซมที่ผูจําหนายยามาฮา
2.00 ลิตร (2.11 US qt, 1.76 Imp.qt)
มีการเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเครื่อง:
2.10 ลิตร (2.22 US qt, 1.85 Imp.qt)

7-13
UB27EXU0.book Page 14 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
 หลังจากตรวจเช็คแรงดันน้ํามันเครือ่ งแลว ให UAU52031

ขันโบลทไลอากาศตามคาแรงขันทีก่ ําหนด
การเปลี่ยนไสกรองอากาศ
ควรเปลีย่ นไสกรองอากาศตามระยะที่กําหนดใน
ตารางการบํารุงรักษาและการหลอลืน่ ตามระยะ
1
เปลีย่ นไสกรองอากาศอยางสม่ําเสมอ หากมีการ
ใชรถจักรยานยนตในพื้นที่ที่มีความเปยกชืน้ หรือ
มีฝุนมาก

การเปลี่ยนไสกรองอากาศ
1. ถอดฝาครอบ A (ดูหนา 7-8)
2. คลายสกรูเพื่อถอดฝาครอบหมอกรอง
1. โบลทไลอากาศ
2
คามาตรฐานแรงบิด:
โบลทไลอากาศ: 1
18 นิวตันเมตร (1.8 m·kgf, 13 ft·lbf)
1

7
1. สกรู
2. ฝาครอบหมอกรองอากาศ

3. ดึงไสกรองอากาศออก

1. ไสกรองอากาศ

4. ใสไสกรองอากาศอันใหมเขากับหมอกรอง
อากาศ ขอควรระวัง: ดูใหแนใจวาไดใสไสกรอง
อากาศเขากับหมอกรองอากาศอยางถูกตอง

7-14
UB27EXU0.book Page 15 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
อยาขับขีร่ ถโดยไมใสไสกรองอากาศ เพราะจะ UAU44735

ทําใหเสื้อสูบ ลูกสูบเกิดการชํารุดและสึกหรอ
การตรวจสอบความเร็วรอบเครือ่ งยนตเดินเบา
เร็วกวาปกติ [UCA10482] ตรวจสอบความเร็วรอบเครื่องยนตเดินเบา ถาจําเป็น
5. ประกอบฝาครอบหมอกรองอากาศแลวยึดดวยสกรู ใหชางผูจําหนายยามาฮาเปนผูปรับแกให
6. ประกอบฝาครอบ คามาตรฐานความเร็วรอบเครื่องยนตเดินเบา:
1,200–1,400 รอบตอนาที

7-15
UB27EXU0.book Page 16 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU21386 UAU21402

การตรวจสอบระยะฟรีปลอกคันเรง การปรับตั้งระยะหางวาลว
วัดระยะฟรีปลอกคันเรงตามที่แสดง การที่ระยะหางของวาลวมีมากเกินไป เนื่องจากการ
ใชงานทําใหสวนผสมระหวางอากาศกับน้ํามันไมได
สัดสวน หรือทําใหเครื่องยนตเกิดเสียงดัง เพื่อปองกัน
ปญหาดังกลาว ควรใหชา งผูจําหนายยามาฮาเปน
ผูปรับตั้งระยะหางของวาลวตามที่กําหนดในตาราง
1
การบํารุงรักษาและการหลอลื่นตามระยะ

1. ระยะฟรีปลอกคันเรง

ระยะฟรีปลอกคันเรง:
3.0–5.0 มม. (0.12–0.20 นิ้ว)

การตรวจเช็คระยะฟรีปลอกคันเรง ควรปรับตามที่
ระยะกําหนด และหากจําเปนควรใหชา งผูจําหนาย
ยามาฮาเปนผูปรับตั้ง
7

7-16
UB27EXU0.book Page 17 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU64180

ยาง แรงดันลมยาง (วัดขณะยางเย็น):


น้ําหนักบรรทุกถึง 90 กก. (198 ปอนด):
ยางเปนสิ่งเดียวที่สัมผัสกับถนน ความปลอดภัยใน หนา:
ทุกสภาวะการขับขี่ ขึน้ อยูกับสวนเล็ก ๆ ที่สัมผัสกับ 175 kPa (1.75 kgf/cm2, 25 psi)
ถนนนั่นคือ ยาง ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองบํารุงรักษา หลัง:
200 kPa (2.00 kgf/cm2, 29 psi)
ยางใหอยูในสภาพที่ดีตลอดเวลา และเปลี่ยนเมื่อ 90 กก. (198 ปอนด) ถึงน้ําหนักบรรทุกสูงสุด:
ถึงเวลาที่เหมาะสมดวยขนาดยางที่กําหนด หนา:
200 kPa (2.00 kgf/cm2, 29 psi)
แรงดันลมยาง หลัง:
225 kPa (2.25 kgf/cm2, 33 psi)
ควรมีการตรวจสอบแรงดันลมยางทุกครั้งกอนการ น้ําหนักบรรทุกสูงสุด*:
ขับขี่ 150 กก. (331 ปอนด)
UWA10504
* น้ําหนักรวมของคนขับ ผูโดยสาร สัมภาระและ
คําเตือน อุปกรณตกแตง
การใชรถจักรยานยนตโดยที่แรงดันลมยางไมถกู ตอง UWA10512

อาจทําใหสูญเสียการควบคุม จนอาจทําใหเกิดการ คําเตือน


บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแกชีวิตได ไมควรบรรทุกสัมภาระน้ําหนักมากเกินไป การใชงาน
 การตรวจสอบแรงดันลมยาง ตองตรวจสอบ รถจักรยานยนตที่มนี ้ําหนักบรรทุกมากเกินไป อาจ
ขณะที่ยางเย็น (อุณหภูมิของยางเทากับ ทําใหเกิดอุบัตเิ หตุได
อุณหภูมิโดยรอบ) 7
 ควรเติมลมยางใหเหมาะสมกับความเร็วในการ การตรวจสอบสภาพยาง
ขับขี่ รวมทั้งน้ําหนักผูขับขี่ ผูโดยสาร สัมภาระ
และน้ําหนักของอุปกรณตกแตงที่เพิ่มขึน้ ของ
รถรุนนี้

1. แกมยาง
2. ขีดจํากัดความสึกของดอกยาง
3. ความลึกรองดอกยาง

ควรตรวจสอบสภาพยางทุกครั้งเปนประจํากอนการ
ใชรถ ถาลายตามขวางที่แสดงในรูป (ความลึกต่ําสุด
ของรองดอกยาง) แสดงขึน้ บนยาง หรือถายางมีรอย
ขีดหรือโดนเศษแกว เศษตะปู หรือมีการฉีกขาดของ
แกมยาง ใหนํารถไปเปลีย่ นยางทันทีที่ผูจําหนาย
ยามาฮา
7-17
UB27EXU0.book Page 18 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UWA10462
มาตรฐานความลึกรองดอกยาง (หนาและหลัง): คําเตือน
1.0 มม. (0.04 นิ้ว)
ยางหนาและยางหลังของรถจักรยานยนตควรเปนยาง
UWA10563
ที่มรี ูปแบบและทําจากวัสดุชนิดเดียวกัน มิฉะนั้น
คําเตือน สมรรถนะในการบังคับรถจะลดลง ซึ่งสามารถนํา
 การขับขี่รถจักรยานยนตทยี่ างชํารุดหรือสึก ไปสูการเกิดอุบัติเหตุได
นั้นเปนสิ่งอันตราย เมื่อลายตามขวางของยาง
หลังการทดสอบ รายชื่อยางตอไปนี้เทานั้นที่ผาน
เริ่มแสดงขึน้ ใหนํารถไปเปลี่ยนยางทันทีที่
การทดสอบจากบริษัท ไทยยามาฮามอเตอร จํากัด
ผูจําหนายยามาฮา
วาสามารถใชกับรถจักรยานยนตยามาฮาได
 การเปลี่ยนลอทั้งหมดและชิ้นสวนตางๆ ที่
เกี่ยวของกับเบรค รวมทั้งยางควรใหชาง ยางหนา:
ผูจําหนายยามาฮาที่มคี วามรูค วามชํานาญ ขนาด:
เปนผูทําหนาทีน่ ี้ 90/100-18M/C 54S
 ไมแนะนําใหใชยางที่ปะไว ถาหลีกเลี่ยงไมได ผูผลิต/รุน:
ใหปะยางอยางระมัดระวัง และเปลี่ยนใหมให BRIDGESTONE/BT-45F
ยางหลัง:
เร็วที่สุดที่จะทําไดดวยสินคาคุณภาพสูง
ขนาด:
 ขับขีร่ ถจักรยานยนตดวยความเร็วปานกลาง 110/90-18M/C 61S
หลังจากเปลี่ยนยางใหมๆ เนื่องจากตองรอให ผูผลิต/รุน:
7 หนายางเขาที่ (broken in) กอน เพื่อใหใชยาง BRIDGESTONE/BT-45R
ไดเต็มประสิทธิภาพ

ขอมูลเกี่ยวกับยาง
รถจักรยานยนตรุนนี้ใชยางแบบมียางใน
อายุของยาง แมวายางจะไมไดถกู ใชงาน หรือใชใน
บางโอกาส การที่ดอกยางและแกมยางแตก บางครั้ง
อาจเกิดจากการผิดรูปของโครงยาง ซึ่งเปนสิ่งทียืนยัน
ถึงอายุของยาง ดังนั้น จึงควรตรวจสอบอายุของยาง
ที่เกาเก็บโดยผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหแนใจวายางมีความ
เหมาะสมที่จะใชตอไป

7-18
UB27EXU0.book Page 19 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU21944 UAU48293

ลอซี่ลวด การปรับตั้งระยะฟรีคันคลัทช
UWA10611

คําเตือน 2 3 4
ลอรถรุนนี้ไมไดออกแบบมาสําหรับใชกับยางแบบ 1
ไมมียางใน หามใชยางแบบไมมียางในกับรถรุน นี้ (a)

เพื่อใหรถจักรยานยนตของทานมีสมรรถนะในการ
ขับขีส่ ูง มีความทนทานและปลอดภัย ทานควร (b)
คํานึงถึงจุดที่สําคัญของลอรถดังตอไปนี้
 ควรตรวจสอบรอยแตกราว ความโคงงอ หรือ
การบิดงอของวงลอ และลอซี่ลวดเพื่อดูความ 1. ระยะฟรีคันคลัทช
หลวมหรือความเสียหายกอนขับขี่ทุกครั้ง หาก 2. ฝาครอบยาง
พบวายางและลอรถมีการชํารุดหรือเสียหาย 3. นัทล็อค
4. โบลทปรับตั้งระยะฟรีคันคลัทช
ควรใหชา งของผูจําหนายยามาฮาเปนผูเปลีย่ น
ลอให ไมควรซอมแซมลอรถดวยตนเอง แมจะ วัดระยะฟรีคันคลัทชหนาตามที่แสดง
เปนการซอมแซมเล็กๆ นอยๆ ก็ตาม ลอรถที่มี
การเสียรูปทรงหรือแตก ตองเปลี่ยนลอใหม ระยะฟรีคนั คลัทช:
 ทุกครั้งที่มกี ารเปลีย่ นลอและยาง ควรตรวจสอบ 5.0–10.0 มม. (0.20–0.39 นิ้ว)
ขนาดของยางวามีความสมดุลกับลอหรือไม ควรมีการตรวจสอบระยะฟรีคนั คลัทชตามระยะที่ 7
มิฉะนัน้ อาจทําใหประสิทธิภาพในการขับขี่ กําหนด และถาจําเปนใหปรับตั้งตามขั้นตอนตอไปนี้
และการบังคับควบคุมลดลง และอายุของยาง 1. เลื่อนฝาครอบยางกลับที่คันคลัทช
สั้นลง 2. คลายนัทล็อค
3. ในการเพิ่มระยะฟรีคลัทช ใหหมุนโบลท
ปรับตั้งระยะฟรีคลัทชที่อยูบนคลัทชไปในทิศ
ทาง (a) ในการลดระยะฟรีคันคลัทช ใหหมุน
โบลทปรับตั้งไปในทิศทาง (b)
4. ขันแนนนัทล็อค และจากนั้นเลื่อนฝาครอบยาง
ไปยังตําแหนงเดิม

7-19
UB27EXU0.book Page 20 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU48444
ขอแนะนํา การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหนา
หากยังไมไดระยะฟรีคันคลัทชที่กําหนดที่อธิบายไว
วัดระยะฟรีคันเบรคหนาตามที่แสดง
ดานบน หรือคลัทชทํางานไดไมถกู ตอง ใหผูจําหนาย
ยามาฮาตรวจสอบกลไกคลัทชภายในให ระยะฟรีคันเบรคหนา:
5.0–8.0 มม. (0.20 –0.31 นิ้ว)

ควรมีการตรวจสอบระยะฟรีคันเบรคหนาตามระยะที่
กําหนด และถาจําเปนใหปรับตั้งตามขั้นตอนตอไปนี้
1 2 3
4
(a)

(b)

1. นัทล็อค
2. สกรูปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหนา
7 3. ฝาครอบยาง
4. ระยะฟรีคันเบรคหนา

1. สกรูปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหนา
2. คลายนัทล็อค
3. ในการเพิม่ ระยะฟรีคันเบรคหนา ใหหมุนสกรู
ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหนาไปในทิศทาง (a)
ในการลดระยะฟรีคันเบรคหนา ใหหมุนสกรู
ปรับตั้งไปในทิศทาง (b)
4. ขันแนนนัทล็อค และจากนั้นเลือ่ นฝาครอบยาง
กลับไปยังตําแหนงเดิม

7-20
UB27EXU0.book Page 21 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UWA10631 UAU22199

คําเตือน การปรับตั้งความสูงของคันเบรคหลัง และ


 หลังจากปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหนา ให ระยะฟรี
ตรวจสอบระยะฟรีและแนใจวาเบรคทํางานได UWA10671

ถูกตอง คําเตือน
 คันเบรคที่ออนหรือหยุนจะบงบอกถึงการ แนะนําใหผูจําหนายยามาฮา เปนผูดําเนินการปรับตั้ง
ทํางานของระบบไฮดรอลิกในเบรคหนาวามี
อากาศเขาไป ดังนั้น จึงควรใหชางผูจําหนาย ความสูงของคันเบรคหลัง
ยามาฮาทําการไลลม (ไลฟองอากาศ) ออกจาก สวนบนของคันเบรคหลัง ควรอยูที่ตําแหนงระยะหาง
ระบบไฮดรอลิกกอนใชงานรถจักรยานยนต ที่กําหนดต่ํากวาสวนบนของที่พักเทาตามที่แสดง
เนื่องจากฟองอากาศที่อยูในระบบไฮดรอลิกนั้น
จะทําใหสมรรถนะการทํางานของเบรคลดลง ความสูงของคันเบรคหลัง:
20.0 มม. (0.79 นิ้ว)
ซึ่งจะสงผลตอการสูญเสียการทรงตัวของรถ
และอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุได

1
7

1. ความสูงของคันเบรคหลัง

ควรมีการตรวจสอบความสูงของคันเบรคหลังตาม
ระยะที่กําหนด และถาจําเปน ใหปรับตั้งตามขั้นตอน
ตอไปนี้
1. คลายนัทล็อคความสูงของคันเบรคหลัง
2. ในการทําใหคันเบรคหลังสูงขึน้ ใหหมุนโบลท
ปรับตั้งความสูงคันเบรคหลังไปในทิศทาง (a)
ในการลดคันเบรคหลังใหต่ําลง ใหหมุนโบลท
ปรับตั้งไปในทิศทาง (b)

7-21
UB27EXU0.book Page 22 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
ในการเพิ่มระยะฟรีคันเบรคหลัง ใหหมุนนัทปรับตั้ง
ระยะฟรีคันเบรคหลังที่กา นเบรคไปในทิศทาง (a)
(a) ในการลดระยะฟรีคนั เบรคหลัง ใหหมุนนัทปรับตั้ง
2 (b) ไปในทิศทาง (b)

(a) (b)
1. นัทล็อคความสูงของคันเบรคหลัง
2. โบลทปรับตั้งความสูงของคันเบรคหลัง

3. ขันแนนนัทล็อค 1
UWA11232

คําเตือน 1. นัทปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง
หลังจากปรับตัง้ ความสูงของคันเบรคหลังแลว ตอง UWA10681

ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลังดวย คําเตือน
 หลังจากปรับตั้งระยะหยอนโซขบั หรือการ
ระยะฟรีคันเบรคหลัง ถอดและติดตั้งลอหลัง ใหตรวจสอบระยะฟรี
คันเบรคหลังเสมอ
7
 ถาไมสามารถปรับตั้งไดเหมาะสมตามที่อธิบาย
ไวดานบน ควรนํารถไปใหชางผูจําหนาย
ยามาฮาเปนผูปรับตั้งให
1  หลังจากการปรับตัง้ ระยะฟรีคันเบรคหลังแลว
ตรวจสอบการทํางานของไฟเบรคดวย

1. ระยะฟรีคันเบรคหลัง

วัดระยะฟรีคนั เบรคหลังตามที่แสดง

ระยะฟรีคันเบรคหลัง:
20.0–30.0 มม. (0.79–1.18 นิ้ว)

ควรมีการตรวจสอบระยะฟรีคันเบรคหลังตามระยะที่
กําหนด และถาจําเปน ใหปรับตั้งตามขั้นตอนตอไปนี้

7-22
UB27EXU0.book Page 23 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU44821 UAU22274

การตรวจสอบคันเปลี่ยนเกียร สวิทชไฟเบรค
กอนการขับขี่ ควรตรวจสอบการทํางานของคัน
เปลีย่ นเกียรทุกครั้ง ถาการทํางานไมราบรื่น ใหนํา
รถจักรยานยนตเขาทําการตรวจสอบกับผูจําหนาย (a) 2
ยามาฮา
1 (b)

1. นัทปรับตั้งสวิทชไฟเบรคหลัง
2. สวิทชไฟเบรคหลัง

ไฟเบรคจะติดขึ้นเมื่อมีการทํางานคันเบรคหลังและ
คันเบรคหนา และควรสวางขึ้นกอนการเบรคจะ
ทํางานเล็กนอย ถาจําเปน ใหปรับตั้งสวิทชไฟเบรค
หลังดังนี้ แตสวิทชไฟเบรคหนาควรจะปรับโดย
ผูจําหนายยามาฮา
หมุนนัทปรับตั้งสวิทชไฟเบรคหลังขณะยึดสวิทช
ไฟเบรคหลังใหเขาที่ หากตองการทําใหไฟเบรค 7
สวางเร็วขึ้น ใหหมุนนัทปรับตั้งไปในทิศทาง (a)
หากตองการทําใหไฟเบรคสวางชาลง ใหหมุนนัท
ปรับตั้งไปในทิศทาง (b)

7-23
UB27EXU0.book Page 24 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU22382 UAU22541

การตรวจสอบผาเบรคหนาและผาเบรคหลัง ผาเบรคหลัง
ควรมีการตรวจสอบความสึกของผาเบรคหนาและ
2
หลังตามระยะที่กําหนดในตารางการบํารุงรักษา และ
การหลอลื่นตามระยะ
UAU22432

ผาเบรคหนา
1
1
2
1. รองพิกัดวัดความสึกของผาเบรคหลัง
2. เสนขีดจํากัดการสึกหรือผาเบรคหลัง

เบรคหลังจะมีพิกดั วัดความสึกของผาเบรค เพื่อให


ผูใชสามารถตรวจสอบความสึกของผาเบรคหลังเอง
ไดโดยไมตองถอด-ประกอบชิน้ สวนของเบรค ในการ
1. ผาเบรค ตรวจสอบความสึกของผาเบรคหลัง ใหดูที่รองพิกัด
2. รองพิกัดวัดความสึกของผาเบรค วัดความสึกขณะใชเบรค ถาผาเบรคหลังสึกจนเห็น
รองพิกัดวัดความสึกถึงเสนขีดจํากัดการสึก ควรให
ผาเบรคหนาแตละอันจะมีรองพิกัดวัดความสึก
7 ชางผูจําหนายยามาฮาเปลี่ยนผาเบรคหลังใหใหม
เพื่อใหผูใชสามารถตรวจสอบความสึกของผาเบรคเอ
ทั้งชุด
งได โดยไมตองถอด-ประกอบชิ้นสวนเบรค ซึ่งการ
ตรวจสอบความสึกของผาเบรค ใหดูที่รองพิกัดวัด
ความสึก ถาผาเบรคสึกจนถึงขึดซึ่งเกือบไมเห็น
รองพิกัดวัดความสึก ควรใหชางผูจําหนายยามาฮา
เปลี่ยนผาเบรคทั้งชุด

7-24
UB27EXU0.book Page 25 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU32346
 ระวังไมใหน้ําเขาไปในกระปุกน้ํามันเบรค ขณะ
การตรวจสอบระดับน้ํามันเบรค ทําการเติมน้ํามันเบรค เนื่องจากน้ําที่ปนเขาไป
กอนการขับขี่ ควรตรวจสอบระดับน้ํามันเบรความีอยู จะสงผลใหเกิดฟองอากาศในสายน้ํามันเมื่อได
เกินระดับขั้นต่ําสุดที่กําหนดหรือไม ตรวจสอบระดับ รับความรอน
น้ํามันเบรคกับระดับสูงสุดของกระปุกน้ํามันเบรค
UCA17641
ใหเติมน้ํามันเบรค ในกรณีที่จําเปน ขอควรระวัง
น้ํามันเบรคอาจทําใหพื้นสีผิวหรือชิ้นสวนพลาสติก
เสียหายได ดังนั้น จึงควรทําความสะอาดน้ํามันเบรค
ที่หกทันทีทกุ ครั้ง
1 เมื่อผาเบรคมีความสึก ระดับของน้ํามันเบรคจะคอยๆ
ลดลงเปนปกติ ระดับน้ํามันเบรคที่ต่ําลงอาจแสดงถึง
ผาเบรคสึกและ/หรือมีการรั่วของระบบเบรค ดังนั้น
ตองแนใจวาไดทําการตรวจสอบการสึกของผาเบรค
1. ขีดบอกระดับต่ําสุด และการรั่วของระบบเบรค หากระดับน้ํามันเบรค
ลดลงอยางรวดเร็ว ควรใหชางผูจําหนายยามาฮา
น้ํามันเบรคที่กําหนด: ตรวจสอบหาสาเหตุกอ นการขับขี่
DOT 4
UWA15991 7
คําเตือน
การบํารุงรักษาที่ไมถูกตองอาจทําใหสูญเสีย
ประสิทธิภาพของการเบรค สิ่งที่ควรระมัดระวัง:
 หากน้ํามันเบรคมีนอยเกินไปอาจกอใหเกิด
อากาศในระบบเบรค ซึ่งอาจสงผลให
ประสิทธิภาพในการเบรคลดลง
 ทําความสะอาดฝาเติมกอนการเปดออก ใช
เฉพาะน้ํามันเบรค DOT 4 จากภาชนะทีซ่ ีลไว
เทานั้น
 ใชน้ํามันเบรคคุณภาพตามทีก่ ําหนดไวเทานั้น
มิฉะนั้นอาจทําใหซีลยางเสื่อมได ซึ่งจะกอ
ใหเกิดการรั่วของระบบเบรค
 ควรเติมน้ํามันเบรคชนิดเดียวกับที่มอี ยูแลว
การเติมน้ํามันเบรคอื่นนอกเหนือจาก DOT 4
อาจทําใหเกิดปฏิกิรยิ าทางเคมีทอี่ ันตราย

7-25
UB27EXU0.book Page 26 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU22724 UAU22762

การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรค ระยะหยอนโซขับ
ควรนํารถของทานไปเปลี่ยนน้ํามันเบรคที่ผูจําหนาย ควรตรวจสอบระยะหยอนโซขับทุกครั้งกอนการขับขี่
ยามาฮา ตามระยะที่กําหนดในตารางการบํารุงรักษา และถาจําเปน ใหปรับตั้ง
และการหลอลื่นตามระยะ นอกจากนี้ ควรตรวจสอบ
UAU59595
สภาพของซีลน้ํามันที่อยูบนแมปมเบรคตัวบนและแม การตรวจสอบระยะหยอนโซขบั
ปมเบรคตัวลางวาอยูในสภาพดีหรือไม ในขณะ 1. ตั้งรถจักรยานยนตไวบนขาตั้งกลาง
เดียวกันก็ควรเปลี่ยนสายน้ํามันเบรคตามระยะที่ 2. เขาเกียรวาง
กําหนดดานลาง หรือเมื่อไรก็ตามที่มีการชํารุดหรือ 3. กดบนโซขบั ทีจ ดุ กลางระหวางเพลาขับและแกน
รั่วซึม ลอหลัง
 ซีลน้ํามัน: เปลี่ยนทุกๆ 2 ป 4. วัดระยะหยอนโซขับดังรูปที่แสดง
 ทอน้ํามันเบรค: เปลีย่ นทุกๆ 4 ป

7 1
1. ระยะหยอนโซขับ

ระยะหยอนโซขับ:
30.0–40.0 มม. (1.18–1.57 นิ้ว)

5. หากระยะหยอนโซขับไมถกู ตอง ใหปรับตาม


ขั้นตอนตอไปนี้ ขอควรระวัง: โซขับที่หยอน
ไมพอดีจะทําใหเครื่องยนตทํางานมากเกินไป
และชิ้นสวนอื่นๆ ทีส่ ําคัญของรถจักรยานยนต
และอาจทําใหโซเลื่อนไหลหรือแตกหักได เพื่อ
ปองกันไมใหเกิดภาวะนี้ขนึ้ ใหรักษาระยะ
หยอนโซขบั ใหเปนไปตามขอกําหนด [UCA10572]

7-26
UB27EXU0.book Page 27 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU59643

การปรับตั้งระยะหยอนโซขับ ขอแนะนํา
ใหปรึกษาผูจําหนายยามาฮา กอนทําการปรับระยะ ในการใชเครื่องหมายปรับตั้งบนสวิงอารมทัง้ สองขาง
หยอนโซขับ ดูใหแนใจวาตัวปรับตั้งความตึงโซขับทั้งสองอยูใน
1. นําขาตั้งกลางขึน้ และจากนั้นวางขาตั้งกลางลง ตําแหนงเดียวกัน เพื่อใหตําแหนงศูนยลอถูกตอง
2. คลายนัทปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง นัทกาน
ทอรกเบรค และนัทเพลา 4
3
4 (b)
3
2
1 5 (a)
2 1
1. นัทแกนลอ
6 2. นัทล็อคตัวปรับตั้งความตึงโซขับ
1. นัทปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง 3. โบลทปรับตั้งระยะหยอนโซขับ
2. โบลทปรับตั้งระยะหยอนโซขับ 4. เครื่องหมายปรับตั้ง
3. นัทล็อคตัวปรับตั้งความตึงโซขับ
4. นัทแกนลอ 6. นําขาตั้งกลางขึ้น และจากนั้นวางขาตั้งกลางลง
5. นัทกานทอรกเบรค 7. ขันนัทล็อคตัวปรับความตึงโซขบั ตามคาแรงขัน 7
6. กานทอรกเบรค ที่กําหนด และจากนั้นขันนัทแกนลอ และกาน
ทอรกเบรคตามคาแรงขันที่กําหนด
3. คลายนัทล็อคตัวปรับความตึงโซขับ ที่แตละ
ปลายของสวิงอารม คามาตรฐานแรงบิด:
4. ตั้งรถจักรยานยนตไวบนขาตั้งกลาง นัทล็อคตัวปรับตั้งความตึงโซขับ:
5. ในการปรับโซขับใหตึง ใหหมุนโบลทปรับตั้ง 16 นิวตันเมตร (1.6 m·kgf, 12 ft·lbf)
ระยะหยอนโซขบั ที่ปลายทั้งสองขางของ นัทแกนลอ:
130 นิวตันเมตร (13 m·kgf, 94 ft·lbf)
สวิงอารมไปในทิศทาง (a) ในการปรับโซขับ นัทกานทอรกเบรค:
ใหหยอน ใหหมุนโบลทปรับตั้งที่ปลายทั้งสอง 19 นิวตันเมตร (1.9 m·kgf, 14 ft·lbf)
ขางของสวิงอารมไปในทิศทาง (b) จากนั้นดัน
ลอหลังไปขางหนา 8. ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง (ดูหนา 7-21)

7-27
UB27EXU0.book Page 28 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UWA10661 UAU23026

คําเตือน การทําความสะอาดและการหลอลื่นโซขับ
หลังจากการปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลังแลว ควรทําความสะอาดและหลอลื่นโซขับตามระยะที่
ตรวจสอบการทํางานของไฟเบรคดวย กําหนดในตารางการบํารุงรักษาและการหลอลื่นตาม
ระยะ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อขับขี่ในบริเวณที่มีฝุน
9. ตรวจสอบใหแนใจวาตัวปรับตั้งความตึงโซขับ
ละอองหรือโคลนมาก มิฉะนั้นโซขับจะสึกหรอเร็ว
ทั้งสองอยูในตําแหนงเดียวกัน ระยะหยอนโซ
ใหทําการบํารุงรักษาโซขับตามขัน้ ตอนตอไป
ถูกตอง และการเคลื่อนที่ของโซขับมีความ UCA10584

ราบรื่น ขอควรระวัง
ตองทําการหลอลื่นโซขบั หลังการลางทําความสะอาด
รถจักรยานยนตหรือขับขีใ่ นบริเวณที่เปยก
1. ทําความสะอาดโซขับดวยน้ํามันกาดและแปรง
นุมขนาดเล็ก ขอควรระวัง: เพื่อปองกันโอริง
ชํารุดเสียหาย หามใชเครื่องทําความสะอาด
แรงดันไอน้ํา เครื่องฉีดน้ําแรงดันสูง หรือสาร
ทําละลายที่ไมเหมาะสมในการทําความสะอาด
โซขับ [UCA11122]
2. เช็ดโซขบั ใหแหง
7 3. หลอลืนโซขับใหทัวดวยนำมันหลอลืนพิเศษโซ
โอริง ขอควรระวัง: อยาใชน้ํามันเครื่องหรือ
สารหลอลื่นอื่นใดกับโซขับ เพราะอาจมีสาร
ที่ทําใหโอริงชํารุดเสียหายได [UCA11112]

7-28
UB27EXU0.book Page 29 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU23098 UAU49921

การตรวจสอบและการหลอลื่นสายควบคุม การตรวจสอบและการหลอลื่นปลอกคันเรง
ตางๆ และสายคันเรง
กอนการขับขี่ทุกครั้ง ควรตรวจสอบการทํางานของ กอนการขับขี่ ควรตรวจสอบการทํางานของปลอก
สายควบคุมตางๆ วายังอยูในสภาวะปกติหรือไม และ คันเรงทุกครั้ง นอกจากนี้ ควรใหผูจําหนายยามาฮา
หลอลื่นถาจําเปน หากสายควบคุมตางๆ เกิดการชำรุด ทําการหลอลื่นสายคันเรงตามที่กําหนดในตารางการ
หรือมีการเคลือ่ นไหวที่ไมคลองตัว ควรนําไปใหชา ง บํารุงรักษาและการหลอลื่นตามระยะดวย
ผูจําหนายยามาฮาทําการตรวจสอบหรือเปลี่ยนใหม
คําเตือน! การชํารุดทีผ่ ิวดานนอกของสายควบคุม
ตางๆ อาจทําใหเกิดสนิมภายในสายและทําใหสาย
เคลื่อนที่อยางติดขัด จึงควรเปลี่ยนสายใหมโดยเร็ว
ที่สุด เพื่อปองกันอันตรายทีจ่ ะเกิดขึ้น [UWA10712]
สารหลอลื่นที่แนะนํา:
น้ํามันหลอลื่นโซและสายควบคุมของยามาฮาหรือ
น้ํามันเครื่อง

7-29
UB27EXU0.book Page 30 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU23144 UAU23185

การตรวจสอบและการหลอลื่นคันเบรคและ การตรวจสอบและการหลอลื่นคันเบรคหลัง
คันคลัทช ควรตรวจสอบการทํางานของคันเบรคหลังทุกครั้ง
ควรตรวจสอบการทํางานของคันเบรคหนาและ กอนการขับขี่ และทําการหลอลื่นเดือยคันเบรคถา
คันคลัทช ทุกครั้งกอนการขับขี่ และทําการหลอลืน่ จําเปน
เดือยคันเบรคหนาและคันคลัทช ถาจําเปน
คันเบรคหนา

สารหลอลื่นที่แนะนํา:
จาระบีลิเธียม
คันคลัทช

สารหลอลื่นที่แนะนํา:
คันเบรคหนา:
จาระบีซิลิโคน
คันคลัทช:
จาระบีลิเธียม

7-30
UB27EXU0.book Page 31 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU23215 UAUM1653

การตรวจสอบและการหลอลื่นขาตั้งกลางและ การหลอลื่นเดือยสวิงอารม
ขาตั้งขาง

เดือยสวิงอารมตองไดรับการหลอลืน่ โดยศูนยผู
กอนการขับขี่ทุกครั้ง ควรตรวจสอบวาขาตั้งกลาง จําหนายยามาฮาตามที่กําหนดไวในตารางการบํารุง
และขาตั้งขางมีการเคลื่อนตัวขณะใชงานฝดหรือไม รักษาและการหลอลื่นตามระยะ
และหลอลื่นที่จดุ หมุนถาจําเปน
UWA10742 สารหลอลื่นที่แนะนํา:
คําเตือน จาระบีลิเธียม
ถาขาตั้งกลางหรือขาตัง้ ขางมีการเคลื่อนที่ขึ้นและลง
ไมคลองหรือฝด ควรนํารถไปใหชางผูจําหนาย
ยามาฮา ทําการตรวจสอบหรือซอมแซม มิฉะนั้น 7
ขาตัง้ กลางหรือขาตั้งขาง อาจสัมผัสกับพื้นและทําให
เสียการทรงตัว ทําใหสูญเสียการควบคุมได

สารหลอลื่นที่แนะนํา:
จาระบีลิเธียม

7-31
UB27EXU0.book Page 32 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU51951 UAU45512

การตรวจสอบโชคอัพหนา การตรวจสอบชุดบังคับเลี้ยว
ควรมีการตรวจสอบสภาพและการทํางานของโชคอัพ ถาลูกปนคอรถเกิดการสึกหรือหลวม อาจกอใหเกิด
หนาตามที่กําหนดไวในตารางการบํารุงรักษาและการ อันตรายตอผูขับขีไ่ ด ดังนั้น จึงควรตรวจสอบการ
หลอลื่นตามระยะ ทํางานของชุดบังคับเลี้ยวตามที่กําหนดในตารางการ
บํารุงรักษาและการหลอลืน่ ตามระยะ
การตรวจสอบสภาพ 1. ตั้งรถจักรยานยนตไวบนขาตั้งกลาง คําเตือน!
ตรวจสอบโชคอัพหนาวามีการชํารุดเสียหาย หรือการ เพื่อหลีกเลี่ยงการไดรับบาดเจ็บ ใหหนุนรองรถ
รั่วของน้ํามันหรือไม เพื่อตั้งรถจักรยานยนตใหมนั่ คง เพื่อปองกัน
อันตรายจากรถลม [UWA10752]
การตรวจสอบการทํางาน 2. จับสวนลางสุดของแกนโชคอัพหนาและโยกไปมา
1. ตั้งรถจักรยานยนตบนพื้นผิวราบและใหอยูใน ถาแกนโชคอัพหนามีระยะฟรีหรือหลวม ควร
แนวตั้งตรงขึ้น คําเตือน! เพื่อหลีกเลี่ยงการ นํารถจักรยานยนตของทานไปตรวจสอบและ
ไดรับบาดเจ็บ ใหหนุนรองรถเพื่อตัง้ รถ แกไขที่รานผูจําหนายยามาฮา
จักรยานยนตใหมนั่ คง เพื่อปองกันอันตราย
จากรถลม [UWA10752]
2. ขณะที่บีบคันเบรคหนา ใหกดคอรถอยางแรง
ที่แฮนดบังคับ และกดหลายๆ ครั้ง เพื่อ
7 ตรวจสอบแรงอัดของโชคอัพหนาวามีการ
ดีดตัวอยางราบรื่นหรือไม

UCA10591

ขอควรระวัง
ถาโชคอัพหนาเกิดการชํารุดเสียหายหรือทํางาน
ไมราบรืน่ ใหนํารถจักรยานยนตของทานไปให
ผูจําหนายยามาฮา ตรวจสอบหรือซอม

7-32
UB27EXU0.book Page 33 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU23292 UAU40447

การตรวจสอบลูกปนลอ แบตเตอรี่
1

1. แบตเตอรี่
ควรมีการตรวจสอบลูกปนลอหนาและลอหลังตามที
กําหนดในตารางการบํารุงรักษาและการหลอลื่นตาม แบตเตอรี่จะอยูใตเบาะนั่ง (ดูหนา 4-12)
ระยะ ถาดุมลอติดขัดหรือฝด ควรนํารถเขาตรวจสอบ รถจักรยานยนตรุนนี้ติดตั้งแบตเตอรี่ชนิด VRLA
ลูกปนลอที่รานผูจําหนายยามาฮา (Valve Regulated Lead Acid) ซึ่งไมจําเปนตอง
ตรวจสอบระดับน้ํายาอีเล็คโตรไลทหรือเติมน้ํากลั่น
อยางไรก็ตาม การเชือ่ มตอขั้วสายแบตเตอรี่จําเปน
ตองตรวจสอบเพื่อใหแนใจวาเชือ่ มตอไดอยาง
ปลอดภัยแลว
UWA10761 7
คําเตือน
 น้ํายาอีเล็คโตรไลทเปนสารพิษและมีอันตราย
เนื่องจากประกอบไปดวยกรดซัลฟูริก ซึ่งอาจ
ทําใหผิวหนังไหมอยางรุนแรง ดังนั้นจึงควร
หลีกเลี่ยงไมใหผิวหนัง ดวงตา หรือเสื้อผา
สัมผัสกับน้ํายา ควรปองกันดวงตาของทาน
ทุกครั้งเมื่อตองทํางานใกลกับแบตเตอรี่ ในกรณี
น้ํากรดถูกรางกาย ควรปฐมพยาบาลเบื้องตน
ดวยวิธีดังตอไปนี้
 ภายนอก: ลางดวยน้ําเปลามากๆ

 ภายใน: ดื่มน้ําหรือนมทันทีในปริมาณมาก

และรีบไปพบแพทยทนั ที
 ดวงตา: ลางดวยน้ําเปลาประมาณ 15 นาที

และรีบไปพบแพทย

7-33
UB27EXU0.book Page 34 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
กระบวนการทํางานของแบตเตอรี่กอใหเกิด 3. ชารจไฟใหเต็มกอนนําไปติดตั้งเขากับรถ
แกสไฮโดรเจน ดังนั้น ควรหลีกเลี่ยงอยาใหเกิด ขอควรระวัง: เมื่อติดตั้งแบตเตอรี่ ควรแนใจ
ประกายไฟ เปลวไฟ สูบบุหรี่ หรืออื่นๆ ใกลกับ วาหมุนกุญแจไปที่ “OFF” กอนเชื่อมตอขัว้ สาย
แบตเตอรี่ และควรทําการชารจแบตเตอรีใ่ นที่ [UCA16931]

ที่มอี ากาศถายเท UCA16531

ขอควรระวัง
 ควรเก็บแบตเตอรี่ใหพนมือเด็ก
ชารจแบตเตอรี่อยูเ สมอ การเก็บแบตเตอรี่ที่คาย
การชารจแบตเตอรี่ ประจุไฟออกหมด อาจทําใหแบตเตอรี่ชํารุดเสียหาย
ใหผูจําหนายรถจักรยานยนตยามาฮาชารจแบตเตอรี่ โดยถาวร
ทันที หากแบตเตอรี่มีการคายประจุไฟออก อยาลืม
วาแบตเตอรี่มีแนวโนมจะคายประจุไฟไดเร็วขึน้
หากติดตั้งอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเสริมใหกับ
รถจักรยานยนต
UCA16522

ขอควรระวัง
หากตองการชารจแบตเตอรี่ชนิด VRLA (Valve
Regulated Lead Acid) ตองใชเครื่องชารจแบตเตอรี่
(แรงดันไฟฟาคงที่) แบบพิเศษ การใชเครื่องชารจ
7 แบตเตอรีท่ ั่วไปจะทําใหแบตเตอรี่ชํารุดเสียหาย

การเก็บแบตเตอรี่
1. หากไมมีการใชรถมากกวา 1 เดือน ควรถอด
แบตเตอรี่ออกจากตัวยานพาหนะ ชารจไฟ
ใหเต็ม และนําไปเก็บไวที่เย็นและแหง
ขอควรระวัง: เมื่อถอดแบตเตอรี่ ควรแนใจ
วาหมุนกุญแจไปที่ “OFF” กอนถอดขัว้ สาย
ออก [UCA16323]
2. หากตองการเก็บแบตเตอรี่ไวนานกวาสองเดือน
ใหตรวจสอบอยางนอยเดือนละครั้ง และชารจ
ใหเต็ม ถาจําเปน

7-34
UB27EXU0.book Page 35 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU59444

การเปลี่ยนฟวส
1
ฟวสหลักติดตั้งอยูดานในขัว้ สายแบตเตอรี่ (ดูหนา
7-33)
3

1
1. ขั้วสายแบตเตอรี่

5. ถอดฟวสที่ขาดออก แลวเปลี่ยนใหมโดยใช
2 ฟวสซึ่งมีขนาดแอมปตามที่กําหนด คําเตือน!
1. ขั้วสายแบตเตอรี่ ไมควรใชฟวสที่มกี ําลังไฟสูงกวาที่กําหนดแทน
2. ฟวสหลัก ของเกาทีช่ ํารุด เนื่องจากกําลังไฟสูงจะทําให
3. ฟวสหลักสํารอง เกิดอันตรายตอระบบไฟฟา และอาจทําใหเกิด
ไฟลุกไหมได [UWA15132]
ถาฟวสหลักขาด ใหเปลี่ยนใหมตามขัน้ ตอนตอไปนี้
1. บิดสวิทชกุญแจไปที่ตําแหนง ปด “OFF” และ ขนาดฟวสที่กําหนด:
ปดวงจรไฟฟาทั้งหมด ฟวสหลัก:
2. ถอดเบาะนั่ง (ดูหนา 4-12) 30.0 A 7
3. ถอดแบตเตอรี่โดยการถอดสายรัดแบตเตอรี่
ออก 6.
ตอขั้วสายแบตเตอรี่
7.
ติดตั้งแบตเตอรี่โดยการใสสายรัดแบตเตอรี่
1 2 8.
ติดตั้งเบาะนั่ง
9.
หมุนกุญแจไปที่ตําแหนงเปด “ON”
10.
หากฟวสขาดอีก ควรใหผูจําหนายยามาฮา
เปนผูตรวจสอบระบบไฟฟาให
กลองฟวส ซึ่งมีฟวสของวงจรตางๆ อยู จะติดตั้งอยูใต
เบาะนั่งคนขับ

1. แบตเตอรี่
2. สายรัดแบตเตอรี่

4. ปลดขัว้ สายแบตเตอรี่ออก

7-35
UB27EXU0.book Page 36 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
1 ขนาดฟวสทกี่ ําหนด:
ฟวสระบบสัญญาณไฟเลี้ยว:
15.0 A
ฟวสไฟหนา:
15.0 A
ฟวสจุดระเบิด:
10.0 A
ฟวสรอง:
7.5 A
1. กลองฟวส ฟวสระบบหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง:
7.5 A
1 ฟวสไฟจอดรถ:
2 7.5 A
3
4 4. บิดกุญแจไปที่ตําแหนงเปด “ON” และเปด
5 วงจรไฟฟาที่ตองการเพื่อตรวจสอบวาอุปกรณ
7 6 ทํางานหรือไม
5. หากฟวสขาดอีก ควรใหผูจําหนายยามาฮา
เปนผูตรวจสอบระบบไฟฟาให
7 1. ฟวสไฟหนา
2. ฟวสระบบสัญญาณไฟเลี้ยว
3. ฟวสจุดระเบิด
4. ฟวสรอง
5. ฟวสระบบหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
6. ฟวสไฟจอดรถ
7. ฟวสสํารอง

ถาฟวสขาด ใหเปลี่ยนใหมตามขัน้ ตอนตอไปนี้


1. บิดสวิทชกญ ุ แจไปที่ตําแหนงปด “OFF” เพื่อ
ตรวจสอบการปดวงจรไฟฟา
2. ถอดเบาะนั่ง (ดูหนา 4-12)
3. ถอดฟวสที่ขาดออก แลวเปลีย่ นใหมโดยใช
ฟวสซึ่งมีขนาดแอมปตามที่กําหนด คําเตือน!
ไมควรใชฟวสทมี่ ีกําลังไฟสูงกวาทีก่ ําหนดแทน
ของเกาที่ชํารุด เนื่องจากกําลังไฟสูงจะทําให
เกิดอันตรายตอระบบไฟฟา และอาจทําใหเกิด
ไฟลุกไหมได [UWA15132]

7-36
UB27EXU0.book Page 37 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU64010

การเปลี่ยนหลอดไฟหนา
รถจักรยานยนตรุนนี้ใชหลอดไฟหนาฮาโลเจน ถา
หลอดไฟหนาขาด ใหเปลี่ยนตามขั้นตอนตอไปนี้
UCA10661

ขอควรระวัง
อยาสัมผัสสวนที่เปนแกวของหลอดไฟหนา และอยา
ใหเปอนน้ํามันเพราะจะทําใหมัว และทําใหความสวาง 1
และอายุการใชงานของหลอดไฟสั้นลง ดังนั้นควร
1. สกรู
ทําความสะอาดหลอดไฟ ดวยการใชผาสะอาดชุบ
แอลกอฮอลหรือทินเนอรเช็ดทําความสะอาดคราบ 2. ปลดขั้วไฟหนา และจากนั้นถอดฝาครอบ
สกปรก หรือรอยนิ้วมือที่หลอดไฟหนา หลอดไฟหนาออก

1
2

1. ขั้วไฟหนา
1. อยาสัมผัสสวนที่เปนแกวของหลอดไฟ
2. ฝาครอบหลอดไฟหนา
1. คลายสกรู เพื่อชุดไฟหนาออก
3. ปลดขอยึดหลอดไฟหนา และจากนั้นถอด
หลอดไฟที่ขาดออก

1. สกรู

1. ตัวยึดหลอดไฟหนา

4. ใสหลอดไฟหลอดหนาอันใหมกลับเขาไป
แลวยึดใหแนนกับขัว้ ยึดหลอดไฟ

7-37
UB27EXU0.book Page 38 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
5. ประกอบฝาครอบหลอดไฟ และจากนั้นตอ UAU33417

ขั้วไฟหนา
การเปลี่ยนหลอดไฟหรี่
6. ประกอบชุดไฟหนากลับคืนโดยใสสกรู หากไฟหรี่หนาไมติด ใหทําการเปลีย่ นตามขั้นตอน
7. ควรใหผูจําหนายยามาฮาทําการปรับตั้งลําแสง ตอไปนี้
ไฟหนาให ถาจําเปน 1. คลายสกรู เพื่อชุดไฟหนาออก

1. สกรู

1
1. สกรู

2. ถอดขั้วหลอดไฟ (พรอมหลอดไฟ) โดยดัน


เขาไปและหมุนทวนเข็มนาฬิกา

1. ขั้วหลอดไฟหรี่

7-38
UB27EXU0.book Page 39 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
3. ถอดหลอดไฟที่ขาด โดยดันเขาและหมุนทวน UAU70550

เข็มนาฬิกา
การเปลี่ยนหลอดไฟเบรค/ไฟทาย
1. ถอดเลนสไฟเบรค/ไฟทาย โดยคลายสกรูออก
1
2
2

1. ขั้วหลอดไฟหรี่
2. หลอดไฟหรี่หนา 1. สกรู
2. เลนสไฟเบรค/ไฟทาย
4. ใสหลอดไฟใหมเขาไปในขั้ว แลวกดเขาไป
ดานใน และหมุนตามเข็มนาฬิกาไปจนสุด 2. ถอดหลอดไฟที่ขาด โดยดันเขาและหมุนทวน
5. ติดตั้งขั้วหลอดไฟ (พรอมหลอดไฟ) โดยดัน เข็มนาฬิกา
เขาไปและหมุนตามเข็มนาฬิกาจนกระทั่งหยุด
6. ประกอบชุดไฟหนากลับคืนโดยใสสกรู
1 7

1. หลอดไฟเบรค/ไฟทาย

3. ใสหลอดไฟใหมเขาไปในขั้ว แลวกดเขาไป
ดานใน และหมุนตามเข็มนาฬิกาไปจนสุด
4. ประกอบเลนสกลับคืนดวยสกรู ขอควรระวัง:
อยาไขสกรูแนนเกินไป มิฉะนั้นเลนสอาจแตก
หักได [UCA10682]

7-39
UB27EXU0.book Page 40 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU60010
แสดง ขอควรระวัง: อยาไขสกรูแนนเกินไป
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว มิฉะนั้นเลนสอาจแตกหักได [UCA10682]
1. ถอดเลนสหลอดไฟเลี้ยว, ขอบไฟเลีย้ วและ
ปะเก็น โดยการถอดสกรู

1. เลนสไฟเลี้ยว
2. สกรู

3
2
1
1. เลนสไฟเลี้ยว
2. ขอบไฟเลี้ยว
3. ปะเก็น

2. ถอดหลอดไฟที่ขาด โดยดันเขาและหมุนทวน
เข็มนาฬิกา
3. ใสหลอดไฟใหมเขาไปในขั้ว แลวกดเขาไป
ดานใน และหมุนตามเข็มนาฬิกาไปจนสุด
4. ติดตั้งปะเก็น ขอบและเลนสโดยการใสสกรู
ตรงกับรองบนขอบและเลนสหนั ไปทางดานที่

7-40
UB27EXU0.book Page 41 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU24361

ลอหนา
UAU59603
1

การถอดลอหนา
UWA10822

คําเตือน
เพื่อหลีกเลี่ยงการไดรับบาดเจ็บ ใหหนุนรองรถเพื่อตั้ง
1. สายมาตรวัดความเร็ว
รถจักรยานยนตใหมั่นคง เพื่อปองกันอันตรายจาก
รถลม 5. ถอดนัทแกนลอและแหวนรองออก
6. ดึงแกนลอออก แลวจากนั้นถอดปลอกรอง
1. คลายนัทแกนลอ
และลอออก ขอควรระวัง: หามบีบเบรค
หลังจากที่ถอดลอและดิสกเบรคออกมาแลว
มิฉะนั้นจะมีแรงดันใหผาเบรคหนีบติดกัน
[UCA11073]

การประกอบลอหนา
1 1. ติดตั้งชุดเฟองมาตรวัดความเร็วเขาไปในดุมลอ 7
เพื่อใหสวนเดือยยื่นเขาไปในชองเล็ก
1. นัทแกนลอ 1 2
2. คลายนัทตัวยึดแกนลอ 3

1. ชอง
1 2. ชุดเฟองมาตรวัดความเร็ว
3. เขี้ยวล็อค
1. นัทตัวยึดแกนลอ
2. ติดตั้งปลอกรองเขาไปในดานขวาของดุมลอ
3. ตั้งรถจักรยานยนตไวบนขาตั้งกลาง 3. ยกลอขึ้นใสเขาระหวางแกนโชคอัพหนา
4. ถอดสายมาตรวัดความเร็วออกจากชุดเฟองมาตรวัด ทั้งสอง
ความเร็ว

7-41
UB27EXU0.book Page 42 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UAU25081

ขอแนะนํา ลอหลัง
แนใจวามีพื้นที่เพียงพอระหวางผาเบรคกอนใสดิสก
เบรค และชองเล็กในชุดเฟองมาตรวัดความเร็วนั้น UAU59614

จะพอดีเหนือประกับบนแกนโชคอัพ
การถอดลอหลัง
UWA10822

1 2 คําเตือน
เพื่อหลีกเลี่ยงการไดรับบาดเจ็บ ใหหนุนรองรถเพื่อ
ตั้งรถจักรยานยนตใหมั่นคง เพื่อปองกันอันตราย
3 จากรถลม
1. คลายนัทแกนลอ และนัทกานทอรกเบรคที่แผน
ผาเบรค
1. ประกับ 2. ถอดกานทอรกเบรคออกจากแผนผาเบรค โดย
2. ชอง การถอดนัท แหวนรองและโบลทออก
3. แกนลอ
7 8
4. สอดแกนลอจากดานซาย และจากนั้นติดตั้ง 6
2 5
แหวนรองและนัทแกนลอ 4
7 5. นําขาตั้งกลางขึ้น เพื่อใหลอหนาสัมผัสกับพื้น 3 9
และจากนั้นนําขาตั้งขางลง
7
6. ขันแนนนัทแกนลอและนัทตัวยึดแกนลอตามคา
แรงขันที่กําหนด
1 10
คามาตรฐานแรงบิด: 1. กานเบรค
นัทแกนลอ: 2. คันเพลาลูกเลี้ยวเบรค
105 นิวตันเมตร (10.5 m·kgf, 76 ft·lbf) 3. นัทปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง
นัทตัวยึดแกนลอ:
4. โบลทปรับตั้งระยะหยอนโซขับ
9 นิวตันเมตร (0.9 m·kgf, 6.5 ft·lbf)
5. นัทล็อคตัวปรับตั้งความตึงโซขับ
7. ขณะที่บีบคันเบรคหนา ใหกดคอรถอยางแรงที่ 6. ตัวปรับตั้งความตึงโซขับ
7. แหวนรอง
แฮนดบังคับ และกดหลายๆ ครั้ง เพื่อตรวจสอบ
8. นัทแกนลอ
แรงอัดของโชคอัพหนาวามีการดีดตัวอยางราบ
9. นัทกานทอรกเบรค
รื่นหรือไม 10. กานทอรกเบรค
8. เชือ่ มตอสายมาตรวัดความเร็ว
3. ตั้งรถจักรยานยนตไวบนขาตั้งกลาง

7-42
UB27EXU0.book Page 43 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
4. ถอดนัทปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง และปลด ขอแนะนํา
กานเบรคออกจากคันเพลาลูกเบี้ยวเบรค ไมจําเปนตองถอดแยกโซขบั เพื่อถอดและติดตั้งลอ
5. คลายนัทล็อคตัวปรับตึงโซขับ และโบลท
ปรับตั้งระยะหยอนโซขับที่ปลายทั้งสองของ การประกอบลอหลัง
สวิงอารม 1. ติดตั้งบูชรองเขาไปในดานซายของดุมลอ
2. ติดตั้งตัวปรับความตึงโซและลอ โดยสอดแกน
1 ลอจากดานซาย
3. ใสโซขับเขากับเฟองโซดานหลัง
4. ติดตั้งแหวนรองและนัทแกนลอ
5. ติดตั้งกานเบรคเขาไปที่คันเพลาลูกเบี้ยวเบรค
และจากนั้นติดตั้งนัทปรับตั้งระยะฟรีคันเบรค
หลังเขาไปที่กานเบรค
2 3 4
6. ตอกานทอรกเบรคไปยังแผนผาเบรค โดยการ
1. โบลทปรับตั้งระยะหยอนโซขับ
ติดตั้งโบลท แหวนรองและนัท
2. นัทล็อคตัวปรับตั้งความตึงโซขับ
7. ปรับตั้งระยะหยอนโซขบั (ดูหนา 7-26)
3. นัทแกนลอ
4. แหวนรอง 8. นําขาตั้งกลางขึ้น เพื่อใหลอ หลังสัมผัสกับพืน้
และจากนั้นนําขาตั้งขางลง
6. ถอดนัทแกนลอและแหวนรองออก 9. ขันนัทกานทอรกเบรคและนัทแกนลอตามคาแรง 7
7. ขณะที่รองรับลอหลัง ใหดึงแกนลอออก ขันที่กําหนด
8. ถอดตัวปรับความตึงโซ และบูชรองออก
9. กดลอไปดานหนา และจากนั้นถอดโซขบั คามาตรฐานแรงบิด:
ออกจากเฟองโซดานหลัง นัทกานทอรกเบรค:
19 นิวตันเมตร (1.9 m·kgf, 14 ft·lbf)
นัทแกนลอ:
130 นิวตันเมตร (13 m·kgf, 94 ft·lbf)

10. ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลัง (ดูหนา 7-21)


1

1. โซขับ

7-43
UB27EXU0.book Page 44 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตั้งตามระยะ
UWA10661 UAU25852

คําเตือน การแกไขปญหา
หลังจากการปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหลังแลว แมวารถจักรยานยนตยามาฮา จะไดรับการตรวจสอบ
ตรวจสอบการทํางานของไฟเบรคดวย อยางละเอียดกอนที่จะมีการสงรถออกจากโรงงาน
แตกอ็ าจจะยังมีปญหาตางๆ เกิดขึ้นตามมาได ไมวา
จะเปนปญหาในเรื่องของน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบกำลัง
อัด หรือระบบจุดระเบิด เปนตน ซึ่งจะสงผลให
สตารทเครื่องยาก และอาจทําใหสูญเสียกําลัง
ตารางการแกไขปญหาตอนี้ จะทําใหทานมีความ
รวดเร็วและเปนขั้นตอนที่งา ยสําหรับการตรวจสอบ
ระบบสําคัญของเครื่องยนตดวยตัวทานเอง เนื่องจาก
ชางของผูจําหนายยามาฮานั้นมีความรู ความสามารถ
มีประสบการณดานเทคนิค และมีเครื่องมือที่พรอม
อยางไรก็ตาม ทานควรตรวจสอบระบบที่สําคัญของ
เครื่องยนตดวยตัวทานเองดวยเชนกัน
เมื่อทานตองการเปลี่ยนอะไหล ก็ควรเลือกใชอะไหล
แทของยามาฮาเทานั้น การใชอะไหลที่ลอกเลียนแบบ
อาจทําใหสมรรถนะในการทํางานลดลง หรือมีอายุ
7 การใชงานที่สั้นกวาอะไหลแท นอกจากนี้อาจทําให
ทานเสียคาซอมบํารุงมากกวาเดิมก็เปนได
UWA15142

คําเตือน
ขณะตรวจสอบระบบน้ํามันเชื้อเพลิง หามสูบบุหรี่
และดูใหแนใจวาไมมเี ปลวไฟหรือประกายไฟใน
บริเวณนัน้ รวมทัง้ ไฟแสดงการทํางานของเครื่องทํา
น้ํารอนหรือเตาไฟ น้ํามันเบนซินหรือไอน้ํามันเบนซิน
สามารถจุดติดหรือระเบิดได ซึ่งทําใหไดรับบาดเจ็บ
หรือทําใหทรัพยสินเสียหายได

7-44
UB27EXU0.book Page 45 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การบํารุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ
UAU67930

ตารางการแกไขปญหา
1. น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันเพียงพอ ตรวจสอบแบตเตอรี่

ตรวจสอบระดับน้ำมันในถัง

ถŒาเครื่องยนต ไม‹ติด
ไม‹มีน้ำมัน เติมน้ำมัน ใหŒตรวจสอบแบตเตอรี่

2. แบตเตอรี่ ไฟเลี้ยวกระพริบสว‹าง แบตเตอรี่อยู‹ในสภาพดี


เปดกุญแจในตำแหน‹งเปด ทำการสตารทดŒวยเทŒา
เปดสวิทชไฟเลี้ยว เครื่องยนตสตารทไม‹ติด
ตรวจสอบการต‹อสาย ตรวจสอบการจุดระเบิด
ไฟเลี้ยวไม‹กระพริบ แบตเตอรี่ และใหŒนำรถ
หรือสว‹างนŒอย เขŒาชารจแบตเตอรี่
ที่ผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า
ถŒาจำเปšน

7
เช็ดดŒวยผŒาใหŒแหŒง และใหŒ
3. ระบบจุดระเบิด เป‚ยก มีระยะห‹างเขี้ยวหัวเทียน ทำการสตารทดŒวยเทŒา
ตามที่กำหนด หรือ
เปลี่ยนหัวเทียน
ถอดหัวเทียนและตรวจสภาพ

นำรถเขŒาตรวจสอบที่ ถŒาเครื่องยนต ไม‹ติด


แหŒง ผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า ใหŒตรวจสอบกำลังอัด

4. กำลังอัด มีกำลังอัด เครื่องยนตสตารทไม‹ติด


โปรดนำรถเขŒาตรวจสอบที่ผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า

ทำการสตารทดŒวยเทŒา

ไม‹มีกำลังอัด นำรถเขŒาตรวจสอบที่ผูŒจำหน‹ายยามาฮ‹า

7-45
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทําความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
UAU37834 UAUW0066

ขอควรระวังเกี่ยวกับสีแบบผิวดาน การดูแลรักษา
UCA15193
การออกแบบที่เปดโลงของรถจักรยานยนตแสดง
ขอควรระวัง
ใหเห็นถึงความนาทึ่งของเทคโนโลยี แตกท็ ําใหเกิด
รถบางรุนมีชิ้นสวนตกแตงเปนสีแบบผิวดาน ตอง ความเสียหายไดงายขึน้ ดวย สนิมและการกัดกรอน
แนใจวาไดสอบถามขอคําแนะนํา จากผูจําหนาย สามารถเกิดขึ้นได แมวาจะใชสวนประกอบที่มี
ยามาฮาแลววาตองใชผลิตภัณฑใดกอนทําความ คุณภาพสูง ทอไอเสียที่เปนสนิมอาจลามไปถึงตัวรถ
สะอาดรถ การใชแปรง ผลิตภัณฑสารเคมีรุนแรง ไดโดยไมทันรูตัว อยางไรก็ตาม สนิมจะทําให
หรือสารประกอบทําความสะอาดเมือ่ ทําความสะอาด รูปลักษณโดยรวมของรถจักรยานยนตตองเสียไป
ชิ้นสวนเหลานั้น จะเกิดรอยขีดขวนหรือทําใหพื้นผิว การดูแลรักษาที่ถกู ตองและบอยครั้งไมเพียงแตจะเปน
เสียหายได ไมควรใชแวกซเคลือบชิ้นสวนที่ตกแตงสี เงือ่ นไขในการรับประกันเทานั้น แตยังทําให
แบบผิวดาน รถจักรยานยนตของทานดูดี ยืดอายุการใชงานและ
ใหประสิทธิภาพสูงสุดอีกดวย

กอนทําความสะอาด
1. ครอบปลายทอไอเสียดวยถุงพลาสติกหลังจาก
เครื่องยนตเย็นแลว
2. ดูใหแนใจวาไดประกอบฝาปดและฝาครอบ
ทั้งหมด รวมทั้งขั้วตอและขั้วเสียบไฟฟา
ทั้งหมด และปลัก๊ หัวเทียนอยางแนนหนาแลว
3. ขจัดคราบสกปรกฝงแนน เชน รอยน้ํามันไหม
8
บนหองเครื่องยนต ทําความสะอาดดวยสาร
ขจัดคราบมันและแปรง แตหามใชสารดังกลาว
กับ ซีล ปะเก็น และแกนลอ ใหลา งสิ่งสกปรก
และสารขจัดคราบมันออกดวยน้ําทุกครั้ง

การทําความสะอาด
UCA10773

ขอควรระวัง
 หลีกเลี่ยงการใชน้ํายาทําความสะอาดลอชนิด
เปนกรดแก โดยเฉพาะกับลอซี่ลวด ถาตองใช
น้ํายาดังกลาวเพื่อขจัดคราบสกปรกทีล่ างออก
ยาก อยาปลอยทิ้งน้ํายาไวในบริเวณทีท่ ําความ
สะอาดนานกวาที่แนะนําไว นอกจากนี้ ใหลาง

8-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทําความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
บริเวณดังกลาวใหทวั่ ดวยน้ําเช็ดใหแหงทันที เพื่อใหแนใจวาจะไมทําใหเกิดรอยขีดขวน
แลวฉีดสเปรยปองกันการกัดกรอน ถาหนากากบังลมเปนรอยขีดขวน ใหใชสาร
 การทําความสะอาดทีไ่ มถูกตองอาจทําให ขัดพลาสติกที่มคี ุณภาพหลังการลาง
ชิ้นสวนพลาสติก (เชน บังลม ฝาครอบ หนากาก
บังลม เลนสไฟหนา เลนสเรือนไมล และอื่นๆ) หลังจากใชงานตามปกติ
และหมอพักไอเสียเสียหายได ใชเฉพาะผา ขจัดสิ่งสกปรกออกดวยน้ําอุน น้ํายาทําความสะอาด
เนื้อนุมหรือฟองน้ําที่สะอาดชุบน้ําในการ อยางออนและฟองน้ํานุมที่สะอาด แลวลางออกใหทั่ว
ทําความสะอาดพลาสติก อยางไรก็ตาม น้ําอาจ ดวยน้ําสะอาด ใชแปรงสีฟนหรือแปรงลางขวดใน
ทําความสะอาดชิ้นสวนพลาสติกไดไมหมด บริเวณที่เขาถึงไดยาก สิ่งสกปรกหรือซากแมลงที่
อาจใชน้ํายาทําความสะอาดอยางออนชวยได ลางออกยากจะลางออกไดงา ยขึ้น ถาใชผาเปยกคลุม
และตองแนใจ วาไดลางน้ํายาทําความสะอาดที่ บริเวณดังกลาวเปนเวลาสองสามนาทีกอ นทําความ
ตกคางอยูดวยน้ําเปลาออกจนหมด มิฉะนั้น สะอาด
อาจทําใหชิ้นสวนพลาสติกเสียหายได
 หามใชผลิตภัณฑเคมีทมี่ ีฤทธิ์รุนแรงกับ หลังจากขับขี่ขณะฝนตกหรือใกลทะเล
ชิ้นสวนพลาสติก หลีกเลี่ยงการใชผาหรือ เนื่องจากเกลือทะเลจะมีคุณสมบัติกัดกรอนอยาง
ฟองน้ํา ที่สัมผัสโดนผลิตภัณฑทําความสะอาด รุนแรง ใหปฏิบัติดังตอไปนี้หลังจากขับขี่ขณะฝนตก
ที่มฤี ทธิ์รุนแรงหรือกัดกรอนสารทําละลายหรือ หรือใกลทะเล
ทินเนอร น้ํามันเชื้อเพลิง (เบนซิน) สารกําจัด 1. ทําความสะอาดรถจักรยานยนตดวยน้ําเย็นและ
สนิม หรือสารปองกันสนิม น้ํามันเบรค น้ํายา น้ํายาทําความสะอาดอยางออน หลังจาก
ตานการแข็งตัว หรือน้ํายาอีเล็คโตรไลท เครื่องยนตเย็นลงแลว ขอควรระวัง: หามใช
 หามใชหัวฉีดน้ําแรงดันสูงหรือเครื่องทําความ น้ําอุน เนื่องจากจะเพิ่มปฏิกิริยากัดกรอนของ 8
สะอาดแบบแรงดันไอน้ําสูง เนื่องจากจะทําให เกลือ [UCA10792]
น้ําแทรกซึมและทําลายบริเวณตอไปนี้คือ ซีล 2. ฉีดสเปรยปองกันการกัดกรอนบนพื้นผิวโลหะ
(ของลอและลูกปนสวิงอารม โชคอัพหนา และ ทั้งหมด รวมทั้งสวนที่เคลือบโครเมียมและ
เบรค) ชิ้นสวนของระบบไฟฟา (ขั้วปลั๊ก ขัว้ ตอ นิกเกิลเพื่อปองกันการกัดกรอน
หนาปด สวิทช และไฟสองสวาง) ทอ และชอง
ระบายอากาศ หลังจากทําความสะอาด
 สําหรับรถจักรยานยนตรุนทีต่ ิดตั้งหนากาก 1. เช็ดรถจักรยานยนตใหแหงดวยชามัวสหรือผา
บังลม: หามใชน้ํายาทําความสะอาดที่มฤี ทธิ์ ซับน้ํา
รุนแรงหรือฟองน้ําเนื้อแข็ง เนื่องจากจะทําให 2. เช็ดโซขับใหแหงทันที และทําการหลอลื่นเพื่อ
มัวหรือเปนรอยขีดขวน สารทําความสะอาด ปองกันการเกิดสนิม
พลาสติกบางชนิดอาจทําใหเกิดรอยขีดขวนบน
หนากากบังลม ทดสอบผลิตภัณฑดังกลาวใน
บริเวณซอกเล็กๆ ของหนากากบังลมกอน

8-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทําความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
3. ใชสารขัดโครเมียมเพื่อขัดเงาชิน้ สวนตางๆ ที่  หามลงน้ํามันหรือแวกซบนชิ้นสวนที่เปนยาง
เปนโครเมียม อะลูมิเนียม และเหล็กสเตนเลส หรือพลาสติก แตใหใชผลิตภัณฑดูแลรักษา
รวมทัง้ ระบบไอเสีย (คราบสีคล้ําบนเหล็ก ที่เหมาะสมแทน
สเตนเลสที่เกิดจากความรอนก็สามารถขจัด  หลีกเลี่ยงการใชสารขัดหยาบ เนื่องจากจะเปน
ออกดวยการขัดแบบนี้) การทําลายเนื้อสี
4. สําหรับการปองกันการกัดกรอน ขอแนะนํา
ใหฉีดสเปรยปองกันการกัดกรอนบนพื้นผิว ขอแนะนํา
โลหะทั้งหมด รวมทั้งสวนที่เคลือบโครเมียม  ใหขอคําแนะนํา จากผูจําหนายยามาฮาสําหรับ
และนิกเกิลเพื่อปองกันการกัดกรอน ผลิตภัณฑที่เหมาะสม
5. ใชสเปรยน้ํามันเปนสารทําความสะอาด  การลางทําความสะอาดสภาพอากาศที่มีฝนตก
อเนกประสงคเพื่อขจัดสิ่งสกปรกที่เหลืออยู หรืออากาศชื้นอาจทําใหเลนสไฟหนาเกิดฝาได
6. แตมสีในบริเวณที่เสียหายเล็กนอยเนื่องจากเศษหิน ใหเปดไฟหนาสักระยะเพื่อไลความชืน้ ออกจาก
ฯลฯ เลนส
7. ลงแวกซบนพื้นผิวที่ทําสีทั้งหมด
8. ปลอยรถจักรยานยนตทิ้งไวใหแหงสนิท กอน
เก็บหรือคลุมผา
UWA11132

คําเตือน
วัตถุแปลกปลอมบนเบรคหรือยางอาจทําใหสูญเสีย
การควบคุมได
 ดูใหแนใจวาไมมีคราบน้ํามันหรือแวกซบน
8
เบรคหรือยาง
 หากจําเปน ใหทําความสะอาดดิสกเบรคและ
ทอน้ํามันเบรคดวยน้ํายาทําความสะอาดหรือ
น้ํายาขัดดิสกเบรค แลวลางยางดวยน้ําอุน และ
น้ํายาทําความสะอาดอยางออน กอนขับขี่
รถจักรยานยนตในความเร็วที่สูงขึน้ ใหทดสอบ
ประสิทธิภาพในการเบรคและลักษณะการเขา
โคงของรถจักรยานยนตกอน
UCA10801

ขอควรระวัง
 ลงสเปรยน้ํามันและแวกซแตพอควร และเช็ด
สวนที่เกินออกใหหมด

8-3
UB27EXU0.book Page 4 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทําความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
UAU43204
(ซึง่ จะจํากัดการเกิดประกายไฟในขัน้ ตอน
การเก็บรักษา ตอไป)
d. ติดเครื่องยนตหลายๆ ครั้งดวยสตารทมือ
ระยะสั้น (เพื่อใหน้ํามันไปเคลือบผนังกระบอกสูบ)
เก็บรักษารถจักรยานยนตไวในที่แหงและเย็น หาก คําเตือน! เพื่อปองกันการชํารุดเสียหาย
จําเปนใหคลุมดวยผาคลุมซึง่ ถายเทอากาศไดเพื่อกัน หรือไดรับบาดเจ็บจากการจุดระเบิด
ฝุน ตรวจใหแนใจวาเครื่องยนต และระบบทอไอเสีย ตองแนใจวาตอสายดินเขีย้ วของหัวเทียน
เย็นลงแลวกอนคลุมรถจักรยานยนต ขณะสตารทเครื่องยนต [UWA10952]
UCA10811

ขอควรระวัง e. ถอดปลั๊กหัวเทียนออกจากหัวเทียน แลวใส


 การเก็บรถจักรยานยนตไวในหองทีม ่ ีอากาศ หัวเทียนและปลัก๊ หัวเทียน
ถายเทไมดีหรือคลุมดวยผาใบขณะยังเปยกอยู 4. หลอลืน่ สายควบคุมทั้งหมดและเดือยตางๆ ของ
จะทําใหน้ําและความชื้นซึมผานเขาไปภายใน คันบังคับและคันควบคุมทั้งหมดรวมทั้งของ
และเกิดสนิมได ขาตั้งขาง/ขาตั้งกลางดวย
 หากตองการปองกันการกัดกรอน ตอง
5. หากจําเปน ใหตรวจสอบและแกไขแรงดัน
หลีกเลี่ยงหองใตดินชื้นแฉะ คอกสัตว (เพราะ ลมยางใหถูกตอง แลวยกรถจักรยานยนตเพื่อให
มีแอมโมเนีย) และบริเวณที่เก็บสารเคมีที่มี ลอทั้งสองลอยขึ้นจากพื้น หรือหมุนลอเล็กนอย
ฤทธิ์รุนแรง ทุกเดือน เพื่อปองกันลอยางเสื่อมสภาพเฉพาะ
จุดเดียว
6. ใชถุงพลาสติกคลุมทอระบายหมอพักไอเสียไว
ระยะยาว
เพื่อปองกันความชืน้ เขาไปภายใน
กอนจะเก็บรถจักรยานยนตไวหลายเดือน:
7. ถอดแบตเตอรี่ออก และชารจใหเต็ม เก็บไวใน 8
1. ปฏิบัติตามคําแนะนําทั้งหมดในสวน “การ
ที่แหงและเย็น และชารจเดือนละครั้ง หามเก็บ
ดูแลรักษา” ของบทนี้
แบตเตอรี่ไวในที่เย็นจัดหรืออุนจัด [ต่ํากวา 0 °C
2. เติมน้ํามันเชื้อเพลิงลงในถังใหเต็ม และเติมสาร
(30 °F) หรือมากกวา 30 °C (90 °F)] สําหรับ
รักษาสภาพน้ํามันเชือ้ เพลิง (ถามี) เพื่อปองกัน
รายละเอียดการเก็บรักษาแบตเตอรี่ ดูหนา 7-33
ไมใหถงั น้ํามันเชือ้ เพลิงเปนสนิม และน้ํามัน
เชือ้ เพลิงเสื่อมสภาพ
3. ปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้เพื่อปกปองกระบอกสูบ
แหวนลูกสูบ ฯลฯ มิใหถกู กัดกรอน
a. ถอดฝาครอบหัวเทียนและหัวเทียนออกมา
b. เทนำมันเครือ งขนาดหนึง ชอนชาผานชองใส
หัวเทียน
c. ใสปลัก๊ หัวเทียนเขากับหัวเทียน แลววาง
หัวเทียนลงบนฝาสูบเพื่อใหไฟฟาลงกราวด

8-4
UB27EXU0.book Page 5 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

การทําความสะอาดและการเก็บรักษารถจักรยานยนต
ขอแนะนํา
ควรซอมรถจักรยานยนตในจุดที่จําเปน กอนที่จะมี
การเก็บรถจักรยานยนต

8-5
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

ขอมูลจําเพาะ
ขนาด: กรองอากาศ:
ความยาวทั้งหมด: ไสกรองอากาศ:
2,085 มม. (82.1 นิ้ว) ไสกรองกระดาษเคลือบน้ํามัน
ความกวางทั้งหมด: น้ํามันเชื้อเพลิง:
750 มม. (29.5 นิ้ว) น้ํามันเชื้อเพลิงที่แนะนํา:
ความสูงทั้งหมด: น้ํามันเบ็นซินไรสารตะกั่วหรือน้ํามันแกสโซฮอล (E10)
1,095 มม. (43.1 นิ้ว) ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง:
ความสูงจากพื้นถึงเบาะ: 12 ลิตร (3.2 US gal, 2.6 Imp.gal)
785 มม. (30.9 นิ้ว) ความจุการสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง:
ความยาวแกนลอหนาถึงลอหลัง: 2.2 ลิตร (0.58 US gal, 0.48 Imp.gal)
1,410 มม. (55.5 นิ้ว) หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง:
ความสูงจากพื้นถึงเครื่องยนต: เรือนลิ้นเรง:
130 มม. (5.12 นิ้ว) เครื่องหมาย ID:
รัศมีการเลี้ยวต่ําสุด: B271 00
2.4 ม. (7.87 ฟุต) หัวเทียน:
น้ําหนัก: ผูผลิต/รุน:
รวมน้ํามันหลอลื่นและน้ํามันเชื้อเพลิงเต็มถัง: NGK/BPR6ES
174 กก. (384 ปอนด) ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน:
เครื่องยนต: 0.7–0.8 มม. (0.028–0.031 นิ้ว)
ชนิดเครื่องยนต: คลัทช:
4 จังหวะ ชนิดคลัทช:
ระบบระบายความรอน: แบบเปยก หลายแผนซอนกัน
ระบายความรอนดวยอากาศ การสงกําลัง:
ชนิดของวาลว: อัตราทดเกียรหลัก:
SOHC 2.567 (77/30)
จํานวนของกระบอกสูบ: เฟองทาย:
กระบอกสูบเดี่ยว โซขับ
ปริมาตรกระบอกสูบ: อัตราทดเกียรรอง:
399 ซม.³ 2.947 (56/19)
กระบอกสูบ  ระยะชัก: ชนิดของการสงกําลัง:
87.0  67.2 มม. (3.43  2.65 นิ้ว) 5 สปด ขับคงที่
อัตราสวนการอัด: อัตราทดเกียร: 9
8.5 : 1 เกียร 1:
ระบบสตารท: 2.357 (33/14)
คันสตารทเทา เกียร 2:
ระบบหลอลื่น: 1.556 (28/18)
อางน้ํามันหลอลื่นแบบแหง เกียร 3:
น้ํามันเครื่อง: 1.190 (25/21)
ยี่หอที่แนะนํา: เกียร 4:
YAMALUBE 0.917 (22/24)
เกรดความหนืดของ SAE: เกียร 5:
10W-40 0.778 (21/27)
เกรดน้ํามันเครื่องที่แนะนํา: โครงรถ:
API service ชนิด SG หรือสูงกวา, มาตรฐาน JASO MA ชนิดโครงรถ:
ปริมาณน้ํามันเครื่อง: เซมิ ดับเบิ้ล เครเดิล
ความจุถังน้ํามันเชือ้ เพลิง: มุมคาสเตอร:
2.00 ลิตร (2.11 US qt, 1.76 Imp.qt) 27.7 °
มีการเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเครื่อง: ระยะเทรล:
2.10 ลิตร (2.22 US qt, 1.85 Imp.qt) 111 มม. (4.4 นิ้ว)

9-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

ขอมูลจําเพาะ
ยางหนา: ระบบกันสะเทือนหนา:
ชนิด: ชนิด:
มียางใน เทเลสโคปก
ขนาด: สปริง:
90/100-18M/C 54S คอยลสปริง
ผูผลิต/รุน: โชคอัพหลัง:
BRIDGESTONE/BT-45F แดมเปอรไฮดรอลิก
ยางหลัง: ระยะเคลื่อนของลอ:
ชนิด: 150 มม. (5.9 นิ้ว)
มียางใน ระบบกันสะเทือนหลัง:
ขนาด:
ชนิด:
110/90-18M/C 61S
ผูผลิต/รุน: สวิงอารม
BRIDGESTONE/BT-45R สปริง:
การบรรทุก: คอยลสปริง
น้ําหนักบรรทุกสูงสุด: โชคอัพหลัง:
150 กก. (331 ปอนด) แดมเปอรไฮดรอลิก
(น้ําหนักรวมของคนขับ ผูโดยสาร ระยะเคลื่อนของลอ:
สัมภาระและอุปกรณตกแตง) 105 มม. (4.1 นิ้ว)
แรงดันลมยาง (วัดขณะยางเย็น): ระบบไฟฟา:
น้ําหนักบรรทุกถึง 90 กก. (198 ปอนด): แรงดันไฟฟาระบบ:
หนา: 12 V
175 kPa (1.75 kgf/cm2, 25 psi) ระบบจุดระเบิด:
หลัง: ทีซไี อ
200 kPa (2.00 kgf/cm2, 29 psi) ระบบการชารจ:
90 กก. (198 ปอนด) ถึงน้ําหนักบรรทุกสูงสุด: เอซี แมกนีโต
หนา: แบตเตอรี่:
200 kPa (2.00 kgf/cm2, 29 psi) รุน:
หลัง: GT4B-5
225 kPa (2.25 kgf/cm2, 33 psi) แรงดันไฟฟา, ความจุ:
ลอหนา: 12 V, 2.5 Ah (10 HR)
9 ชนิดลอ: ไฟหนา:
ลอซีล่ วด ชนิดหลอดไฟ:
ขนาดวงลอ: หลอดไฟฮาโลเจน
18x1.85 กําลังวัตตหลอดไฟ  จํานวน:
ลอหลัง: ไฟหนา:
ชนิดลอ: H4, 60.0 W/55.0 W  1
ลอซีล่ วด ไฟเบรค/ไฟทาย:
ขนาดวงลอ: 21.0 W/5.0 W  1
18x2.15 ไฟเลี้ยวหนา:
เบรคหนา: 21.0 W  2
ชนิด: ไฟเลี้ยวหลัง:
ดิสกเบรคเดี่ยวไฮดรอลิก 21.0 W  2
น้ํามันเบรคที่กําหนด: ไฟหรี่หนา:
DOT 4 4.0 W  1
เบรคหลัง: ไฟเรือนไมล:
ชนิด: 1.7 W  4
ไฟสัญญาณไฟเกียรวาง:
ดรัมเบรคลีดดิ้งและเทรลลิ่งเชิงกล 1.7 W  1

9-2
UB27EXU0.book Page 3 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

ขอมูลจําเพาะ
สัญญาณเตือนไฟสูง:
1.7 W  1
สัญญาณไฟเลี้ยว:
1.7 W  1
ไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลิง:
3.0 W  1
สัญญาณไฟเตือนปญหาเครื่องยนต:
1.7 W  1
ฟวส:
ฟวสหลัก:
30.0 A
ฟวสไฟหนา:
15.0 A
ฟวสระบบสัญญาณไฟเลี้ยว:
15.0 A
ฟวสจุดระเบิด:
10.0 A
ฟวสไฟจอดรถ:
7.5 A
ฟวสระบบหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง:
7.5 A
ฟวสรอง:
7.5 A

9-3
UB27EXU0.book Page 1 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

ขอมูลสําหรับทานเจาของรถ
UAU53562
หมายเลขโครงรถจะประทับอยูบนทอคอรถ บันทึก
ตัวเลขที่แสดงถึงขอมูลรถของทาน
หมายเลขนี้ลงในชองวางที่มีให
บันทึกหมายเลขโครงรถ หมายเลขเครื่องยนต และ
ขอมูลปายรุนรถในชองวางที่กําหนดดานลาง ขอแนะนํา
หมายเลขเหลานีจ้ ะจําเปนตองใชในการลงทะเบียน หมายเลขโครงรถใชเพื่อแสดงถึงรถจักรยานยนต
รถจักรยานยนตกบั เจาหนาที่ในทองที่ของทานและ แตละคัน และอาจใชเพื่อเปนหมายเลขสําหรับขึน้
เมื่อตองการสั่งซื้อชิน้ สวนอะไหลจากผูจําหนาย ทะเบียนรถจักรยานยนตกบั เจาหนาที่ในทองที่ของ
ยามาฮา ทาน

หมายเลขโครงรถ: UAU26442

หมายเลขเครื่องยนต

หมายเลขเครื่องยนต:

1. หมายเลขเครื่องยนต
ขอมูลปายรุนรถ:
หมายเลขเครื่องยนตจะถูกปมอยูบนหองเครื่องยนต
UAU26481

ปายรุน รถ
UAU26401 1
หมายเลขโครงรถ
10

1 1. ปายรุนรถ

ปายรุนรถนี้ติดอยูที่โครงรถใตเบาะนั่ง (ดูหนา 4-12)


1. หมายเลขโครงรถ บันทึกขอมูลลงบนปายฉลากนี้ในชองวางที่ใหไว

10-1
UB27EXU0.book Page 2 Friday, February 5, 2016 9:36 AM

ขอมูลสําหรับทานเจาของรถ
ขอมูลนี้เปนสิ่งจําเปนเมื่อตองการสั่งซื้อชิน้ สวน
อะไหลจากผูจําหนายยามาฮา

10

10-2
UB27EXUA.book Page 1 Thursday, August 10, 2017 4:26 PM
UB27EXUA.book Page 2 Thursday, August 10, 2017 4:26 PM
UB27EXU3.book Page 3 Tuesday, October 17, 2017 1:44 PM

พิมพ์ด้วยกระดาษรีไซเคิล พิมพ์ ในประเทศญี่ปุ่น


2017.11-0.3×1 CR
(TH)

You might also like