You are on page 1of 123

PCX150

คู่มือผู้ใช้ : โปรดศึกษาคู่มือนี้ให้เข้าใจ ก่อนการใช้-การขับขี่


33 K36F T1 AP
คู่มือเล่มนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. และควรจะเก็บไว้กับรถเมื่อขายต่อให้กับผู้ใช้รถคนต่อไป

คู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยข้อมูลการผลิตครั้งล่าสุด ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ต้อง


แจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ห้ามกระทำ�การคัดลอกหรือจัดพิมพ์ข้อมูลส่วนใดของคู่มือนี้โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง
บริษัทฯ ก่อน

ภาพประกอบของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้อาจไม่ตรงกับรถจริงของท่าน


ยินดีต้อนรับ
ขอแสดงความยินดีที่ท่านได้เลือกซื้อรถจักรยานยนต์ รหัสต่อไปนี้ในคู่มือเล่มนี้จะระบุถึงประเทศ
ฮอนด้า A.T. คันใหม่คันนี้่ การเลือกซื้อรถจักรยานยนต์ รหัสประเทศ
ฮอนด้าของท่านครั้งนี้ทำ�ให้ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของ รหัส ประเทศ
ครอบครัวฮอนด้าทั่วโลก ซึ่งเป็นลูกค้าที่มีความพึงพอใจ WW150E
และชื่นชมในชื่อเสียงของฮอนด้าในการสร้างสรรค์ทุก
ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ TH ประเทศไทย

เพื่อความปลอดภัยและความเพลิดเพลินในการขับขี่
ของท่าน :
• กรุณาอ่านคู่มือผู้ใช้เล่มนี้โดยละเอียด
• ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�และวิธีการปฏิบัติทั้งหมดที่ปรากฏ
อยู่ในคู่มือเล่มนี้
• กรุณาให้ความสนใจเป็นพิเศษกับข้อความเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยซึ่งปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้และที่ตัวรถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วย
คำ�เตือน
คำ�ที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย
ความปลอดภัยของท่านและของผู้อื่นเป็นสิ่งสำ�คัญมากและ อันตราย
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้อย่างปลอดภัยก็ ท่านอาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
ถือเป็นความรับผิดชอบที่สำ�คัญด้วยเช่นกัน เพื่อที่จะช่วยให้ สาหัสหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ท่านตัดสินใจเกี่ยวกับความปลอดภัยได้เป็นอย่างดี ทางบริษัทฯ
ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการขับขี่และข้อมูลอื่นๆ แก่ท่านดังที่ คำ�เตือน
ปรากฏอยู่บนแผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัยที่ตัวรถและ ท่านอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสหาก
ในคู่มือเล่มนี้แล้ว ข้อมูลนี้จะเตือนท่านให้ระวังอันตรายที่ ไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
อาจเกิดขึ้นทั้งกับตัวของท่านเองหรือผู้อื่น
อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติหรือโดยความเป็นไปได้แล้ว ทาง ข้อควรระวัง
บริษัทฯ ไม่สามารถที่จะเตือนให้ท่านระวังอันตรายทุกอย่าง ท่านอาจได้รับบาดเจ็บหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ที่เกี่ยวเนื่องกับการขับขี่หรือการบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ได้ ดังนั้นท่านจึงต้องใช้วิจารณญาณที่ดีของ ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญอื่นๆ ได้แสดงไว้ภาย
ท่านเองในการตัดสินใจด้วย ใต้หัวข้อต่อไปนี้ :
ท่านจะพบข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญในหลาย ข้อสังเกต สัญลักษณ์นี้มุ่งหมายที่จะช่วยให้ท่านหลีกเลี่ยง
รูปแบบ ประกอบด้วย : ความเสียหายที่จะเกิดแก่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า
• แผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งปรากฏอยู่ที่ตัวรถ A.T. ของท่าน ทรัพย์สินอื่นๆ หรือสภาพแวดล้อม
• ข้อความเกี่ยวกับความปลอดภัย ซึ่งนำ�หน้าด้วยสัญลักษณ์
เตือนด้านความปลอดภัยและหนึ่งในสามของคำ�สัญญาณ คำ�เตือน
เหล่านี้ได้แก่ : อันตราย คำ�เตือน หรือ ข้อควรระวัง
โดยคำ�สัญญาณเหล่านี้หมายถึง : อาจถึงตายหรือพิการ หากไม่สวมหมวกนิรภัย
การรับประกันคุณภาพ
บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด รับประกันคุณภาพของชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ เป็นระยะเวลา 3 ปี หรือ 30,000 กม.
และชิ้นส่วนระบบหัวฉีด ได้แก่ ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นของเครื่องยนต์, ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน,
กล่อง ECU, ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง, หัวฉีด, เรือนลิ้นเร่ง, ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ รับประกันเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ
50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดมาถึงก่อน ถ้าเกิดการบกพร่องเสียหายอันเนื่องมาจากกรรมวิธีทางการผลิตไม่ดี
หรือวัสดุไม่ได้คุณภาพภายใต้การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาที่ถูกต้องตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือผู้ใช้ การรับประกัน
คุณภาพจะมีผลตั้งแต่วันที่ที่ซื้อรถเป็นต้นไป
เมื่อรถของท่านเกิดปัญหาทางด้านคุณภาพ ท่านสามารถไปใช้สิทธิในการรับประกันโดยการน�ำรถและสมุดคู่มือ
รับประกันไปที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด โดยรถของท่านจะได้
รับการแก้ไข ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีความบกพร่องนั้นโดยไม่คิดราคาค่าอะไหล่และค่าแรงซ่อม
การรับประกันคุณภาพนี้จะใช้กับรถที่จ�ำหน่ายโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด เท่านั้น ในกรณีที่มีการน�ำรถออก
นอกประเทศถือเป็นการสิ้นสุดการรับประกัน
กรณีที่มีการเปลี่ยนเจ้าของรถคนใหม่ กรุณาติดต่อ บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด แผนกลูกค้าสัมพันธ์ 0-2725-4000
เพื่อแก้ไขชื่อที่อยู่ของผู้ครอบครองรถคนใหม่

ในกรณีที่รถจักรยานยนต์ของท่านเกิดปัญหาด้านคุณภาพ และตรวจพบว่ามีสาเหตุมาจากการ
ละเลยไม่น�ำรถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่ก�ำหนด กรณีเช่นนี้ท่านอาจเสียสิทธิในการรับ
ประกันคุณภาพได้ ดังนั้นจึงขอให้ท่านถือเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งที่ต้องน�ำรถเข้ารับการบริการ
ตรวจเช็คตามก�ำหนดเวลาที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้า
เงื่อนไขการรับประกันชิ้นส่วนที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ
ชิ้นส่วนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลืองที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ หากเกิดความบกพร่องเสียหาย อันเนื่องมาจากกรรมวิธี
ทางการผลิตไม่ดีหรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ บริษัทฯ จะท�ำการรับประกันคุณภาพ แต่หากความเสียหายเกิดขึ้นมาจากการสึกหรอหรือเสื่อม
สภาพตามอายุการใช้งานปกติ บริษัทฯ ขอให้ท่านเป็นผู้ช�ำระค่าใช้จ่ายเอง
ชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน
หัวเทียน หลอดไฟต่างๆ ฟิวส์ สายไฟ สายควบคุมต่างๆ ผ้าเบรก ผ้าคลัทช์ สายพานขับเคลื่อน ปะเก็น สายยาง ท่อยาง และ
ชิ้นส่วนที่เป็นยาง ไส้กรอง ซีลกันน�้ำมัน ซีลกันฝุ่น น�้ำมันหล่อลื่น และสารหล่อลื่นทุกชนิด
หมายเหตุ รับประกันแบตเตอรี่ และ ยางนอก เป็นระยะเวลา 6 เดือน หรือ ระยะทาง 5,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
โดยมีผลตั้งแต่วันที่ซื้อรถเป็นต้นไป
ข้อปฏิบัติในการใช้รถในระยะรับประกัน
ข้อปฏิบัติต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ท่านต้องให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นท่านอาจเสียสิทธิในการรับประกันคุณภาพในบาง
กรณีได้ หากตรวจพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถมีสาเหตุมาจากการละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัตินี้
1. ปฏิบัติและใช้รถให้ถูกต้องตามค�ำแนะน�ำในคู่มือผู้ใช้รถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่นที่ท่านซื้อ
2. น�ำรถเข้ารับการบริการตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ พร้อมกับลงบันทึกประวัติการซ่อมใน
คู่มือเล่มนี้ทุกครั้ง
3. การบ�ำรุงรักษาจะกระท�ำอย่างถูกต้องโดยศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้าที่ท่านซื้อรถ แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่จ�ำเป็น
ท่านสามารถน�ำรถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจากฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
4. ไม่ดัดแปลงแก้ไขชิ้นส่วนต่างๆ ไปจากมาตรฐานการผลิตเดิม นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามข้อมูลของบริษัท เอ.พี.
ฮอนด้า จ�ำกัด
5. ไม่น�ำรถไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ที่มิใช่การใช้งานตามปกติ เช่น การแข่งขัน เป็นต้น
6. เมื่อมีการซ่อมบ�ำรุงรักษา ควรใช้แต่อะไหล่แท้และสารหล่อลื่นที่ฮอนด้าก�ำหนด เช่น น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเบรก และน�้ำยา
หม้อน�้ำ เป็นต้น
รายการอะไหล่ระบบหัวฉีด ที่รับประกัน 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
1. ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง (ไม่รวมลูกลอยน�้ำมันเชื้อเพลิง)
2. หัวฉีด
3. เรือนลิ้นเร่ง
4. ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ
5. กล่อง ECU
6. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นของเครื่องยนต์
7. ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน

1 2 3 4 5 6 7
สารบัญ
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย หน้า 2
คำ�แนะนำ�การใช้งาน หน้า 13
การบำ�รุงรักษา หน้า 49
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง หน้า 87
ข้อมูลที่ควรทราบ หน้า 100
ข้อมูลทางเทคนิค หน้า 113
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

ในส่วนนี้ประกอบด้วยข้อมูลสำ�คัญที่ควรทราบเพื่อให้ท่านสามารถขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านได้


อย่างปลอดภัย
กรุณาอ่านข้อมูลส่วนนี้อย่างละเอียด

คำ�แนะนำ�ความปลอดภัยน�������������������������หน้า 3
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย................หน้า 6
ข้อควรระวังในการขับขี่.............................หน้า 7
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลง
สภาพรถ....................................................หน้า 11
การบรรทุก.................................................หน้า 12
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยใน ตรวจสอบด้วยว่าทั้งตัวท่านเองและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวม
การขับขี่ของท่าน : หมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณ-

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


• ตรวจสอบรถของท่านเป็นประจ�ำและตามระยะเวลาที่ ภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัย ท่านควรแนะน�ำให้ผู้ซ้อนท้าย
ของท่านยึดหรือจับเหล็กท้ายเบาะหรือเอวของท่านไว้ให้แน่น
ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ทั้งหมด
เอียงตัวไปในทิศทางเดียวกันกับท่านในขณะเข้าโค้ง และ
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากเปลวไฟและประกายไฟ
วางเท้าทั้งสองข้างบนที่พักเท้าแม้แต่เมื่อหยุดรถก็ตาม
ก่อนที่จะเติมน�้ำมันลงในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
• อย่าติดเครื่องยนต์ในพื้นที่ปิดหรือพื้นที่ปิดเป็นบางส่วนเพราะ ศึกษาทำ�ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติ
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในไอเสียเป็นก๊าซที่ีมีพิษและอาจ แม้ว่าท่านจะเคยขับขี่รถจักรยานยนต์อื่นๆ มาแล้วก็ตาม
ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ท่านก็ควรฝึกหัดขับขี่ในบริเวณที่ปลอดภัยเพื่อให้เกิดความ
สวมหมวกกันน็อกอยู่เสมอ คุ้นเคยกับการท�ำงาน การบังคับ และการควบคุมรถจักรยาน-
เป็นข้อเท็จจริงที่พิสูจน์แล้วว่าหมวกกันน็อกและอุปกรณ์ป้อง ยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้ และยังเพื่อให้เกิดความเคยชินกับ
กันภัยมีส่วนส�ำคัญในการช่วยลดจ�ำนวนและความรุนแรง ขนาดและน�้ำหนักของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อีกด้วย
ของการบาดเจ็บที่ศีรษะและการบาดเจ็บอื่นๆ ดังนั้นท่านควร
สวมหมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรอง การขับขี่อย่างปลอดภัย
คุณภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัยเสมอ หน้า 6 ท่านควรให้ความสนใจกับยานพาหนะอื่นๆ ที่อยู่รอบตัวท่าน
ก่อนการขับขี่ เสมอ และอย่าคิดไปเองว่าผู้ขับขี่คนอื่นมองเห็นท่านอยู่ ท่าน
ต้องแน่ใจว่าท่านมีร่างกายแข็งแรง มีสภาพจิตใจและสมาธิดี ควรจะต้องเตรียมพร้อมอยู่ตลอดเวลาในการที่จะหยุดรถหรือ
และไม่ได้บริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และเสพยาเสพติด หลบหลีกอย่างฉับพลัน
3
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้อย่างชัดเจน เพื่อความปลอดภัยอย่าให้ผโู้ ดยสารหรือเพื่อนของท่านดื่ม
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้ชัดเจนยิ่งขึ้นโดย สุราด้วยเช่นกัน
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลากลางคืน โดยสวมชุดที่มีสีสว่าง รักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่านให้อยู่ในสภาพดี


หรือสีสะท้อนแสง ขับขี่บนเส้นทางที่ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถ ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า
มองเห็นท่านได้ ให้สัญญาณก่อนที่ท่านจะเลี้ยวหรือเปลี่ยน A.T. ของท่านอย่างถูกวิธีและให้อยู่ในสภาพการขับขี่ที่
ช่องทาง และใช้แตรเมื่อจ�ำเป็น ปลอดภัยด้วย ตรวจสอบรถของท่านก่อนการขับขี่ทุกครั้ง
ขับขี่ภายในขีดจ�ำกัดของท่าน และท�ำการบ�ำรุงรักษาตามที่ได้แนะน�ำไว้ทั้งหมด
อย่าขับขี่เกินกว่าความสามารถของท่านหรือขับขี่ด้วยความ อย่าบรรทุกของเกินกว่าขีดจ�ำกัดในการบรรทุก (หน้า 12)
และอย่าดัดแปลงสภาพรถหรือติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมซึ่งอาจ
เร็วสูงเกินกว่าที่ก�ำหนด ควรระลึกไว้ว่าความเมื่อยล้าและ
ท�ำให้รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ (หน้า 11)
การเพิกเฉยละเลยมีส่วนส�ำคัญที่จะลดความสามารถในการ
ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจและการขับขี่อย่างปลอดภัย หากท่านเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
ได้ ความปลอดภัยของตัวท่านเองเป็นสิ่งที่ท่านต้องค�ำนึงถึง
อย่าดื่มสุราในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ เป็นอันดับแรก หากท่านหรือบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บหรือ
ท่านไม่ควรดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถ เพราะแม้แต่การดื่มเครื่อง ได้รับความเสียหาย ขอให้ท่านได้ใช้เวลาในการประเมิน
ดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพียงแก้วเดียวก็อาจลดความสามารถของ ดูความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือความเสียหายนั้นและ
ท่านในการตอบสนองต่อสภาพการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลง ดูว่ามีความปลอดภัยในการที่ท่านจะขับขี่รถต่อไปได้หรือ
อยู่เสมอได้ และการตอบสนองดังกล่าวจะยิ่งเลวร้ายลงหาก ไม่ ท่านควรร้องขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินถ้าจ�ำเป็น
ท่านดื่มเพิ่มเข้าไปอีก ดังนั้นอย่าดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถ และ และควรปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับต่างๆ ที่มี
4
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย

หากมีบุคคลอื่นหรือยานพาหนะอื่นเข้ามาเกี่ยวพันกับการ อันตรายจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
เกิดอุบัติเหตุ ไอเสียประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นพิษซึ่งเป็น

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


ก๊าซที่ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น การหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอ-
หากท่านตกลงใจแล้วว่าท่านสามารถที่จะขับขี่รถต่อไปได้ นอกไซด์เข้าไปอาจท�ำให้หมดสติและอาจน�ำไปสู่การเสีย
อย่างปลอดภัย ถ้าเครื่องยนต์ยังคงติดอยู่ ก่อนอื่นขอให้ท่าน ชีวิตได้
ปิดสวิทช์ดับเครื่องยนต์ก่อนที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น แล้วจึงประ- ถ้าหากท่านติดเครื่องยนต์ในบริเวณที่อับอากาศหรือแม้แต่
เมินดูสภาพของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน และ พื้นที่ปิดเป็นบางส่วน อากาศที่ท่านหายใจเข้าไปนั้นอาจ
ตรวจสอบดูว่ามีการรั่วซึมของน�้ำมันต่างๆ หรือไม่ ตรวจเช็ค ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นอันตรายใน
ว่าน๊อตและโบ้ลท์ที่ส�ำคัญๆ ขันแน่นอยู่หรือไม่ และตรวจสอบ ปริมาณมาก ดังนั้นอย่าติดเครื่องยนต์ภายในโรงเก็บรถหรือ
ดูด้วยว่าแฮนด์บังคับเลี้ยว คันบังคับต่างๆ เบรกหน้า-หลัง พื้นที่ปิดอื่นๆ
และล้อหน้า-หลังอยู่ในสภาพที่มั่นคงและปลอดภัยหรือไม่
คำ�เตือน
ขอให้ท่านขับขี่อย่างช้าๆ และโดยระมัดระวัง รถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ของท่านอาจได้รับความเสียหายซึ่งเป็นความ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นก๊าซพิษ การหายใจเอา
เสียหายที่ยังไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดโดยทันทีหรือใน ก๊าซดังกล่าวเข้าไปอาจทำ�ให้หมดสติและถึงแก่เสีย
ขณะนั้น ดังนั้นท่านควรจะน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ชีวิตได้
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คอย่างละเอียดที่ศูนย์ซ่อม
ที่ได้มาตรฐานที่ใกล้ที่สุดในทันทีที่เป็นไปได้ หลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่หรือการกระทำ�ใดๆ ที่อาจ
ทำ�ให้ท่านได้รับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
5
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย • หน้ากากสำ�หรับป้องกันใบหน้าซึ่งไม่ขัดขวางการมองเห็น
• ขับขี่อย่างระมัดระวัง ให้้มือทั้งสองข้างของท่านจับอยู่ที่ หรือใช้เครื่องป้องกันดวงตาที่ได้รับการรับรองคุณภาพอื่นๆ
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

แฮนด์บังคับเลี้ยวและวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่วางเท้า คำ�เตือน
• ให้มือทั้งสองข้างของผู้ซ้อนท้ายจับอยู่ที่เหล็กท้ายเบาะหรือ
ที่เอวของท่าน และวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่พักเท้าใน การไม่สวมหมวกกันน็อกจะเพิ่มโอกาสในการได้รับ
ขณะซ้อนท้าย บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิต เนื่องจากการเกิด
• ขอให้ท่านคำ�นึงถึงความปลอดภัยของผู้ซ้อนท้ายของท่าน อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้มได้
รวมถึงผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์คันอื่นๆ เสมอ
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวก
อุปกรณ์ป้องกันภัย กันน็อกที่ได้รับการรับรองคุณภาพและอุปกรณ์ป้อง-
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวกกันน็อก กันภัยอยู่เสมอในขณะที่ท่านขับขี่รถ
สำ�หรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ เครื่อง ถุงมือ
ป้องกันดวงตา และเครื่องแต่งกายที่ช่วยป้องกันภัยสะท้อน สวมถุงมือหนังแบบเต็มนิ้วซึ่งมีความทนทานต่อการเสียดสีสูง
แสง ขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อตอบสนองต่อสภาพถนนและ รองเท้าบู๊ทหรือรองเท้าสำ�หรับการขับขี่
สภาพอากาศต่างๆ สวมรองเท้าบู๊ทที่แข็งแรงมีพื้นรองเท้าที่ไม่ลื่นและมีส่วนที่
หมวกกันน็อก ช่วยป้องกันข้อเท้าของท่าน
หมวกกันน็อกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย มี เสื้อแจ็กเก้ตและกางเกงขายาว
สีสว่างสดใส และมีขนาดที่พอเหมาะกับศีรษะของท่าน ควรสวมเสื้อแจ็กเก้ตแขนยาวที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
• ต้องสวมใส่ได้อย่างสบายแต่กระชับพอดีกับศีรษะของท่าน และสามารถป้องกันร่างกายของท่าน รวมทั้งกางเกงขายาว
พร้อมกับรัดสายรัดคางให้แน่น ที่ทนทานเพื่อการขับขี่ (หรือชุดป้องกันร่างกายทั้งตัว)
6
ข้อควรระวังในการขับขี่
ข้อควรระวังในการขับขี่ เบรก
ช่วงรัน-อิน ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ :

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


• เพื่อประสิทธิภาพในการเบรกอย่างเต็มที่ ให้ใช้ทั้งคันเบรก
ในระหว่างระยะ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) แรกของการขับขี่
หน้าและคันเบรกหลังพร้อมกัน
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อให้ท่านมั่นใจได้ • หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันและรุนแรง
ว่าการใช้งานรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านในอนาคต การเบรกอย่างทันทีทันใดอาจท�ำให้รถเสียการทรงตัวได้
เชื่อถือได้และมีประสิทธิภาพ ถ้าเป็นไปได้ควรจะลดความเร็วของรถลงก่อนที่จะเลี้ยว
• หลีกเลี่ยงการเร่งเครื่องยนต์จนสุดคันเร่งและการเร่งความ มิฉะนั้นท่านอาจเสี่ยงต่อการลื่นไถลได้
เร็วอย่างกะทันหัน • ขอให้ท่านโปรดใช้ความระมัดระวังเมื่อต้องขับขี่ไปบนพื้น
• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันหรืออย่างรุนแรง ผิวถนนที่มีแรงยึดเกาะต�่ำ
• ขับขี่อย่างรอบคอบและระมัดระวัง ยางจะลื่นไถลได้ง่ายยิ่งขึ้นหากขับขี่ไปบนพื้นถนนดังกล่าว
รวมทั้งระยะการหยุดรถก็จะยาวขึ้นด้วย
• หลีกเลี่ยงการใช้เบรกอย่างต่อเนื่อง
การเบรกซ�้ำๆ หรือการย�้ำเบรก เช่น เมื่อขับขี่ลงทางลาด
ชันเป็นระยะทางยาวๆ อาจท�ำให้เบรกร้อนเกินไป และ
ท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง

7
ข้อควรระวังในการขับขี่
คอมบายเบรก สภาพผิวถนนที่เปียกหรือมีฝนตก
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านติดตั้งระบบเบรกซึ่งจะ ผิวถนนจะลื่นเมื่อเปียก และเบรกที่เปียกก็จะท�ำให้ประสิทธิ-
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

กระจายแรงเบรกระหว่างเบรกหน้าและเบรกหลัง ภาพในการเบรกลดลงไปอีก
การกระจายของแรงเบรกไปยังเบรกหน้าและเบรกหลังมีความ ดังนั้นท่านต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อจะเบรกใน
แตกต่างกันเมื่อบีบเฉพาะคันเบรกหน้าเท่านั้น และเมื่อบีบ
สภาพผิวถนนที่เปียก
เฉพาะคันเบรกหลังเท่านั้น
ถ้าเบรกเปียก ควรย�้ำเบรกหลายๆ ครั้งในขณะที่ขับขี่ที่ความ
เพื่อประสิทธิภาพในการเบรกอย่างเต็มที่ ให้ใช้ทั้งคันเบรก-
หน้าและคันเบรกหลังพร้อมกัน เร็วต�่ำเพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น

8
ข้อควรระวังในการขับขี่
การจอดรถ จอดรถโดยใช้ขาตั้งข้างหรือขาตั้งกลาง
• จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน 1. ดับเครื่องยนต์

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


• ในกรณีที่ท่านต้องจอดรถบนพื้นที่ลาดเอียงเล็กน้อย 2. การใช้ขาตั้งข้าง
หรือจอดรถบนพื้นผิวถนนที่ไม่อัดแน่น ขอให้ท่านจอด ลดขาตั้งข้างลง
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. โดยไม่ให้ตัวรถเคลื่อน ค่อยๆ เอียงรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มาทางด้าน
หรือล้มลงได้ ซ้ายอย่างช้าๆ จนกระทั่งน�้ำหนักของตัวรถอยู่ที่ขาตั้ง
• ต้องแน่ใจว่าชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูงไม่สัมผัสกับวัสดุ ข้าง
ที่ติดไฟได้ง่าย การใช้ขาตั้งกลาง
• อย่าสัมผัสเครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่
เอาขาตั้งกลางลง ยืนทางด้านซ้ายของตัวรถ จับปลอก
มีอุณหภูมิสูงอื่นๆ จนกว่าจะเย็นลง
แฮนด์ด้านซ้ายและเหล็กท้ายเบาะด้านซ้ายไว้ กด
• เพื่อลดโอกาสในการถูกขโมยรถ ให้ล๊อคแฮนด์บังคับ
เลี้ยวเสมอและดึงกุญแจออกและปิดระบบกุญแจ ส่วนปลายของขาตั้งกลางลงด้วยเท้าขวาของท่าน
นิรภัย 2 ชั้นทุกครั้งเมื่อท่านจอดรถทิ้งไว้หรืออยู่ห่าง และในขณะเดียวกันให้ยกรถขึ้นและดึงถอยมาทาง
จากรถของท่านโดยไม่มีผู้ดูแล ด้านหลัง
ขอแนะนำ�ให้ท่านใช้อุปกรณ์กันขโมยด้วย
นอกจากนี้ขอให้ท่านตั้งค่าระบบสัญญาณกันขโมย
อีกด้วย

9
ข้อควรระวังในการขับขี่

ปลอกแฮนด์ด้านซ้าย ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำเหล่านี้เพื่อเป็นการปกป้องเครื่อง-
ยนต์และอุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย :
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนตามที่ได้แนะน�ำไว้
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนที่ต�่ำกว่าจะส่งผล
เหล็กท้ายเบาะ ขาตั้งกลาง ให้ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ลดลง
• อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ใน
3. หมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวมาทางด้านซ้ายจนสุด ระดับความเข้มข้นสูง หน้า 104
การหมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวไปด้านขวาจะท�ำให้ความ • อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเก่าหรือสกปรก หรือน�้ำมันเบนซิน
มั่นคงในการทรงตัวลดลงและอาจเป็นเหตุให้รถล้ม ผสมกับน�้ำมันเครื่อง
ได้ • หลีกเลี่ยงอย่าให้มีสิ่งสกปรกหรือน�้ำในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
4. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (ต�ำแหน่งล๊อค)
ดึงกุญแจออกและปิดระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น หน้า
23, 33
5. การตั้งค่าระบบสัญญาณกันขโมย หน้า 25
10
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลงสภาพรถ
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลงสภาพรถ คำ�เตือน
ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ว่าท่านไม่ควรติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมหรือการดัดแปลง

การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย


เติมใดๆ ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาเป็นพิเศษโดยฮอนด้าเพื่อ สภาพรถที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
ใช้กับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน หรือทำ�การ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด-
ดัดแปลงสภาพรถให้แตกต่างไปจากการออกแบบดั้งเดิม เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
ซึ่งการกระทำ�เช่นนั้นจะทำ�ให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่
การดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ทั้งหมดในคู่มือผู้ใช้เล่ม
ท่านอาจทำ�ให้การรับประกันคุณภาพเป็นโมฆะ อีกทั้ง นี้เกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการ
ยังอาจทำ�ให้รถของท่านอยู่ในสภาพที่ผิดกฎหมายใน ดัดแปลงสภาพรถ
การที่จะขับขี่บนถนนสาธารณะและบนถนนทางหลวง
ไม่ควรลากรถพ่วงด้วยรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ได้ ดังนั้นก่อนที่ท่านจะพิจารณาติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม
ของท่านหรือติดตั้งรถพ่วงข้างเข้ากับรถจักรยานยนต์
ใดๆ เข้ากับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน ต้อง
ฮอนด้า A.T. ของท่าน เพราะรถของท่านไม่ได้ออกแบบ
แน่ใจว่าการดัดแปลงสภาพรถนั้นๆ มีความปลอดภัย
มาเพื่อการติดรถพ่วงข้างหรือรถพ่วง และการกระทำ�
และถูกต้องตามกฎหมาย
เช่นนี้อาจก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงกับการบังคับ
รถได้ ซึ่งทำ�ให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่

11
การบรรทุก
การบรรทุก
• การบรรทุกน�้ำหนักสัมภาระมากเกินไปจะมีผลเสียกับ คำ�เตือน
การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างปลอดภัย

การบังคับ การเบรก และการทรงตัวของรถจักรยาน- การบรรทุกเกินขนาดที่กฎหมายกำ�หนดหรือการ


ยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน บรรทุกที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น
ท่านควรขับขี่โดยใช้ความเร็วที่ปลอดภัยให้เหมาะสม การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัส
กับน�้ำหนักที่ท่านบรรทุกเสมอ หรือถึงแก่เสียชีวิตได้
• หลีกเลี่ยงการบรรทุกของที่มีน�้ำหนักมากเกินไป และ
ควรบรรทุกของให้อยู่ภายในขีดจ�ำกัดในการบรรทุก ปฏิบัติตามขีดจ�ำกัดในการบรรทุกทั้งหมดและค�ำ
ที่ระบุไว้ แนะน�ำในการบรรทุกอื่นๆ ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือ
อ้างอิง ความสามารถในการรับน�้ำหนักสูงสุด/ เล่มนี้
น�้ำหนักสัมภาระสูงสุดที่รับได้ หน้า 113
• ผูกมัดสัมภาระทั้งหมดไว้อย่างแน่นหนา วางน�้ำหนัก
สัมภาระให้ได้สมดุลเท่ากันทั้งสองด้าน และให้ได้จุด
ศูนย์ถ่วงของรถเท่าที่จะเป็นไปได้
• อย่าวางสิ่งของไว้ใกล้ไฟสัญญาณต่างๆ หรือท่อไอเสีย

12
ตำ�แหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ
ซองเก็บเอกสาร หน้า 46
ช่องเก็บของอเนกประสงค์ หน้า 46

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ปลอกคันเร่ง หน้า 83
กระปุกน�้ำมันเบรกหน้า หน้า 77

คันเบรกหน้า
กระปุกน�้ำมันเบรกของระบบคอมบายเบรก หน้า 77
แบตเตอรี่ หน้า 66
กล่องฟิวส์ หน้า 99

ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ หน้า 64
ถังส�ำรองน�้ำหล่อเย็น หน้า 75

โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง หน้า 73
ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด หน้า 71

13
ช่องเก็บของส่วนหน้า หน้า 47
ช่องเสียบไฟอเนกประสงค์ หน้า 48
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

คันเบรกหลัง
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 42
ที่แขวนหมวกกันน็อก หน้า 45
เบาะนั่ง หน้า 44

หัวเทียน หน้า 68

ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ หน้า 67

ขาตั้งกลาง หน้า 9
ฝาปิดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง หน้า 73
ขาตั้งข้าง หน้า 82

14
คำ�แนะนำ�การใช้งาน
15
เครื่องวัดต่างๆ มาตรวัดความเร็ว
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สวิทช์เปลี่ยนโหมดการทำ�งาน

การตรวจสอบการแสดงผลข้อมูลในหน้าจอ
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง ON โหมดการท�ำงานและแถบแสดงสถานะดิจิตอลทั้งหมดจะปรากฏขึ้น
ถ้าหากส่วนหนึ่งส่วนใดของการแสดงผลเหล่านี้ไม่ปรากฏขึ้นเมืื่อถึงเวลาที่ควรจะปรากฏ กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คปัญหาโดยศูนย์บริการฮอนด้า
16
นาฬิกา (แสดงผลแบบ 12 ชั่วโมง)
การตั้งเวลานาฬิกา : หน้า 19

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่เหลืออยู่เมื่อแถบแสดงสถานะล�ำดับ
ที่ 1 (E) เท่านั้นปรากฏขึ้น : 1.1 ลิตร โดยประมาณ
แถบแสดงสถานะนี้จะกะพริบเมื่อระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
ลดลงไปอีก

ถ้าหากสัญญาณไฟของเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
กะพริบตามล�ำดับหรือดับลง : หน้า 91

17
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ)
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

มาตรวัดระยะทาง [TOTAL] และ มาตรวัดระยะการเดินทาง [TRIP] และ มาตรวัดอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อ-


เพลิงเฉลี่ย [AVG]
กดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการท�ำงานเพื่อเลือกไปที่มาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง และอัตราการใช้น�้ำมัน-
เชื้อเพลิงเฉลี่ย
มาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย

18
• มาตรวัดระยะทาง : การตั้งเวลานาฬิกา :
แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่ง 1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON
• มาตรวัดระยะการเดินทาง : 2 ในขณะที่มาตรวัดระยะทางปรากฏอยู่ ให้กดสวิทช์เปลี่ยน
แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่งตั้งแต่ที่มาตรวัดระยะการเดิน โหมดการทำ�งานค้างไว้จนกระทั่งตัวเลขบอกเวลาเริ่ม

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ทางได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว การปรับตั้งค่ามาตรวัด ต้นกะพริบ
ระยะการเดินทางใหม่ ให้กดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการท�ำงาน
ค้างไว้ในขณะที่มาตรวัดระยะการเดินทางปรากฏอยู่ อัตรา
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยก็จะถูกปรับตั้งค่าใหม่ด้วย 3 กดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการทำ�งานจนกระทั่งเวลาที่ต้อง-
• อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย : การปรากฏขึ้น
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยจะยึดค่าจากมาตรวัด เวลาจะเพิ่มขึ้น 1 นาทีในแต่ละครั้งของการกดสวิทช์
ระยะการเดินทาง เวลาจะเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ทีละ 10 นาทีในขณะที่กด
แสดงอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยตั้งแต่ที่มาตรวัด- สวิทช์ค้างไว้
ระยะการเดินทางได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว
หากสัญลักษณ์ “ ” ปรากฏขึ้น ยกเว้นหลังจากที่อัตรา
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว 4 รอเป็นเวลา 5 วินาทีแล้วจึงกดสวิทช์เปลี่ยนโหมดการ
กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ ทำ�งาน นาฬิกาได้ตั้งเวลาเรียบร้อยแล้ว
เช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า การตั้งเวลานาฬิกายังสามารถทำ�ได้โดยการหมุนสวิทช์
จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF

19
สัญญาณไฟต่างๆ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูง สัญญาณไฟ PGM-FI


ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะขับขี่ : หน้า 89 สัญญาณไฟจะติดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อสวิทช์จุด
ระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง ON
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะเครื่องยนต์กำ�ลังทำ�งาน : หน้า 90

สัญญาณไฟเตือน
ระบบสัญญาณกันขโมย : หน้า 24
20
สัญญาณไฟเลี้ยวซ้าย สัญญาณไฟเลี้ยวขวา

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
สัญญาณไฟสูง สัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบา
สัญญาณไฟจะติดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อสวิทช์หยุดการ
ทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING
STOP และสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง ON
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา :
หน้า 34

21
สวิทช์ต่างๆ
สวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
•IDLING STOP : เปิดระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

รอบเดินเบา
•IDLING : ปิดระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน
เบา
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา : หน้า 34
สวิทช์ไฟฉุกเฉิน
ปุ่มแตร สวิทช์ไฟเลี้ยว • : เปิดสัญญาณไฟฉุกเฉิน
กดปุ่มสวิทช์ลงเมื่อต้องการยกเลิกสัญญาณ สามารถสลับสวิทช์เปิด/ปิดการใช้งานได้้เมื่อสวิทช์จุด
สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ
• : ไฟสูง ระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง ON และสามารถกดปิดได้โดยไม่
• : ไฟต�่ำ ต้องคำ�นึงว่าสวิทช์จุดระเบิดจะอยู่ที่ตำ�แหน่งใด
สัญญาณจะกะพริบต่อเนื่อง ในขณะที่สวิทช์จุดระเบิด
อยู่ที่ตำ�แหน่ง OFF หรือ (ตำ�แหน่งล๊อค) หลังจาก
ปุ่ม SET/ปุ่ม UNSET/ ปุ่ม ANSWER BACK ทีเ่ ปิดสวิทช์ไฟฉุกเฉินแล้ว
ปุ่มเหล่านี้มีไว้เพื่อใช้งานระบบสัญญาณกันขโมย
และระบบรีโมทค้นหาตำ�แหน่งรถ

• : ปิดสัญญาณไฟฉุกเฉิน
ระบบสัญญาณกันขโมย : หน้า 24 ปุ่มสตาร์ท
ระบบรีโมทค้นหาตำ�แหน่งรถ : หน้า 28

22
ON
เปิดระบบไฟฟ้าเพื่อการสตาร์ท/การขับขี่
สวิทช์จุดระเบิด SEAT FUEL
เปิด/ปิดระบบไฟฟ้า ล๊อคคอรถ เปิดสวิทช์เปิดเบาะ- เปิดสวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
นั่งและฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง OFF

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
สามารถดึงกุญแจออกได้ เมื่อสวิทช์จุดระเบิด ดับเครื่องยนต์
อยู่ทตี่ �ำแหน่ง OFF หรือ (ต�ำแหน่งล๊อค)
ล๊อคคอรถ
การล๊อคคอรถ
ควรล๊อคคอรถไว้เมื่อจอดรถจักรยานยนต์เพื่อช่วย การล๊อคคอ
ป้องกันการขโมย 1 หมุนแฮนด์รถไปด้านซ้ายหรือด้านขวาจนสุด
ขอแนะน�ำให้ท่านใช้ตัวล๊อคล้อกันขโมยรูปตัวยูหรือ 2 กดกุญแจลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง
อุปกรณ์กันขโมยที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกด้วย (ตำ�แหน่งล๊อค)
ให้ขยับแฮนด์ซ้าย-ขวา ถ้าหมุนกุญแจไปที่ตำ�แหน่ง
กุญแจจุดระเบิด ล๊อคได้ยาก
3 ดึงกุญแจออก
กดลง
การปลดล๊อคคอ
หมุน เสียบกุญแจ กดลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�-
แหน่ง OFF
23
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ)
ระบบสัญญาณกันขโมย
ระบบสัญญาณกันขโมยเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อลดโอกาสในการ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ถูกขโมยรถ เมื่อตัวตรวจจับสามารถตรวจจับการสั่นสะเทือน
หรือการเคลื่อนไหวของตัวรถได้ในขณะที่สวิทช์จุดระเบิดอยู่
ที่ต�ำแหน่ง OFF หรือ (ต�ำแหน่งล๊อค) และเมื่อมีการตั้ง
ระบบไว้ให้ท�ำงาน สัญญาณเสียงเตือนก็จะดังขึ้น
สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้นพร้อมกับไฟเลี้ยวและสัญญาณ
ไฟเตือนจะกะพริบเป็นเวลาประมาณ 10 วินาทีเมื่อระบบ
สัญญาณกันขโมยตรวจสอบพบว่ามีการสั่นสะเทือนเกิดขึ้น
เนื่องจากการสัมผัสโดนหรือเกิดการเคลื่อนไหวของตัวรถ
สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้นพร้อมกับไฟเลี้ยวและสัญญาณ
ไฟเตือนจะกะพริบเป็นเวลาประมาณ 60 วินาทีเมื่อระบบ
สัญญาณกันขโมยตรวจสอบพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่
สามารถรับรู้ได้ของต�ำแหน่งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
เช่น มีการเข็น ลาก หรือจูงรถ เป็นต้น
หลังจากที่สัญญาณเสียงเตือนดังขึ้นเป็นเวลา 60 วินาทีผ่าน
ไปแล้ว ระบบสัญญาณกันขโมยจะตั้งค่าของระบบใหม่ใน
ต�ำแหน่งนั้นๆ ของรถ
24
ถ้าหากสวิทช์จุดระเบิดยังคงค้างอยู่ที่ต�ำแหน่ง OFF เป็น ท่านสามารถยกเลิกสัญญาณเสียงเตือนได้โดยการใช้
เวลานานเกินกว่า 10 วัน ระบบสัญญาณกันขโมยจะไม่ โหมดปิดเสียงชั่วคราว
สามารถใช้งานได้อีกต่อไป ดังนั้นเพื่อท�ำการตั้งค่าระบบใหม่ โหมดปิดเสียงชั่วคราว ดูหน้า 32
ให้ท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง ON หนึ่งครั้งก่อน

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ระบบสัญญาณกันขโมยใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ ซึ่งอาจ สัญญาณไฟเตือนจะกะพริบในระหว่างที่ระบบสัญญาณกัน-
มีผลกระทบต่ออุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ ขโมยถูกตั้งค่าไว้ให้ท�ำงาน
ระบบสัญญาณกันขโมยจะถูกยกเลิกเมื่อหมุนสวิทช์จุดระเบิด
ข้อสังเกต ไปที่ต�ำแหน่ง ON
เมื่อแบตเตอรี่ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มีก�ำลังไฟ ปุ่ม SET สัญญาณไฟเตือน
อ่อน ระบบสัญญาณกันขโมยอาจไม่ท�ำงาน

การตั้งค่าระบบสัญญาณกันขโมย
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF หรือ (ตำ�-
แหน่งล๊อค) การยกเลิกระบบสัญญาณกันขโมย ดูหน้า 26
2 กดปุ่ม SET ภายในเวลา 1 วินาที ไฟเลี้ยวจะกะพริบและ การปรับตั้งความไวของระบบสัญญาณกันขโมย ดู
สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 1 ครั้ง หลังจากผ่านไป 2 หน้า 26
วินาที สัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้นอีก 1 ครั้ง ระบบสัญ- ถ้าระบบสัญญาณกันขโมยไม่สามารถท�ำงานได้อย่าง
ญาณกันขโมยจะถูกตั้งค่าไว้ให้ท�ำงาน เหมาะสม ดูหน้า 27
25
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ)
การยกเลิกระบบสัญญาณกันขโมย การปรับตั้งความไวของระบบสัญญาณกันขโมย
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

กดปุ่ม UNSET หรือหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON ท่านสามารถเลือกระดับความไวของระบบสัญญาณกันขโมย


ได้ 3 ระดับ
เมื่อกดปุ่ม UNSET ไฟเลี้ยวจะกะพริบ สัญญาณไฟเตือนก็จะ
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF
กะพริบ และสัญญาณเสียงเตือนจะดังขึ้น 2 ครั้ง
2 ท�ำซ�้ำขั้นตอนนี้ไปจนกระทัั่งครบ 3 ครั้ง ดังนี้ :
ท่านสามารถยกเลิกสัญญาณเสียงเตือนได้โดยการใช้โหมด
หมุนสวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง OFF ไปที่ต�ำแหน่ง ON
ปิดเสียงชั่วคราว
และกดปุ่ม SET ที่อยู่บนรีโมท 2 ครั้ง
โหมดปิดเสียงชั่วคราว ดูหน้า 32 จากนั้นหมุนสวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง ON ไปที่
ต�ำแหน่ง OFF ภายในเวลา 5 วินาที
เมื่อแบตเตอรี่ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มีก�ำลังไฟอ่อน ท่านจ�ำเป็นต้องปฏิบัติตามขั้นตอนนี้คือ จากต�ำแหน่ง
สัญญาณเสียงเตือนอาจดังขึ้นและดังต่อเนื่องไปโดยไม่หยุด OFF ไปที่ต�ำแหน่ง ON ภายในเวลา 5 วินาที
ON ปุ่ม SET
ปุ่ม UNSET ON
OFF

ไฟ LED
26
3 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON ถ้าระบบสัญญาณกันขโมยไม่สามารถท�ำงานได้
2 กดปุม่ SET เพื่อที่จะเลือกระดับความไวของระบบ อย่างเหมาะสม
สัญญาณกันขโมยจาก 3 ระดับ ถ้าสถานการณ์ใดดังต่อไปนี้ปรากฏขึ้น แสดงว่าแบตเตอรี่
3 ครั้งของสัญญาณเสียงเตือน : ความไวสูง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
(ดูหน้า 66) ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. จ่ายกระแส
2 ครั้งของสัญญาณเสียงเตือน : ความไวปานกลาง ไฟออกจนหมดหรือมีปัญหาเกิดขึ้นในระบบ ท่านควร
1 ครั้งของสัญญาณเสียงเตือน : ความไวต�่ำ
น�ำรถไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
สัญญาณไฟเตือนจะติดสว่างขึ้นในขณะท�ำการตั้งค่า 3
ทีใ่ กล้ที่สุด
4 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF เพื่อสิ้นสุด
การตั้งค่าระดับความไว สัญญาณเสียงเตือนไม่ดัง
การสิ้นสุดการตั้งค่าของท่าน ท่านจ�ำเป็นต้องท�ำจนเสร็จ สัญญาณเสียงเตือนดัง แต่ค่อยๆ จางหายไป
สิ้นขั้นตอนที่ 3 ภายในเวลา 60 วินาที ระบบสัญญาณกันขโมยไม่หยุดการท�ำงาน

ต้องแน่ใจว่าไฟ LED ที่อยู่บนรีโมทเป็นสีเขียวก่อนที่จะ


ท�ำการตั้งค่าระดับความไว
เนื่องจากหากไฟ LED เป็นสีแดง ท่านจะไม่สามารถตั้ง
ค่าระดับความไวได้

27
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ)
ระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการค้น
หาต�ำแหน่งของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิด
เมื่อท่านกดปุ่ม ANSWER BACK ซึ่งอยู่บนรีโมทในขณะ
ที่สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง OFF หรือ (ต�ำแหน่ง ปุ่ม ANSWER BACK
ล๊อค) รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านจะแจ้งให้
ท่านทราบถึงต�ำแหน่งของรถโดยการกะพริบของไฟเลี้ยว
การท�ำให้สัญญาณเสียงดังขึ้น และการท�ำให้วงแหวน
รอบสวิทช์จุดระเบิดติดสว่างขึ้น โดยที่วงแหวนรอบสวิทช์
จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นเป็นเวลาประมาณ 1 นาที

ระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ
ซึ่งอาจมีผลกระทบต่ออุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่อง
กระตุ้นหัวใจ

28
การท�ำงาน
รถ ดูหน้า 31
การบำ�รุงรักษา
การเปลี่ยนรูปแบบเสียงของระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่ง
กดปุ่ม ANSWER BACK ซึ่งอยู่บนรีโมท
ระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถจะไม่ท�ำงานเมื่อสวิทช์ โหมดปิดเสียงชั่วคราว ดูหน้า 32

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง ON การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของรีโมท ดูหน้า 85
ถ้าหากสวิทช์จุดระเบิดยังคงค้างอยู่ที่ต�ำแหน่ง OFF
เป็นเวลานานเกินกว่า 10 วัน ระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่ง
รถจะไม่สามารถใช้งานได้อีกต่อไป ดังนั้นเพื่อท�ำการตั้ง
ค่าระบบใหม่ ให้ท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง
ON หนึ่งครั้งก่อน
ข้อสังเกต
เมื่อแบตเตอรี่ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. มีก�ำลัง
ไฟอ่อน ระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถอาจไม่ท�ำงาน

การปรับตั้งระดับเสียงของระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่ง
รถ ดูหน้า 30

29
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ) 3 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON
2 กดปุม่ ANSWER BACK เพื่อที่จะเลือกระดับเสียง
การปรับตั้งระดับเสียงของระบบรีโมทค้นหา
ต�ำแหน่งรถ จาก 3 ระดับ หรือเลือกแบบปิดเสียง
วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นในขณะ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ท่านสามารถเลือกระดับเสียงได้ 3 ระดับ หรือเลือกแบบ


ปิดเสียง ท�ำการตั้งค่า
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF 4 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF เพื่อสิ้นสุด
2 ท�ำซ�้ำขั้นตอนนี้ไปจนกระทัั่งครบ 3 ครั้ง ดังนี้ : การตั้งค่าระดับเสียง
หมุนสวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง OFF ไปที่ต�ำ-
แหน่ง ON และกดปุ่ม ANSWER BACK ที่อยู่บน การสิ้นสุดการตั้งค่าของท่าน ท่านจ�ำเป็นต้องท�ำจนเสร็จ
รีโมท 2 ครั้ง สิ้นขั้นตอนที่ 3 ภายในเวลา 60 วินาที
จากนั้นหมุนสวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง ON ไปที่
ต�ำแหน่ง OFF ภายในเวลา 5 วินาที ต้องแน่ใจว่าไฟ LED ที่อยู่บนรีโมทเป็นสีเขียวก่อนที่จะ
ท่านจ�ำเป็นต้องปฏิบัติตามขั้นตอนนี้คือ จากต�ำแหน่ง ท�ำการตั้งค่าระดับเสียง
OFF ไปที่ต�ำแหน่ง ON ภายในเวลา 5 วินาที เนื่องจากหากไฟ LED เป็นสีแดง ท่านจะไม่สามารถตั้ง
ไฟ LED
ON ค่าระดับเสียงได้
OFF

ปุ่ม ANSWER BACK


30
การเปลี่ยนรูปแบบเสียงของระบบรีโมทค้นหา 3 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON
ต�ำแหน่งรถ 2 กดปุม่ ANSWER BACK เพื่อที่จะเลือกรูปแบบเสียง
ท่านสามารถเลือกรูปแบบเสียงได้ 3 รูปแบบ จาก 3 รูปแบบ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF วงแหวนรอบสวิทช์จุดระเบิดจะติดสว่างขึ้นในขณะ
2 ท�ำซ�้ำขั้นตอนนี้ไปจนกระทัั่งครบ 3 ครั้ง ดังนี้ : ท�ำการตั้งค่า
หมุนสวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง OFF ไปที่ต�ำแหน่ง 4 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF เพื่อสิ้นสุด
ON และกดปุ่ม ANSWER BACK ที่อยู่บนรีโมท 3 การตั้งค่ารูปแบบเสียง
ครั้ง
จากนั้นหมุนสวิทช์จุดระเบิดจากต�ำแหน่ง ON ไป การสิ้นสุดการตั้งค่าของท่าน ท่านจ�ำเป็นต้องท�ำจนเสร็จ
ที่ต�ำแหน่ง OFF ภายในเวลา 5 วินาที
ท่านจ�ำเป็นต้องปฏิบัติตามขั้นตอนนี้คือ จากต�ำแหน่ง สิ้นขั้นตอนที่ 3 ภายในเวลา 60 วินาที
OFF ไปที่ต�ำแหน่ง ON ภายในเวลา 5 วินาที
ไฟ LED
ต้องแน่ใจว่าไฟ LED ที่อยู่บนรีโมทเป็นสีเขียวก่อนที่จะ
ON
ท�ำการตั้งค่ารูปแบบเสียง
OFF เนื่องจากหากไฟ LED เป็นสีแดง ท่านจะไม่สามารถตั้ง
ค่ารูปแบบเสียงได้

ปุ่ม ANSWER BACK


31
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ)
โหมดปิดเสียงชั่วคราว
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

โหมดปิดเสียงชั่วคราวเป็นวิธีการที่ใช้ในการปิดเสียง
ของระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถแบบทันทีทันใด
ปิดเสียง :
กดปุ่ม ANSWER BACK ค้างไว้เป็นเวลาประมาณ 2
วินาที ไฟ LED ที่อยู่บนรีโมทจะเปลี่ยนเป็นสีแดง
เปิดเสียง :
กดปุ่ม ANSWER BACK ค้างไว้อีกครั้งเป็นเวลาประมาณ
2 วินาที ไฟ LED ที่อยู่บนรีโมทจะเปลี่ยนเป็นสีเขียว

32
ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้นจะปิดสวิทช์จุดระเบิดโดยอัต-
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้มีสวิทช์จุดระเบิดติด โนมัติเมื่อท่านดึงกุญแจจุดระเบิดออกที่ตำ�แหน่ง
ตั้งร่วมกับระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น หลังจากจอดรถจักร- (ตำ�แหน่งล๊อค)

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ขอให้ท่านปิดระบบกุญแจนิรภัย ท่านยังสามารถปิดระบบกุญแจนิรภัยด้วยมือได้อีกด้วย
2 ชั้นเพื่อป้องกันการขโมย การปิด
1 ถอดกุญแจจุดระเบิดออกจากสวิทช์จุดระเบิด
2 จัดให้เดือยของกุญแจนิรภัยลงในร่องของสวิทช์
(ต�ำแหน่งล๊อค) กุญแจนิรภัย และหมุนกุญแจนิรภัยทวนเข็มนาฬิกา
3 ดึงกุญแจออก
การเปิด
เปิด
จัดให้เดือยของกุญแจนิรภัยลงในร่องของสวิทช์กุญแจ
นิรภัย และหมุนกุญแจนิรภัยตามเข็มนาฬิกา
ปิด
กุญแจนิรภัย
ร่อง
กุญแจจุดระเบิด

เดือยของกุญแจนิรภัย
33
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน การเปิดใช้งานระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาพร้อมที่จะดับ
รอบเดินเบา (Idling Stop System) เครื่องยนต์และสัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์
ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาได้รับการออก- ในรอบเดินเบาจะติดขึ้นเมื่อเป็นไปตามข้อก�ำหนดต่างๆ ดังต่อไปนี้
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

แบบมาเพื่อช่วยลดความสิ้นเปลืองของน�้ำมันเชื้อเพลิงและเสียงดัง ในขณะที่สวิทช์หยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่
โดยหยุดการเดินเบาในขณะที่หยุดรถ เช่น ในระหว่างหยุดรอสัญญาณ ต�ำแหน่ง IDLING STOP :
ไฟที่สี่แยก เป็นต้น • เครื่องยนต์สตาร์ทติดได้โดยใช้ปุ่มสตาร์ท
การเปิดหรือการปิดการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงาน • เครื่องยนต์อุ่นเพียงพอ
ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา • ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ที่ความเร็วเกินกว่า 10 กิโลเมตร/
เปิดหรือปิดการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง)
เดินเบาโดยการใช้สวิทช์หยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน
• เปิดการท�ำงาน : IDLING STOP รอบเดินเบาไม่ติด : หน้า 92
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
จะติดขึ้นเมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา สวิทช์หยุดการท�ำงานของ สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงาน
พร้อมที่จะดับเครื่องยนต์ในขณะขับขี่ สัญญาณไฟระบบหยุด เครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
การท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะกะพริบเมื่อเครื่องยนต์
ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบา
• ปิดการท�ำงาน : IDLING
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
จะไม่ติดเมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
ไม่ท�ำงาน
34
การดับเครื่องยนต์โดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงาน การระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยส�ำหรับระบบหยุดการ
ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
เครื่องยนต์จะดับและสัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของ อย่าอยู่ห่างจากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ในขณะที่สัญญาณ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะเปลี่ยนเป็นกะพริบ หลังจากที่ ไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบากะพริบ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ท่านผ่อนคันเร่งจนสุดและหยุดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อยู่ เมื่อท่านจะจอดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ทิ้งไว้หรือ
ให้สนิทแล้วในขณะที่สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของ อยู่ห่างจากรถของท่าน ให้ท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาติดอยู่ ต�ำแหน่ง OFF เสมอ
ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ เครื่องยนต์จะท�ำงานในทันทีทันใดเมื่อบิดคันเร่ง
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ถ้าท่านกดสวิทช์หยุด
เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ
การท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่ต�ำแหน่ง
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณ
IDLING ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน
ไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
เบาจะถูกยกเลิก เครื่องยนต์จะไม่สามารถสตาร์ทติดใหม่
ติด : หน้า 93
อีกครั้งได้โดยอัตโนมัติแม้ว่าท่านจะบิดคันเร่งก็ตาม
ข้อสังเกต
การที่เครื่องยนต์ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาเป็นเวลานาน อาจ
ท�ำให้เกิดการจ่ายกระแสไฟออกจากแบตเตอรี่จนหมดได้
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
35
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบา (Idling Stop System) (ต่อ)
การสตาร์ทเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้ง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ข้อสังเกต
ตรวจสอบว่าสัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์
ในรอบเดินเบากะพริบอยู่หรือไม่ และจากนั้นให้บิดคันเร่ง ไฟหน้าจะยังคงติดอยู่หลังจากที่เครื่องยนต์ดับโดยการ
ถ้าหากสัญญาณไฟไม่กะพริบ ท่านจะไม่สามารถสตาร์ท ท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ
ติดเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้งได้โดยอัตโนมัติด้วยระบบหยุด เดินเบา แบตเตอรี่อาจจะจ่ายกระแสไฟออกจนหมดและ
การท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาแม้ว่าท่านจะบิด ท่านอาจจะไม่สามารถสตาร์ทติดเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้ง
คันเร่งก็ตาม ได้โดยอัตโนมัติ
ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการ เมื่อแบตเตอรี่มีก�ำลังไฟอ่อน ให้สับเปลี่ยนสวิทช์หยุดการ
ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา หากท่านลดขาตั้งข้างลง ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่ต�ำแหน่ง IDLING
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ และอย่าใช้ระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบ
เดินเบาที่ก�ำลังกะพริบอยู่จะดับหรือหยุดกะพริบ และเปลี่ยน เดินเบา กรุณาน�ำรถของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็ค
เป็นติดค้าง ดังนั้นเครื่องยนต์จะไม่สามารถสตาร์ทติดใหม่ แบตเตอรี่ที่ศูนย์บริการฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
อีกครั้งได้โดยอัตโนมัติแม้ว่าท่านจะบิดคันเร่งก็ตาม กรุณาน�ำรถของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คแบตเตอรี่ที่
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง : หน้า 94 ศูนย์บริการฮอนด้า ตามที่ได้ระบุไว้ในตารางการบ�ำรุงรักษา
ตารางการบ�ำรุงรักษา : หน้า 53

36
การสตาร์ท 1 ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลาง
การสตาร์ทเครื่องยนต์ 2 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON
สตาร์ทเครื่องยนต์โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ โดย

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ไม่คำ�นึงถึงว่าเครื่องยนต์จะอุ่นหรือเย็นก็ตาม

รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้ติดตั้งระบบตัดการ


ทำ�งานของเครื่องยนต์โดยขาตั้งข้าง
ถ้าท่านวางขาตั้งข้างลง เครื่องยนต์จะสตาร์ทไม่ติด
ถ้าท่านลดขาตั้งข้างลงในขณะที่เครื่องยนต์กำ�ลังเดิน
เครื่องอยู่ เครื่องยนต์จะดับโดยอัตโนมัติ
ข้อสังเกต
• ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดภายใน 5 วินาที ให้หมุนสวิทช์จุดระเบิด
ไปที่ตำ�แหน่ง OFF และรอเป็นเวลา 10 วินาที ก่อนจะลองสตาร์ท
เครื่องยนต์อีกครั้งเพื่อฟื้นฟูแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่
• การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานและการเร่งเครื่องยนต์อยู่กับที่อาจ 3 บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด
ทำ�ให้เครื่องยนต์และระบบไอเสียเกิดความเสียหายได้
• ถ้ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. พลิกคว�่ำ ในเบื้องต้นท่านจะต้อง มอเตอร์สตาร์ทจะทำ�งานเมื่อบีบคันเบรกหลัง
หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF ก่อนที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น และ เข้าและยกขาตั้งข้างขึ้นแล้วเท่านั้น
จากนั้นจึงตรวจสอบรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอย่าง
ละเอียดถี่ถ้วน

37
ถ้าหากท่านไม่สามารถสตาร์ทเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้งใน
การสตาร์ท (ต่อ) ขณะเครื่องอุ่นได้ ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ :
4 ไม่ต้องบิดคันเร่ง กดปุ่มสตาร์ท ปล่อยปุ่มสตาร์ท
1 ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางและ
ทันทีที่เครื่องยนต์ติด
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด
2 บิดคันเร่ง 1/8 - 1/4 รอบในขณะที่สตาร์ทเครื่องยนต์

1/8 - 1/4 รอบ

38
ถ้าหากท่านไม่สามารถสตาร์ทเครื่องยนต์ได้ ให้ปฏิบัติ ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อ
ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ : ไปนี้ :
1 ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางและ 1 บิดคันเร่งจนสุดและกดปุ่มสตาร์ทเป็นเวลา 5 วินาที

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด 2 ปฏิบัติซ�้ำตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ปกติ
2 บิดคันเร่งเล็กน้อย (ประมาณ 3 มม.) แล้วกดปุ่ม 3 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทติด ให้บิดคันเร่งเล็กน้อยหาก
สตาร์ท รอบเดินเบาไม่สม�่ำเสมอ
4 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ให้รอเป็นเวลา 10 วินาที
ประมาณ 3 มม.
ก่อนที่จะปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 ใหม่อีก
ครั้ง
ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ดูหน้า 88

39
การขับขี่ 4 การเพิ่มความเร็วและการลดความเร็ว
การออกรถ เพื่อเพิ่มความเร็ว : ให้บิดคันเร่งทีละน้อย
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

1 ผลักรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ไปทางด้านหน้า เพื่อลดความเร็ว : ให้ผ่อนคันเร่ง


และเคลื่อนรถลงจากขาตั้งกลาง
บีบคันเบรกหลังเข้าจนสุด
ไม่ต้องบิดคันเร่ง บิดคันเร่ง (เพิ่มความเร็ว)
ผ่อนคันเร่ง (ลดความเร็ว)
ต้องแน่ใจว่าได้ยกขาตั้งข้างและขาตั้งกลางขึ้นแล้ว
/2 ขึ้นรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ขึ้นนั่งบนรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. จากทาง
ด้านซ้ายโดยใช้เท้าอย่างน้อย 1 ข้างยันพื้นไว้
3 ปล่อยคันเบรกหลังออก

40
การเบรก
ผ่อนคันเร่งและบีบทั้งคันเบรกหน้าและคันเบรกหลัง
พร้อมกัน

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
คันเบรกหลัง คันเบรกหน้า

41
การเปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง 1 เสียบกุญแจจุดระเบิดเข้าไป แล้วหมุนกุญแจจุด
ประเภทของน�้ำมันเชื้อเพลิง : น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สาร ระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง SEAT FUEL
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ตะกั่วเท่านั้น 2 กดด้าน FUEL ของสวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิดช่อง


ค่าออกเทนของน�้ำมันเชื้อเพลิง : รถจักรยานยนต์ เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงลง
ฮอนด้า A.T. ของท่านได้รับการออกแบบมาให้ใช้น�้ำมัน ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจะเปิดออก
เชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง : 8.0 ลิตร
ฝาปิดช่องเติม
น�้ำมันเชื้อเพลิง FUEL
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 10

SEAT FUEL
กุญแจจุดระเบิด
สวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิด
ช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
42
3 หมุนฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงทวนเข็มนาฬิกาและ การปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ถอดฝาปิดออก 1 ประกอบและขันฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงให้แน่น
เครื่องหมายลูกศร โดยการหมุนตามเข็มนาฬิกา
ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมายลูกศรบนฝาปิดถังน�้ำมัน

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
กับบนถังน�้ำมันตรงกัน
2 ปิดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจนกระทั่งล๊อค
เข้าที่
ต้องแน่ใจว่าได้ปิดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
แน่นสนิทแล้ว
คำ�เตือน
น�้ำมันเชื้อเพลิงมีความไวต่อการติดไฟและการระเบิด
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง สูง ท่านอาจได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บสาหัสอัน
เนื่องมาจากน�้ำมันเชื้อเพลิงได้
ขอบล่างของขอบ
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากความร้อน ประกาย
ปากถังน�้ำมันเชื้อเพลิง ไฟ และเปลวไฟ
อย่าเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจนล้นเกินจากขอบล่างของขอบ • เติมน�้ำมันในที่โล่งแจ้งเท่านั้น
ปากถังน�้ำมันเชื้อเพลิง • เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที

43
การเปิดเบาะนั่ง
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ 1 หมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวให้อยู่ในต�ำแหน่งหันตรงไป
เบาะนั่ง สวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิด
ข้างหน้า
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ช่องเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง 2 เสียบกุญแจจุดระเบิดเข้าไป แล้วหมุนกุญแจจุด


ระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง SEAT FUEL
3 กดด้าน SEAT ของสวิทช์เปิดเบาะนั่งและฝาปิดช่อง
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงลง
4 เปิดเบาะนั่งขึ้น

การปิดเบาะนั่ง
SEAT FUEL
ปิดและกดช่วงหลังของเบาะนั่งลงจนกระทั่งล๊อคเข้าที่
ต้องแน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้วโดยการดึงเบาะนั่ง
กุญแจจุดระเบิด SEAT
ขึ้นเล็กน้อย
ดังนั้นขอให้ท่านระวังอย่าลืมกุญแจของท่านไว้ในช่อง
เก็บของใต้เบาะนั่ง

44
ที่แขวนหมวกกันน็อก คำ�เตือน
ที่แขวนหมวกกันน็อกมีอยู่ที่ใต้เบาะนั่ง การขับขี่ในขณะที่หมวกกันน็อกยังแขวนติดอยู่กับที่แขวน
สายคล้องหมวกกันน็อกอยู่ในชุดเครื่องมือประจำ�รถ หมวกกันน็อกจะท�ำให้การขับขี่ของท่านไม่ปลอดภัยได้และ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ใช้ที่แขวนหมวกกันน็อกเมื่อจอดรถเท่านั้น อาจน�ำมาซึ่งการเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่ง
ท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ที่แขวนหมวกกันน็อกออกแบบมาเพื่อใช้แขวนหมวกกัน
ที่แขวนหมวกกันน็อก น็อกในขณะที่จอดรถเท่านั้น ไม่ควรขี่รถในขณะที่หมวก
กันน็อกยังแขวนอยู่กับที่แขวนหมวกกันน็อก

สายคล้องหมวกกันน็อก
แหวนรูปตัวดี

45
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ (ต่อ) ชุดเครื่องมือประจำ�รถ/ซองเก็บเอกสาร
ชุดเครื่องมือประจำ�รถและซองเก็บเอกสารอยู่ในช่องเก็บของ
สามารถเก็บหมวกกันน็อกไว้ในช่องเก็บของอเนกประสงค์
เก็บหมวกกันน็อกโดยหันหน้าหมวกไปทางด้านหน้าของรถ อเนกประสงค์
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

หมวกกันน็อกบางชนิดอาจไม่สามารถเก็บไว้ในช่องเก็บของ ซองเก็บเอกสาร
อเนกประสงค์นี้ได้เนื่องจากขนาดหรือรูปทรงของหมวกกัน ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ
น็อกนั้นๆ ช่องเก็บเครื่องมือ
หมวกกันน็อก

ช่องเก็บของอเนกประสงค์

ช่องเก็บของอเนกประสงค์ ช่องเก็บเอกสาร
อย่าเก็บของเกินกว่าขีดจ�ำกัดในการรับน�้ำหนักสูงสุด
น�้ำหนักสูงสุดที่รับได้ : 10 กิโลกรัม (22 ปอนด์)
อย่าเก็บสิ่งของใดๆ ซึ่งติดไฟได้ง่ายหรือสิ่งของที่อาจจะเกิด
ความเสียหายเนื่องจากความร้อนไว้ในช่องเก็บของนี้
อย่าเก็บของมีค่าหรือสิ่งของที่แตกหักเสียหายง่ายไว้ในช่อง
เก็บของนี้
46
ช่องเก็บของส่วนหน้า การเปิด
กดตรงบริเวณร่องเว้าที่ฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า จาก
นั้นเปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้าออก

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
การปิด
ปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้าโดยการกดบริเวณร่อง
เว้าที่ฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า

น�้ำหนักสัมภาระที่รับได้สูงสุดในช่องเก็บของส่วนหน้า
ฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า
จะต้องไม่เกินค่าต่อไปนี้ :
1.0 กิโลกรัม (2.2 ปอนด์)
ต้องแน่ใจว่าได้ปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้าแน่นสนิท
แล้ว
อย่าเก็บของมีค่าหรือสิ่งของที่แตกหักเสียหายง่ายไว้
ในช่องเก็บของนี้

47
เพื่อป้องกันแบตเตอรี่ไฟหมดหรือมีไฟอ่อน ให้ติด
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ (ต่อ) เครื่องยนต์ไว้ในขณะที่มีการดึงกระแสไฟจากช่องเสียบ
ช่องเสียบไฟอเนกประสงค์ ไฟอเนกประสงค์ออกมาใช้
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ช่องเสียบไฟอเนกประสงค์มีอยู่ในช่องเก็บของส่วนหน้า ปรับไฟหน้าให้เป็นไฟต�่ำ เพื่อป้องกันไม่ให้แบตเตอรี่


ไฟหมดหรือเกิดความเสียหายแก่ช่องเสียบไฟอเนก-
เปิดฝาปิดเพื่อที่จะใช้งานช่องเสียบไฟอเนกประสงค์นี้ ประสงค์
กำ�ลังไฟฟ้าที่กำ�หนด คือ เพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมเข้าไปในช่องเสียบ
ไฟอเนกประสงค์ ต้องแน่ใจว่าได้ปิดฝาปิดเมื่อไม่ได้
12 วัตต์ (12 โวลต์, 1 แอมป์)
ใช้งานช่องเสียบไฟอเนกประสงค์แล้ว
การเปิดฝาปิดช่องเก็บของส่วนหน้า : หน้า 47

ฝาปิด

48
การบำ�รุงรักษา
โปรดอ่าน “ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา” และ “หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา”

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
โดยละเอียดก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ ขอให้อ้างถึง “ข้อมูลทางเทคนิค” ในส่วนของ
ข้อมูลบริการ

ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา....................... หน้า 50 น�้ำมันเครื่อง................................................... หน้า 71


ตารางการบ�ำรุงรักษา....................................... หน้า 51 น�้ำหล่อเย็น. .................................................. หน้า 75
หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา.................. หน้า 54 เบรก.............................................................. หน้า 77
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ..................................... หน้า 64 ขาตั้งข้าง........................................................ หน้า 82
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง.. หน้า 65 คันเร่ง............................................................ หน้า 83
ฝาปิดแบตเตอรี่. ............................................. หน้า 65 การปรับตั้งอื่นๆ............................................. หน้า 84
แบตเตอรี.่ ....................................................... หน้า 66 ระดับไฟหน้า. ............................................... หน้า 84
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ......................... หน้า 67 แบตเตอรี่ของรีโมท....................................... หน้า 85
หัวเทียน........................................................... หน้า 68
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา ความปลอดภัยในการบำ�รุงรักษา
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านเป็นอย่าง อ่านคำ�แนะนำ�สำ�หรับการบำ�รุงรักษาก่อนที่ท่านจะเริ่มต้น
ดีเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งต่อความปลอดภัยของท่าน อีกทั้งยัง งานบำ�รุงรักษาแต่ละงานเสมอ และต้องแน่ใจว่าท่านมีเครื่อง
เพื่อปกป้องการลงทุนของท่านให้มีความคุ้มค่า เกิดประสิทธิ- มือ ชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆ และทักษะความชำ�นาญที่จำ�เป็น
ภาพสูงสุด หลีกเลี่ยงกรณีการเกิดรถเสียหรือชิ้นส่วนของรถ
การบำ�รุงรักษา

ทางบริษัทฯ ไม่สามารถเตือนท่านให้ระวังอันตรายทุกอย่าง
ชำ�รุดกะทันหัน และช่วยลดมลพิษทางอากาศด้วย ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการปฏิบัติการบำ�รุงรักษา ดังนั้น
การบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ถือเป็นความรับ ขอให้ท่านตัดสินใจด้วยตัวท่านเองว่าควรจะกระทำ�การบำ�รุง
ผิดชอบที่สำ�คัญของท่านเจ้าของรถ ต้องแน่ใจว่าท่านได้ทำ� รักษาที่ให้ไว้หรือไม่
การตรวจสอบรถจักรยานยนต์์ฮอนด้า A.T. ของท่านก่อนการ
ขับขี่ทุกครั้ง และนำ�รถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่กำ�หนด
ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เมื่อทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ
ไว้ในตารางการบำ�รุงรักษา หน้า 52
• ดับเครื่องยนต์และดึงกุญแจออก
คำ�เตือน • จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกันด้วยขา
การบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอย่าง ตั้งข้าง ขาตั้งกลาง หรือขาตั้งที่ใช้ในงานบริการเพื่อที่จะตั้ง
ไม่ถูกต้องเหมาะสม หรือการละเลยในการแก้ไขปัญหา รถให้มั่นคง
ก่อนการขับขี่ อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถ • ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณห-
ล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ ภูมิสูงต่างๆ เย็นลงก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ เนื่องจาก
ท่านอาจได้รับบาดเจ็บจากความร้อนหรือการเผาไหม้ได้
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการตรวจสอบและการบ�ำรุงรักษา • ติดเครื่องยนต์เมื่อได้รับการแนะนำ�ไว้เท่านั้น และกระทำ�
และตารางการบ�ำรุงรักษาในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้เสมอ เช่นนั้นเมื่ออยู่ในที่ที่มีการระบายอากาศที่ดี
50
ตารางการบำ�รุงรักษา
ตารางการบำ�รุงรักษาจะระบุถึงรายการบำ�รุงรักษาที่จำ�เป็น การบำ�รุงรักษาตามระยะเวลาที่กำ�หนดไว้ทั้งหมดจะถือ
เพิื่อรับรองว่ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านมี เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการตามปกติที่เจ้าของรถ
ความปลอดภัยในการขับขี่ มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ และ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และจะถูกเรียกเก็บค่าดำ�เนินการ
มีการควบคุมไอเสียที่เหมาะสม ดังกล่าวจากศูนย์บริการฮอนด้า กรุณาเก็บรักษาใบเสร็จ

การบำ�รุงรักษา
งานบำ�รุงรักษาควรกระทำ�ตามมาตรฐานของฮอนด้าและ ทุกใบไว้
ข้อมูลทางเทคนิค โดยช่างเทคนิคที่ได้รับการฝึกอบรม หากท่านขายรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. นี้ ท่านควร
อย่างถูกต้องและมีเครื่องมือครบครัน ซึ่งศูนย์บริการฮอนด้า จะส่งมอบใบเสร็จเหล่านี้ให้แก่เจ้าของรถคนใหม่พร้อม
มีคุณสมบัติตรงตามข้อกำ�หนดดังกล่าวทั้งหมดข้างต้น กับรถ
จดบันทึกประวัติการบำ�รุงรักษาอย่างถูกต้องและแม่นยำ� ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ทำ�การทดสอบการขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ
ท่านจะได้รับการบำ�รุงรักษาอย่างเหมาะสม ท่านหลังจากได้ทำ�การบำ�รุงรักษาแต่ละรายการแล้ว
ต้องแน่ใจว่าช่างเทคนิคผู้ซึ่งได้ทำ�การบำ�รุงรักษารถจักร-
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้แก่ท่านได้ลงบันทึกประวัติการ
บำ�รุงรักษาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว

51
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 4 8 12 16 20 24 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า
หน้า 54 x 1,000 ไมล์ 0.6 2.5 5 7.5 10 12.5 15 ประจำ�ปี กำ�หนด
สายน�้ำมันเชื้อเพลิง -
ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง -
การท�ำงานของคันเร่ง 83
การบำ�รุงรักษา

ไส้กรองอากาศ *2 -
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ *3 67
หัวเทียน 68
ระยะห่างวาล์ว -
น�้ำมันเครื่อง 71
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง 72
รอบเดินเบา -
น�้ำหล่อเย็น *4 2 ปี 75
ระบบระบายความร้อน -

ระดับของการบำ�รุงรักษา คำ�อธิบายสัญลักษณ์เพื่อการบำ�รุงรักษา
: ทักษะระดับกลาง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้ารับบริการที่ : ตรวจเช็ค (ทำ�ความสะอาด ปรับตั้ง หล่อลื่น หรือเปลี่ยนใหม่ถ้าจำ�เป็น)
ศูนย์บริการฮอนด้า นอกเสียจากท่านจะมีเครื่องมือที่จำ�เป็นและมีฝีมือทาง
ช่างด้วย : เปลี่ยน
ขั้นตอนการบำ�รุงรักษาต่างๆ มีอยู่ในคู่มือการซ่อมของฮอนด้า : ทำ�ความสะอาด
: ทักษะด้านเทคนิคที่สูงขึ้น เพื่อความปลอดภัย ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้า
รับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้าเท่านั้น

52
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 4 8 12 16 20 24 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า
หน้า 54 x 1,000 ไมล์ 0.6 2.5 5 7.5 10 12.5 15 ประจำ�ปี กำ�หนด
สายพานขับเคลื่อน -
น�้ำมันเฟืองท้าย *4 2 ปี -
แบตเตอรี่ 66

การบำ�รุงรักษา
น�้ำมันเบรก *4 2 ปี 77
การสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก/ผ้าเบรก 78, 81
ระบบเบรก 77
ไฟหน้า 84
ไฟแสงสว่าง/แตร -
การสึกหรอของผ้าคลัทช์ -
ขาตั้งข้าง 82
ระบบกันสะเทือน -
น๊อต โบ้ลท์ และสกรู -
ล้อ/ยาง 60
ลููกปืนคอ -
หมายเหตุ :
*1 : กรณีที่ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์มีระยะทางเกินกว่า 24,000 กม. ให้ทำ�การบำ�รุงรักษาต่อไปทุกๆ 4,000 กม. โดยเริ่มดูรายการบำ�รุงรักษาตาม
คู่มือตรงช่อง 4,000 กม., 8,000 กม., 12,000 กม., 16,000 กม., 20,000 กม., และ 24,000 กม. ตามลำ�ดับ
*2 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่เปียกหรือมีฝุ่นมาก
*3 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่ฝนตกหรือการใช้งานหนัก
*4 : เปลี่ยนโดยช่างผู้ชำ�นาญ
53
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่ • ระดับน�้ำหล่อเย็น - เติมน�้ำหล่อเย็นถ้าจ�ำเป็น เช็คการ
เพื่อให้มั่นใจในความปลอดภัยถือเป็นความรับผิดชอบ รั่วซึม หน้า 75
ของท่านในการท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่และต้อง • เบรก - เช็คการท�ำงาน :
แน่ใจว่าปัญหาใดๆ เกี่ยวกับรถของท่านที่ตรวจพบนั้น เบรกหน้า : ตรวจสอบระดับน�้ำมันเบรกและการสึก-
ได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว การตรวจเช็คก่อนการขับ หรอของผ้าดิสก์เบรก หน้า 77, 78
การบำ�รุงรักษา

คอมบายเบรก : ตรวจสอบระดับน�้ำมันเบรก หน้า 77


ขี่นั้นถือเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำ เพราะไม่เพียงแต่เพื่อให้ เบรกหลัง : ตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรกและ
เกิดความปลอดภัยเท่านั้น แต่เป็นเพราะการที่มีชิ้นส่วน ระยะฟรี ปรับตั้งถ้าจ�ำเป็น หน้า 78, 81
ของรถเสียหายกะทันหันหรือแม้กระทั่งยางแบน ก็อาจ • อุปกรณ์ไฟแสงสว่างและแตร - ตรวจสอบการท�ำงาน
เป็นสิ่งที่น�ำความยากล�ำบากมาให้แก่ท่านอย่างยิ่งใน ของไฟแสงสว่าง สัญญาณไฟต่างๆ และแตรว่าเป็น
ระหว่างการขับขี่ ไปอย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ก่อนที่ท่านจะขับขี่รถจักร- • ระบบตัดการท�ำงานของเครื่องยนต์โดยขาตั้งข้าง -
ตรวจสอบการท�ำงานว่าเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. : หรือไม่ หน้า 82
• ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง - เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงเมื่อจ�ำเป็น • ล้อและยาง - ตรวจเช็คสภาพและแรงดันลมยาง หน้า
หน้า 43 60
• คันเร่ง - ตรวจสอบการท�ำงานตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงบิด
สุดในสภาพมุมเลี้ยวต่างๆ หน้า 83
• ระดับน�้ำมันเครื่อง - เติมน�้ำมันเครื่องถ้าจ�ำเป็น เช็ค
การรั่วซึม หน้า 71
54
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การเปลี่ยนชิ้นส่วนต่างๆ คำ�เตือน
ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่เทียบเท่า การประกอบชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจท�ำ
เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความ ให้รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอยู่ใน
น่าเชื่อถือและปลอดภัย สภาพไม่ปลอดภัยได้ และอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ

การบำ�รุงรักษา
เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บ
สาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่
เทียบเท่าซึ่งได้รับการออกแบบและรับรองคุณ-
ภาพว่าเหมาะสมกับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ของท่าน

55
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
แบตเตอรี่ คำ�เตือน
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านใช้แบตเตอรี่แบบ แก๊สที่ระเหยจากแบตเตอรี่เป็นแก๊สไฮโดรเจนซึ่ง
ไม่ต้องบ�ำรุงรักษา ท่านไม่ต้องตรวจเช็คระดับน�้ำยาแบต- ท�ำให้เกิดระเบิดได้ระหว่างการปฏิบัติงานตามปกติ
เตอรี่หรือไม่ต้องเติมน�้ำกลั่นลงไป ท�ำความสะอาดขั้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟเพราะแก๊ส
การบำ�รุงรักษา

แบตเตอรี่ถ้าสกปรกหรือมีสนิมขึ้น ที่ระเหยจากแบตเตอรี่สามารถท�ำให้เกิดระเบิดได้
อย่าถอดซีลของฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก การชาร์จแบต- ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
เตอรี่ไม่จ�ำเป็นต้องถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก
สวมเสื้อผ้าและหน้ากากป้องกัน หรือเข้ารับบริการ
จากช่างที่มีความช�ำนาญในการบ�ำรุงรักษาแบตเตอรี่
ข้อสังเกต
แบตเตอรี่ของท่านเป็นแบบไม่ต้องบ�ำรุงรักษา และ การทำ�ความสะอาดขั้วแบตเตอรี่
อาจได้รับความเสียหายได้ถ้าซีลของฝาปิดช่องเติม 1. ถอดแบตเตอรี่ออก หน้า 66
น�้ำยาถูกถอดออกมา 2. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ก�ำลังเริ่มที่จะถูกกัดกร่อนและมีคราบ
สีขาวๆ หรือคราบซัลเฟตเกาะอยู่ ให้ล้างออกโดยใช้
น�้ำอุ่นและเช็ดให้สะอาด

56
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
3. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ถูกกัดกร่อนมากหรือมีคราบสีขาวๆ เกาะ ฟิวส์
อยู่มาก ให้ทำ�ความสะอาดและขัดขั้วแบตเตอรี่ด้วยแปรง ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันวงจรไฟฟ้าภายในรถจักรยานยนต์
ลวดหรือกระดาษทราย ควรสวมแว่นตานิรภัยเพื่อความ
ปลอดภัยของท่าน ฮอนด้า A.T. ของท่าน ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆ ในรถหยุดการ
ทำ�งาน ให้ตรวจเช็คและเปลี่ยนฟิวส์ใดๆ ที่ขาด หน้า 99

การบำ�รุงรักษา
การตรวจสอบและการเปลี่ยนฟิวส์
หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF เพื่อที่จะถอดและ
ตรวจสอบฟิวส์ ถ้าฟิวส์ขาดให้เปลี่ยนใหม่โดยใช้ฟิวส์ที่มี
4. หลังจากทำ�ความสะอาด ให้ประกอบแบตเตอรี่กลับเข้าที่ ขนาดเดียวกับฟิวส์เดิม สำ�หรับขนาดของฟิวส์ให้ดูได้จาก
“ข้อมูลทางเทคนิค” หน้า 115
แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานจำ�กัด ดังนั้นท่านควรปรึกษากับ
ทางศูนย์บริการฮอนด้าว่าเมื่อไรที่ท่านควรจะต้องเปลี่ยน ฟิวส์ขาด
แบตเตอรี่ใหม่ และควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ลูกใหม่ด้วยแบต-
เตอรี่แบบไม่ต้องบำ�รุงรักษาชนิดเดียวกัน
ข้อสังเกต
การประกอบอุปกรณ์เสริมระบบไฟฟ้าที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจ
ข้อสังเกต
ท�ำให้ระบบไฟฟ้าท�ำงานเกินก�ำลัง ท�ำให้แบตเตอรี่จ่ายกระแส
ไฟออกจนหมด และอาจเป็นไปได้ว่าจะท�ำให้ระบบไฟฟ้าได้ การเปลี่ยนฟิวส์โดยใช้ฟิวส์ที่มีเบอร์สูงกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนด
รับความเสียหายได้ จะยิ่งเพิ่มโอกาสของความเสียหายที่จะเกิดแก่ระบบไฟฟ้า
57
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าวงจรไฟฟ้าภายในรถจักรยาน- *1.
มาตรฐาน JASO T 903 เป็นดัชนีส�ำหรับน�้ำมันเครื่องส�ำหรับ
ยนต์ของท่านเกิดบกพร่อง ดังนั้นควรน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า เครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ โดยแบ่งน�้ำมันเครื่อง
A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า ออกเป็น 2 ประเภทคือ MA และ MB ยกตัวอย่างเช่น ป้าย
น�้ำมันเครื่อง ต่อไปนี้แสดงน�้ำมันประเภท MB
การบำ�รุงรักษา

อัตราการสิ้นเปลืองของน�้ำมันเครื่องจะแตกต่างกันและคุณภาพ รหัสน�้ำมัน
ของน�้ำมันเครื่องจะเสื่อมไปตามสภาพการขับขี่และระยะเวลา ประเภทของน�้ำมัน
ในการใช้งาน
ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องเป็นประจ�ำและเติมน�้ำมันเครื่องที่
แนะน�ำถ้าจ�ำเป็น น�้ำมันเครื่องที่สกปรกหรือเก่าควรจะเปลี่ยน
*2.
มาตรฐาน SAE แบ่งเกรดของน�้ำมันเครื่องตามความหนืด
ใหม่ทันทีที่เป็นไปได้
*3.
การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API จะระบุ
การเลือกใช้น�้ำมันเครื่อง ถึงคุณภาพและสมรรถนะของน�้ำมันเครื่อง ขอให้ใช้น�้ำมัน
ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” ใน เครื่องซึ่งมีระดับสมรรถนะ SG หรือสูงกว่า โดยไม่รวมถึง
หน้า 114 น�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอันได้แก่ “Energy
ถ้าท่านใช้น�้ำมันเครื่องที่ไม่ใช่ของฮอนด้า ให้ตรวจสอบป้ายที่ข้าง Conserving” หรือ “Resource Conserving” ปรากฏอยู่
ภาชนะบรรจุน�้ำมัน เพื่อให้แน่ใจว่าน�้ำมันเครื่องนั้นมีคุณสมบัติ ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน API บริเวณครึ่งวงกลมส่วนล่าง
ตรงตามมาตรฐานทั้งหมดดังต่อไปนี้ :
•มาตรฐาน JASO T 903*1 : MB
•มาตรฐาน SAE*2 : 10W-30
•การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API*3 : SG หรือ
สูงกว่า ไม่แนะน�ำให้ใช้ แนะน�ำให้ใช้
58
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
น�้ำมันเบรก น�้ำหล่อเย็นที่แนะน�ำ
อย่าเติมหรือเปลี่ยนน�้ำมันเบรกยกเว้นในกรณีฉุกเฉิน ขอให้ ใช้น�้ำหล่อเย็นแท้แบบผสมแล้วของฮอนด้าเท่านั้น โดยไม่
ใช้น�้ำมันเบรกใหม่ที่บรรจุอยู่ในภาชนะที่ปิดมิดชิดเท่านั้น ถ้า ต้องเอาน�้ำเจือลงไป
ท่านได้เติมน�้ำมันเบรกเข้าไป ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ น�้ำหล่อเย็นแท้แบบผสมแล้วของฮอนด้านี้มีคุณสมบัติดีเด่น
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คระบบเบรกโดยศูนย์บริการ ในการป้องกันสนิมภายในเครื่องยนต์ และป้องกันไม่ให้
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป

การบำ�รุงรักษา
ฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้ ควรตรวจสอบและเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็นอย่างเหมาะสมโดย
ข้อสังเกต ปฏิบัติตามตารางการบ�ำรุงรักษา หน้า 52
น�้ำมันเบรกอาจท�ำให้เกิดความเสียหายกับพื้นผิวพลาสติก ข้อสังเกต
และพื้นผิวที่มีการทาสีได้ การใช้น�้ำหล่อเย็นที่ไม่ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อใช้กับชิ้น-
เช็ดน�้ำมันเบรกที่หกออกให้หมดโดยทันทีและล้างด้วยน�้ำ ส่วนของเครื่องยนต์ที่เป็นอลูมิเนียม หรือการใช้น�้ำประปาธรรมดา
ให้สะอาด หรือน�้ำแร่อาจท�ำให้เกิดสนิมได้

ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
น�้ำมันเบรกที่แนะน�ำ : ควรรับบริการให้บ่อยขึ้นเมื่อขับขี่ในขณะฝนตก ขับขี่ด้วย
น�้ำมันเบรกฮอนด้า DOT 3 หรือ DOT 4 หรือ ความเร็วสูง หรือหลังจากล้างรถหรือรถล้ม ควรรับบริการเมื่อ
เทียบเท่า ระดับเขม่าสะสมในท่อระบายมีมากจนสามารถมองเห็นได้
อย่างชัดเจน หน้า 67
ถ้าท่อระบายเรือนเครื่องยนต์มีน�้ำมันเครื่องล้นออกมา ไส้กรอง
อากาศอาจปนเปื้อนไปด้วยน�้ำมันเครื่องซึ่งจะท�ำให้ประสิทธิ-
ภาพในการท�ำงานของเครื่องยนต์ต�่ำ
59
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
ยาง (การตรวจสอบ/การเปลี่ยน) การตรวจสอบการสึกหรอผิดปกติ
ตรวจเช็คแรงดันลมยาง ตรวจสอบสภาพของยางว่ามีอาการ
ตรวจสอบสภาพของยางด้วยสายตาและใช้เกจวัดแรง สึกหรอผิดปกติที่บริเวณหน้ายางที่
ดันลมยางเพื่อวัดแรงดันลมยางอย่างน้อยที่สุดเดือนละ สัมผัสพื้นผิวถนนหรือไม่
การบำ�รุงรักษา

ครั้งหรือเมื่อใดก็ตามที่ท่านเห็นว่ายางอ่อน ตรวจเช็ค
แรงดันลมยางเสมอในขณะที่ยางเย็น
การตรวจสอบความเสียหาย
ตรวจสอบยางว่ามีรอยฉีกขาด
รอยแยก หรือรอยแตก จนสามารถ
มองเห็นโครงสร้างของชั้นผ้าใบ
หรือเส้นลวด หรือมีตะปูหรือวัตถุ
แปลกปลอมอื่นๆ ติดฝังในด้าน
ข้างของยางหรือดอกยางหรือไม่
ตรวจสอบดูด้วยว่ายางมีรอยบวมหรือส่วนที่นูนออกมา
จากบริเวณแก้มยางหรือไม่

60
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา

การตรวจสอบความสึกของดอกยาง คำ�เตือน
ตรวจสอบต�ำแหน่งความสึกของดอกยาง ถ้าสามารถ การขับขี่รถจักรยานยนต์ที่มีสภาพยางสึกหรอ
มองเห็นได้ชัดเจนให้เปลี่ยนยางใหม่ทันที มากหรือเติมลมยางไม่เหมาะสม อาจก่อให้เกิด
เพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัย ท่านควรเปลี่ยนยางใหม่เมื่อถึง อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจ

การบำ�รุงรักษา
ค่าความสึกของดอกยางต�่ำสุด ได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำทั้งหมดในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้
เกี่ยวกับการเติมลมยางและการบ�ำรุงรักษายาง

จุดสังเกตความสึกของดอกยาง

61
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริ- คำ�เตือน
การเปลี่ยนยางโดยศูนย์บริการฮอนด้า ส�ำหรับยางที่แนะน�ำ การประกอบยางที่ไม่เหมาะสมเข้ากับรถจักรยานยนต์
แรงดันลมยาง และค่าความสึกของดอกยางต�่ำสุด ให้ดูได้ ฮอนด้า A.T. ของท่าน อาจมีผลเสียต่อการบังคับรถ
จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” หน้า 114 และการทรงตัวของรถได้ และสิ่งนี้เองอาจก่อให้เกิด
เมื่อใดก็ตามที่ท่านเปลี่ยนยางให้ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำดังต่อ
การบำ�รุงรักษา

อุบัติเหตุเช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับ


ไปนี้
บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
• ใช้ยางที่แนะน�ำหรือยางเทียบเท่า ซึ่งมีขนาดยาง โครงสร้าง
ของยาง อัตราความเร็วสูงสุดที่ยางรับได้ และความสามารถ
ใช้ยางให้ถูกต้องตามชนิดและขนาดของยางตามที่
ในการรับน�้ำหนักเหมือนกับยางดั้งเดิมของท่าน
ได้แนะน�ำไว้ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้เสมอ
• อย่าใส่ยางในเข้าในยางชนิดไม่มียางในของรถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้ เพราะเมื่อมีความร้อนจัดอาจเป็นเหตุ
ให้ยางในเกิดการระเบิดได้
• ใช้ยางชนิดไม่มียางในกับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่น
นี้เท่านั้น เนื่องจากขอบล้อได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้กับ
ยางชนิดไม่มียางใน และในระหว่างการเร่งความเร็วหรือ
การเบรกอย่างกะทันหัน ยางชนิดมียางในอาจหลุดออก
จากขอบล้อและเป็นเหตุให้ยางแฟบลงอย่างรวดเร็ว

62
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
ไส้กรองอากาศ
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้มีไส้กรองอากาศเป็น
แบบกระดาษเปียก
การทำ�ความสะอาดโดยการใช้ลมเป่าหรือการทำ�ความ
สะอาดด้วยวิธีการอื่นใด จะทำ�ให้ประสิทธิภาพของไส้-

การบำ�รุงรักษา
กรองอากาศแบบกระดาษเปียกลดลง และทำ�ให้มีฝุ่น
เข้าไปด้านในได้
อย่าทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ กับไส้กรองอากาศ
การบริการไส้กรองอากาศควรกระทำ�โดยศููนย์บริการ
ฮอนด้า

63
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ
ชุดเครื่องมือประจำ�รถจัดเก็บอยู่ในช่องเก็บของอเนก
ประสงค์ หน้า 46
ท่านสามารถซ่อมรถระหว่างทาง ปรับตั้งเล็กๆ น้อยๆ
และเปลี่ยนชิ้นส่วนได้โดยใช้เครื่องมือที่อยู่ในชุดเครื่อง-
มือนี้
การบำ�รุงรักษา

• ประแจขันหัวเทียน
• ประแจปากตาย 10 x 14 มม.
• ไขควงแบน/ไขควงแฉก
• ด้ามไขควง
• สายคล้องหมวกกันน็อก

64
ชุการถอดและการประกอบส่
ดเครื่องมือประจำ�รถ วนประกอบตัวถัง

ฝาปิดแบตเตอรี่ ต้องถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออกเพื่อที่จะถอดแบตเตอรี่
และบำ�รุงรักษาฟิวส์
การถอด
1. เปิดเบาะนั่งขึ้น หน้า 44

การบำ�รุงรักษา
2. กดเขี้ยวล๊อคและถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก

เขี้ยวล๊อค
การประกอบ
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ
ถอด

ฝาปิดแบตเตอรี่

65
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง แบตเตอรี่

แบตเตอรี่ 4. ปลดขั้วบวก + แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่


5. ดึงแบตเตอรี่ออก และระวังอย่าทำ�น๊อตยึดขั้วสาย
ขั้วบวก + แบตเตอรี่ สายรัดแบตเตอรี่ หล่น
การประกอบ
การบำ�รุงรักษา

ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
ต่อขั้วบวก + แบตเตอรี่ก่อนเสมอ ต้องแน่ใจว่าโบ้ลท์
และน๊อตต่างๆ ขันแน่นอยู่
ปรับตั้งนาฬิกาใหม่หลังจากที่ต่อขั้วของแบตเตอรี่กลับ
เข้าไปใหม่แล้ว เนื่องจากนาฬิกาจะหยุดการทำ�งานทัน
แบตเตอรี่ ขั้วลบ - แบตเตอรี่
ทีที่ถอดขั้วของแบตเตอรี่ออก
ระบบสัญญาณกันขโมยจะถูกยกเลิกการทำ�งานถ้าถอด
การถอด ขั้วสายของแบตเตอรี่ออก และระบบจะยังคงไม่ทำ�งาน
ต้องแน่ใจว่าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง OFF แม้ว่าจะได้ต่อขั้วสายของแบตเตอรี่กลับเข้าที่แล้วก็ตาม
1. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 65 การตั้งค่าระบบใหม่ให้ท่านหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่
2. ปลดสายรัดแบตเตอรี่ออก ตำ�แหน่ง ON หนึ่งครั้งก่อน
3. ปลดขั้วลบ - แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่ สำ�หรับการจัดการกับแบตเตอรี่ที่เหมาะสม ให้ดูได้จาก
“หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษาแบตเตอรี่” หน้า 56
“แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ” ดูหน้า 96
66
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
การทำ�ความสะอาดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
1. วางถาดรองไว้ใต้ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
2. ถอดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศออกและเทเขม่า
สะสมลงในถาดรอง

การบำ�รุงรักษา
3. ประกอบท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศกลับเข้าที่
ท่อระบายเรือน
ไส้กรองอากาศ

67
หัวเทียน
การเปลี่ยนหัวเทียน
แผ่นยางรองเท้า
สำ�หรับหัวเทียนที่แนะนำ� ให้ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค”
หน้า 114
ใช้หัวเทียนชนิดที่แนะนำ�ไว้เท่านั้นซึ่งมีเบอร์หัวเทียนตาม สกรู
การบำ�รุงรักษา

ที่ได้แนะนำ�ไว้

ข้อสังเกต
การใช้หัวเทียนผิดเบอร์อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่
เครื่องยนต์ได้
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งข้างบนพื้น
ที่มีระดับเสมอกัน
2. ดึงแผ่นยางรองเท้าออก ฝาปิดช่องบ�ำรุง
3. ถอดสกรูออก รักษาหัวเทียน

4. ถอดฝาปิดช่องบำ�รุงรักษาหัวเทียนออกโดยสอดปลาย ร่อง
ของไขควงแบนซึ่งหุ้มไว้ด้วยเศษผ้าเข้าไปในร่องตรง
ที่วางเท้า เศษผ้า

68
หัวเทียน การเปลี่ยนหัวเทียน
5. ปลดปลั๊กหัวเทียนออกจากหัวเทียน 9. ใส่หัวเทียนเข้ากับฝาสูบโดยใช้มือหมุนนำ�เข้าไปก่อน
6. ทำ�ความสะอาดเอาสิ่งสกปรกออกจากรอบๆ ฐานหัวเทียน ให้สุดเกลียวเพื่อป้องกันเกลียวหัวเทียนเสียหาย
7. ถอดหัวเทียนออกด้วยประแจขันหัวเทียนที่อยู่ในชุด 10. ขันหัวเทียน :
เครื่องมือประจำ�รถ • ถ้าหัวเทียนเก่าอยู่ในสภาพที่ดี :
ขันเข้าไป 1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว

การบำ�รุงรักษา
• ถ้าใช้หัวเทียนใหม่ ให้ขันหัวเทียน 2 ครั้งเพื่อป้อง-
ปลั๊กหัวเทียน
กันการคลาย :
ก) ในครั้งแรก, ให้ขันหัวเทียน :
1/2 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
ข) จากนั้นให้คลายหัวเทียนออก
ค) ขันหัวเทียนอีกครั้ง :
1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว

ข้อสังเกต
8. ประกอบหัวเทียนอันใหม่ การขันหัวเทียนอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจท�ำให้เครื่อง-
ยนต์เสียหายได้ ถ้าหัวเทียนหลวมเกินไปลูกสูบอาจได้รับ
ความเสียหายได้ และถ้าหากหัวเทียนแน่นเกินไป เกลียว
ของหัวเทียนอาจได้รับความเสียหายได้
69
หัวเทียน การเปลี่ยนหัวเทียน

11. ประกอบปลั๊กหัวเทียนเข้ากับหัวเทียน ระวังอย่าทำ�


ให้สายเคเบิลหรือสายไฟใดๆ บิดงอ
12. ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ
ถอด
การบำ�รุงรักษา

70
น�้ำมันเครื่อง
การตรวจเช็คน�้ำมันเครื่อง
ตรวจเช็คน�้ำมันเครื่องในขณะที่สวิทช์หยุดการท�ำงาน ขีดบอกระดับสูงสุด
ของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่ต�ำแหน่ง IDLING
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบน

การบำ�รุงรักษา
พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็น
เวลา 3-5 นาที ขีดบอกระดับต�่ำสุด
3. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF ดับเครื่องยนต์
และรอเป็นเวลา 2-3 นาที ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
4. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก เช็ดน�้ำมัน
ออกจากก้านวัด
5. ใส่ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่แต่
ยังไม่ต้องขันเกลียว
ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องว่าอยู่ระหว่างขีดบอก
ระดับสูงสุดและขีดบอกระดับต�่ำสุดบนฝาปิดช่องเติม
น�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดหรือไม่
6. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้า
ที่เดิมให้แน่นหนา
71
น�้ำมันเครื่อง การเติมน�้ำมันเครื่อง
การเติมน�้ำมันเครื่อง ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำและค�ำแนะน�ำในการเลือกใช้
ถ้าหากระดับน�้ำมันเครื่องอยู่ต�่ำกว่าหรือใกล้ถึงขีดบอกระดับ น�้ำมันเครื่อง ให้ดูได้จาก “หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา”
ต�่ำสุด ให้เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ หน้า 58 หน้า 58
1. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก เติมน�้ำมัน
เครื่องที่แนะน�ำจนกระทั่งถึงขีดบอกระดับสูงสุด การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาด
การบำ�รุงรักษา

ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบนพื้น ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง


ที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกันเมื่อท�ำการตรวจ
เช็คระดับน�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาดตะแกรงกรอง
อย่าเติมน�้ำมันเครื่องจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูงสุด น�้ำมันเครื่องจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือพิเศษ ทางบริษัทฯ ขอ
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่องเติม แนะน�ำให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป
น�้ำมันเครื่อง เข้ารับบริการโดยศูนย์บริการฮอนด้า
เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที
2. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่เดิม เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องในขณะที่สวิทช์หยุดการท�ำงานของเครื่อง-
ให้แน่นหนา ยนต์ในรอบเดินเบาอยู่ที่ต�ำแหน่ง IDLING
ข้อสังเกต 1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่
การเติมน�้ำมันเครื่องจนล้นหรือติดเครื่องยนต์ในขณะที่มีน�้ำมัน มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
เครื่องไม่เพียงพออาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องยนต์ของ 2. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็นเวลา
ท่านได้ อย่าน�ำน�้ำมันเครื่องต่างยี่ห้อและต่างเกรดมาผสมกัน 3-5 นาที
เพราะอาจมีผลกระทบต่อการหล่อลื่นของคลัทช์ได้
72
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
3. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF ดับเครื่องยนต์
และรอเป็นเวลา 2-3 นาที แหวนรองกันรั่ว
4. วางถาดรองรับน�้ำมันไว้ใต้โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องและฝา
ปิดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
5. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมัน

การบำ�รุงรักษา
เครื่อง และแหวนรองกันรั่วออกเพื่อที่จะถ่ายน�้ำมันเครื่อง
6. ถอดฝาปิดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง โอริง สปริง และ
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่องออกและปล่อยให้น�้ำมันเครื่อง
ที่ตกค้างอยู่ไหลออกมาจนหมด
โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง
น�ำน�้ำมันเครื่องไปก�ำจัดที่ศูนย์รีไซเคิลที่ได้รับการรับรอง
7. ท�ำความสะอาดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง ฝาปิดตะแกรง
8. ตรวจสอบตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่องและยางรองกันรั่วว่า กรองน�้ำมันเครื่อง
อยู่ในสภาพดีหรือไม่ สปริง
9. เปลี่ยนโอริงใหม่และทาน�้ำมันเครื่องบางๆ ที่โอริงอันใหม่
ก่อนที่จะประกอบโอริงเข้าที่
10. ประกอบตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง สปริง และฝาปิด
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง และขันให้แน่น โอริง
อัตราการขันแน่น :
20 นิวตัน-เมตร (2.0 กก.-ม., 15 ฟุต-ปอนด์) ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง
73
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและการท�ำความสะอาดตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง

11. ประกอบแหวนรองกันรั่วอันใหม่เข้ากับโบ้ลท์ถ่าย
น�้ำมันเครื่อง ขันโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องให้แน่น
อัตราการขันแน่น :
24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
การบำ�รุงรักษา

12. เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ (หน้า 58) และประกอบ


ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
น�้ำมันเครื่องที่ก�ำหนด
เมื่อเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและท�ำความสะอาดตะแกรง
กรองน�้ำมันเครื่อง : 0.9 ลิตร
เมื่อเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องเท่านั้น : 0.8 ลิตร

13. ตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่อง หน้า 71


14. ตรวจสอบดูว่าไม่มีน�้ำมันเครื่องรั่วซึม

74
น�้ำหล่อเย็น
การตรวจเช็คน�้ำหล่อเย็น ถ้าหากระดับน�้ำหล่อเย็นลดต�่ำลงอย่างเห็นได้ชัดหรือ
ไม่มีน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรอง เป็นไปได้ว่าท่านอาจ
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบน จะก�ำลังมีปัญหาการรั่วซึมอย่างมากในระบบหล่อเย็น
พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน ดังนั้นขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน
2. ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรองว่าอยู่ระหว่าง

การบำ�รุงรักษา
ไปเข้ารับการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
ขีดบอกระดับสูง (UPPER) และขีดบอกระดับต�่ำ
(LOWER) ในถังน�้ำส�ำรองหรือไม่ การเติมน�้ำหล่อเย็น

ขีดบอกระดับสูง (UPPER) ถ้าหากระดับน�้ำหล่อเย็นอยู่ในระดับต�่ำกว่าขีดบอกระดับ


ต�่ำ ให้เติมน�้ำหล่อเย็นที่แนะน�ำ (หน้า 59) จนระดับน�้ำ-
หล่อเย็นถึงขีดบอกระดับสูง (UPPER)
เติมน�้ำหล่อเย็นเข้าทางฝาปิดถังน�้ำส�ำรองเท่านั้น และ
ไม่ต้องถอดฝาปิดหม้อน�้ำออก
1. ดึงแผ่นยางรองเท้าออก
2. ถอดแผ่นปิดถังน�้ำส�ำรองออกโดยสอดปลายของไข-
ขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER) ถังน�้ำส�ำรอง ควงแบนซึ่งหุ้มไว้ด้วยเศษผ้าเข้าไปในร่องตรงที่วาง
เท้าด้านขวา
75
น�้ำหล่อเย็น การเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็น
3. ถอดฝาปิดถังน�้ำส�ำรองออกและเติมน�้ำหล่อเย็นใน
แผ่นยางรองเท้า
ขณะที่คอยสังเกตดูระดับน�้ำหล่อเย็นด้วย
อย่าเติมน�้ำหล่อเย็นจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูง
(UPPER) แผ่นปิดถังน�้ำส�ำรอง
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่อง
การบำ�รุงรักษา

เติมน�้ำหล่อเย็นของถังน�้ำส�ำรอง
4. ประกอบฝาปิดถังน�้ำส�ำรองกลับเข้าที่เดิมให้แน่นหนา
5. ประกอบแผ่นปิดถังน�้ำส�ำรองและแผ่นยางรองเท้า
คำ�เตือน
ฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง ร่อง
การถอดฝาปิดหม้อน�้ำในขณะที่เครื่องยนต์ก�ำลัง
ร้อนอยู่อาจเป็นเหตุให้ท่านได้รับอันตรายจาก
การเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็น
ไอน�้ำที่พุ่งออกมา
ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป
ปล่อยให้เครื่องยนต์และหม้อน�้ำเย็นลงเสมอก่อน เข้ารับบริการเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็นโดยศูนย์บริการฮอนด้า
การถอดฝาปิดหม้อน�้ำ นอกเสียจากท่านจะมีเครื่องมือที่เหมาะสมและมีฝีมือ
ทางช่าง
76
เบรก
ตรวจเช็คน�้ำมันเบรก
เบรกหน้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้ตรงบนพื้นที่มั่นคง
กระปุกน�้ำมันเบรกหน้า
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ตรวจเช็คว่ากระปุกน�้ำมันเบรกอยู่ในแนวขนานกับพื้นและ

การบำ�รุงรักษา
ระดับน�้ำมันเบรกอยู่ :
เบรกหน้า เหนือต�ำแหน่งขีดบอกระดับต�่ำ (LWR) หรือไม่

คอมบายเบรก ระหว่างขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER) ขีดบอกระดับต�่ำ (LWR)


และขีดบอกระดับสูง (UPPER) หรือไม่ คอมบายเบรก
กระปุกน�้ำมันเบรกของระบบคอมบายเบรก
ถ้าหากระดับน�้ำมันเบรกในกระปุกน�้ำมันเบรกอันใดอันหนึ่ง
อยู่ในระดับต�่ำกว่าขีดบอกระดับต�่ำ (LWR หรือ LOWER)
หรือถ้าหากระยะฟรีของคันเบรกมากเกินไป ให้ตรวจสอบการ ขีดบอกระดับสูง (UPPER)
สึกหรอของผ้าดิสก์เบรก ถ้าผ้าดิสก์เบรกยังไม่สึกหรอ เป็น
ไปได้มากที่สุดว่าท่านอาจจะก�ำลังมีปัญหาการรั่วซึมในระบบ
เบรก ดังนั้นขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ
ขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER)
ท่านไปเข้ารับการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
77
เบรก การตรวจสอบผ้าดิสก์เบรกหน้า
การตรวจสอบผ้าดิสก์เบรกหน้า การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรกหลัง
ตรวจเช็คสภาพของร่องแสดงการสึกหรอของผ้าดิสก์
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลาง
เบรก
2. วัดระยะจากจุดปกติของคันเบรกหลังเคลื่อนที่ไปจน
ท่านจำ�เป็นต้องเปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่ ถ้าหากผ้าดิสก์
เบรกเริ่มท�ำงาน
การบำ�รุงรักษา

เบรกสึกหรอจนถึงร่องแสดงการสึกหรอ
ผ้าดิสก์เบรก ระยะฟรีที่ปลายของคันเบรกหลัง :
10 – 20 มม. (0.4 – 0.8 นิ้ว)

ร่องแสดงการสึกหรอ
ของผ้าดิสก์เบรก
จานดิสก์เบรก
1. ตรวจเช็คผ้าดิสก์เบรกจากด้านล่างของคาร์ลิปเปอร์
เบรก
ถ้าจ�ำเป็น ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ
ระยะฟรี
ท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่โดยศูนย์
บริการฮอนด้า
เปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกทั้งด้านขวาและด้านซ้ายใหม่พร้อมๆ
กันเสมอ
78
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง

ตรวจเช็คสายเบรกว่าสึกหรอหรือติดขัดหรือไม่ ถ้าจ�ำเป็น การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง


ให้เปลี่ยนสายเบรกใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า
ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลังในขณะที่จัดต�ำแหน่งของ
ท�ำการหล่อลื่นสายเบรกเพื่อป้องกันการสึกหรอเร็วกว่า
ล้อหน้าของรถให้มุ่งตรงไปข้างหน้า
ก�ำหนด
ต้องแน่ใจว่ารอยตัดของน๊อตปรับตั้งเบรกหลังลงร่อง

การบำ�รุงรักษา
ต้องแน่ใจว่าขาเบรก สปริง และตัวยึดต่างๆ อยู่ในสภาพ
บนสลักขาเบรกหลังจากปรับตั้งระยะฟรีเบรก
ที่ดี
น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง
สลักขาเบรก

หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลให้ท่านน�ำ
รถไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า

79
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง
1. ปรับตั้งโดยการหมุนน๊อตปรับตั้งเบรกหลังทีละครึ่ง 3. ดันขาเบรกหลังเข้าไปเพื่อให้แน่ใจว่ามีช่องว่างระหว่าง
รอบในแต่ละครั้งของการหมุน น๊อตปรับตั้งเบรกหลังกับสลักขาเบรก

สลักขาเบรก ขาเบรกหลัง
การบำ�รุงรักษา

ดันเข้าไป

เพิ่มระยะฟรี สลักขาเบรก

ช่องว่าง น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง
ลดระยะฟรี น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง
หลังการปรับตั้งระยะฟรี ให้ตรวจเช็คเพื่อยืนยันระยะฟรี
ของคันเบรกหลัง
2. บีบคันเบรกหลังหลายๆ ครั้ง แล้วตรวจสอบการหมุน
ฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรกหลัง ข้อสังเกต
อย่าหมุนน๊อตปรับตั้งเกินขีดจ�ำกัดในการปรับตั้งตามปกติ

80
เบรก การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก
การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก
เมื่อใช้เบรกลูกศรที่ติดอยู่บนขาเบรกจะเคลื่อนที่ไปที่
เบรกหลังจะประกอบด้วยเครื่องหมายแสดงระดับการ มาร์คชี้ระดับบนจานเบรก ถ้าลูกศรตรงกับมาร์คชี้ระดับ
สึกหรอของผ้าเบรก เมื่อบีบเบรกเต็มที่จ�ำเป็นจะต้องเปลี่ยนผ้าเบรกใหม่ ควร
เข้าศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อรับบริการนี้

การบำ�รุงรักษา
ลูกศร

เมื่อต้องการบริการเกี่ยวกับผ้าเบรก ควรไปรับบริการที่
ศูนย์บริการฮอนด้า และควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้า
หรือเทียบเท่า
มาร์คชี้ระดับ

ขาเบรก จานเบรก

81
ขาตั้งข้าง
4. นั่งบนรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. และยกขาตั้งข้าง
ขึ้น
5. สตาร์ทเครื่องยนต์
6. ลดขาตั้งข้างลงจนสุด เครื่องยนต์ควรจะดับเมื่อลด
การบำ�รุงรักษา

ขาตั้งข้างลง ถ้าเครื่องยนต์ไม่ดับ ขอให้ท่านนำ�รถ


จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับการตรวจ
สปริงขาตั้งข้าง
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า

1. ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยขาตั้งกลางบน


พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ตรวจเช็คว่าขาตั้งข้างทำ�งานได้อย่างราบรื่นหรือไม่
ถ้าขาตั้งข้างฝืดหรือมีเสียงดัง ให้ทำ�ความสะอาดบริ-
เวณจุดหมุนขาตั้งข้าง และหล่อลื่นโบ้ลท์ยึดจุดหมุน
ด้วยจาระบีที่สะอาด
3. เช็คความเสียหายหรือการเสียความยืดหยุ่นของสปริง
ขาตั้งข้าง

82
คันเร่ง
การตรวจเช็คคันเร่ง
ในขณะที่ดับเครื่องยนต์ ตรวจสอบว่าปลอกคันเร่งหมุน
ได้อย่างราบรื่นจากตำ�แหน่งปิดสุดถึงตำ�แหน่งเปิดสุด
และในทุกตำ�แหน่งการเลี้ยว รวมทั้งระยะฟรีคันเร่งมีค่า

การบำ�รุงรักษา
ถูกต้องหรือไม่ ถ้าคันเร่งหมุนไม่คล่องตัว ไม่คืนกลับโดย
อัตโนมัติ หรือถ้าสายคันเร่งเสียหาย ขอให้ท่านนำ�รถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
ระยะฟรีที่ริมขอบของปลอกคันเร่ง :
2 – 6 มม. (0.1 – 0.2 นิ้ว)
ระยะฟรี

ริมขอบของ
ปลอกคันเร่ง

83
การปรับตั้งอื่นๆ
การปรับตั้งระดับไฟหน้า
ท่านสามารถปรับตั้งระดับไฟหน้าในแนวดิ่งเพื่อให้ไฟ
หน้าอยู่ในระดับที่เหมาะสม หมุนเฟืองปรับตั้งไฟหน้า
โดยใช้ไขควงแฉกที่อยู่ในชุดเครื่องมือประจำ�รถ (หน้า
การบำ�รุงรักษา

64) เข้าหรือออกถ้าจำ�เป็น
ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับที่กำ�หนด

ลดต�่ำลง

เฟืองปรับตั้งไฟหน้า ยกสูงขึ้น

84
แบตเตอรี่ของรีโมท
การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของรีโมท 1. ถอดฝาปิดตัวบนออกโดยการงัดที่รอยแยกอย่าง
ระมัดระวังด้วยเหรียญหรือไขควง
เมื่อแบตเตอรี่ของรีโมทเริ่มมีกำ�ลังไฟอ่อนลง ท่านอาจ
ต้องกดปุ่มอยู่หลายครั้ง ระบบสัญญาณกันขโมยหรือ คลุมปิดเหรียญหรือไขควงไว้ด้วยผ้าสำ�หรับป้องกัน
ระบบรีโมทค้นหาตำ�แหน่งรถจึงจะทำ�งาน และไฟ LED เพื่อป้องกันไม่ให้ไปขูดขีดกับรีโมท

การบำ�รุงรักษา
ก็จะหรี่ลงด้วย ดังนั้นขอให้ท่านเปลี่ยนแบตเตอรี่ทันทีที่ อย่าสัมผัสกับวงจรหรือขั้วสาย เพราะจะทำ�ให้เกิด
เป็นไปได้ ปัญหาต่างๆ ได้
ขอแนะนำ�ให้ท่านไปรับบริการเปลี่ยนแบตเตอรี่ของรี- ระมัดระวังไม่ให้เกิดการขูดขีดกับแผงวงจรไฟหรือ
โมทที่ศูนย์บริการฮอนด้า ไม่ทำ�ให้ฝุ่นเข้าไปด้านในได้
อย่าใช้กำ�ลังในการถอดส่วนประกอบของตัวเรือน
ชนิดของแบตเตอรี่ : CR1632 รีโมทออก

85
แบตเตอรี่ของรีโมท การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของรีโมท

ฝาปิดตัวบน
แบตเตอรี่
ผ้าส�ำหรับ
ป้องกัน
การบำ�รุงรักษา

ฝาปิดตัวล่าง รอยแยก

2. เปลี่ยนแบตเตอรี่เก่าออก และประกอบแบตเตอรี่ใหม่
เข้าไปโดยให้ด้านขั้วลบ - อยู่ด้านบน
3. กดฝาปิดทั้งสองของรีโมทกลับเข้าหากัน
ต้องแน่ใจว่าฝาปิดตัวบนและฝาปิดตัวล่างประกอบ
อยู่ในตำ�แหน่งที่ถูกต้อง

86
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

การบำ�รุงรักษา
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ........................................หน้า 88 เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของ
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณไฟระบบหยุดการ
(สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด)........หน้า 89 ท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาติด.....................หน้า 93
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติด....................................หน้า 90 เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง......................หน้า 94
สัญญาณไฟ PGM-FI...............................................หน้า 90 ยางรั่ว......................................................................หน้า 95
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น..................................... หน้า 91 ปัญหาระบบไฟฟ้า...................................................หน้า 96
สัญญาณไฟเตือนถึงความผิดปกติของ แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ................................................หน้า 96
เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง.................................. หน้า 91 หลอดไฟขาด............................................................หน้า 96
เมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ฟิวส์ขาด...................................................................หน้า 99
ไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม...................... หน้า 92
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน
รอบเดินเบาไม่ติด................................................ หน้า 92
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด
มอเตอร์สตาร์ททำ�งาน แต่เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด มอเตอร์สตาร์ทไม่ทำ�งาน
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ : ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ :
• ตรวจเช็คขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ว่าถูกต้องหรือ • ต้องแน่ใจว่ายกขาตั้งข้างขึ้น
ไม่ หน้า 37 • ตรวจเช็คว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ หน้า 99
• ตรวจเช็คว่ามีน�้ำมันเชื้อเพลิงอยู่ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง • ตรวจเช็คว่าการเชื่อมต่อแบตเตอรี่หลวมหรือเกิดสนิม
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

หรือไม่ ที่ขั้วแบตเตอรี่หรือไม่ หน้า 56


• ตรวจเช็คว่าสัญญาณไฟ PGM-FI ติดหรือไม่ • ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่ หน้า 96
ถ้าสัญญาณไฟติด ขอให้ติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า ถ้าปัญหายังคงมีอยู่ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า
ทันทีที่เป็นไปได้ A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการ
ฮอนด้า

88
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป (สัญญาณไฟเตือนอุณ หภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด)
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป (สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด)
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไปเมื่อสิ่งต่อไปนี้ปรากฏ 1. ดับเครื่องยนต์โดยใช้สวิทช์จุดระเบิด
ขึ้น : 2. ปล่อยให้เครื่องยนต์เย็นลงในขณะที่สวิทช์จุดระเบิด
• สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด อยู่ที่ตำ�แหน่ง OFF
• อัตราเร่งอืด 3. หลังจากเครื่องยนต์เย็นลงแล้ว ให้ตรวจสอบท่อน�้ำ
ถ้าหากสิ่งเหล่านี้ปรากฏขึ้น ขอให้ท่านเข็นหรือจูงรถ และตรวจเช็คดูด้วยว่ามีรูรั่วซึมหรือไม่ หน้า 75
เข้าข้างทางอย่างปลอดภัย และปฏิบัติตามขั้นตอนดัง

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ถ้าหากมีรูรั่วซึม :
ต่อไปนี้
การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานอาจท�ำให้สัญญาณ อย่าสตาร์ทเครื่องยนต์ ขอให้บรรทุกหรือขนย้ายรถ
ไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติดได้ จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการ
ตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
ข้อสังเกต 4. ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรอง และเติม
การขับขี่รถต่อไปในขณะที่เครื่องยนต์มีความร้อน น�้ำหล่อเย็นถ้าจ�ำเป็น หน้า 75
สูงเกินไปอาจท�ำให้เกิดความเสียหายร้ายแรงกับ 5. ถ้าท�ำการตรวจเช็คตามข้อที่ 1-4 แล้วพบว่าเป็นปกติ
เครื่องยนต์ได้ ท่านสามารถจะขับขี่ต่อไปได้ แต่ต้องคอยสังเกตดู
สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงอย่างใกล้
ชิดด้วย

89
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติด
สัญญาณไฟ PGM-FI
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นในขณะขับขี่ ท่านอาจมีปัญหาร้าย
แรงเกี่ยวกับระบบ PGM-FI ดังนั้นขอให้ลดความเร็วลง
และนำ�รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับ
บริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

90
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น
สัญญาณไฟเตือนถึงความผิดปกติของเกจวัดระดับ
น�้ำมันเชื้อเพลิง
ถ้าระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงมีความผิดปกติเกิดขึ้น สัญญาณ-
ไฟของเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิงจะปรากฏขึ้นดัง
แสดงในภาพประกอบ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ถ้าหากเกิดกรณีดังกล่าวเหล่านี้ กรุณานำ�รถจักรยานยนต์
ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์
บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้

91
เมื่อระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไม่สามารถทำ�งานได้อย่างเหมาะสม
สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ใน ถ้าสัญญาณไฟ PGM-FI กะพริบ :
รอบเดินเบาไม่ติด
เมื่อสัญญาณไฟ PGM-FI กะพริบ ระบบหยุดการทำ�งานของ
เมื่อสัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ใน
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ทำ�งานเพื่อป้องกันความ
รอบเดินเบาไม่ติด ให้ปฏิบัติดังนี้ : เสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับเครื่องยนต์ ดังนั้นขอให้ท่านนำ�รถ
ถ้าสวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
เบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING :
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่ต�่ำ :
กดสวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่
ตำ�แหน่ง IDLING STOP ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. สักครู่ จากนั้นดับเครื่อง-
ถ้าเครื่องยนต์เย็น : ยนต์แล้วสตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งด้วยการกดปุ่มสตาร์ท โดย
อ้างอิงตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ (หน้า 37) ส�ำหรับ
อุ่นเครื่องยนต์ การสตาร์ทเครื่องยนต์แบบปกติ ระบบหยุดการท�ำงานของ
ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาอาจจะไม่ท�ำงานถ้าแบตเตอรี่มี
ทำ�งานถ้าหากเครื่องยนต์เย็น แรงเคลื่อนไฟฟ้าต�่ำ
ถ้าท่านไม่ได้ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หลังจาก ถ้าปัญหานี้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง โปรดติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า
ที่เครื่องยนต์สตาร์ทติด :
ขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ที่ความเร็วเกินกว่า 10
กิโลเมตร/ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง) ระบบหยุดการทำ�งานของ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ทำ�งานจนกว่าจะได้ความเร็ว
ตามที่กำ�หนด
92
เมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการท�ำงานของระบบหยุดการท�ำงานของ
เครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณไฟระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาติด

เครื่องยนต์ไม่ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุด ถ้าไม่ได้ผ่อนคันเร่งจนสุด :
การทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่
ผ่อนคันเร่งจนสุด
สัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์
ในรอบเดินเบาติด
เมื่อเครื่องยนต์ไม่ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุดการ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาในขณะที่สัญญาณ
ไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา
ติด ให้ปฏิบัติดังนี้ :

ถ้ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หยุดไม่สนิท :


หยุดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้สนิท ระบบหยุด
การทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะทำ�งานเมื่อ
ความเร็วอยู่ที่ 0 (ศูนย์)​กิโลเมตร/ชั่วโมง (0 (ศูนย์)​ไมล์/
ชั่วโมง) เท่านั้น

93
เมื่อระบบหยุดการท�ำงานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเหมาะสม เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง

เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้จะบิดคันเร่ง ถ้าสวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ
เดินเบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING :
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดแม้ว่าจะบิดคันเร่งก็ตาม ให้ปฏิบัติ
ดังนี้ : ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุดการทำ�
งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา ถ้าท่านกดสวิทช์หยุดการ
ถ้าลดขาตั้งข้างลง : ทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาไปที่ตำ�แหน่ง IDLING
ในขณะที่เครื่องยนต์ดับโดยการทำ�งานของระบบหยุดการทำ� ระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบาจะถูก
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

งานของเครื่องยนต์ในรอบเดินเบา หากท่านลดขาตั้งข้างลง ยกเลิก สตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งด้วยการกดปุ่มสตาร์ท โดย


สัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน อ้างอิงตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ (หน้า 37) สำ�หรับ
เบาที่กำ�ลังกะพริบอยู่จะดับหรือหยุดกะพริบ และเปลี่ยนเป็น การสตาร์ทเครื่องยนต์แบบปกติ
ติดค้าง และระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบเดิน ถ้าสัญญาณไฟระบบหยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ
เบาจะถูกยกเลิก สตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งด้วยการกดปุ่ม เดินเบากะพริบ (สวิทช์หยุดการทำ�งานของเครื่องยนต์ในรอบ
สตาร์ท โดยอ้างอิงตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ (หน้า เดินเบาอยู่ที่ตำ�แหน่ง IDLING STOP) แต่เครื่องยนต์สตาร์ท
37) สำ�หรับการสตาร์ทเครื่องยนต์แบบปกติ ไม่ติดแม้ว่าจะบิดคันเร่งก็ตาม ให้ปฏิบัติดังนี้ :
แบตเตอรี่มีกำ�ลังไฟอ่อน (หรือแบตเตอรี่หมดไฟ)
หรือสายไฟแบตเตอรี่หลวม :
ตรวจสอบแบตเตอรี่และขั้วสายของแบตเตอรี่ ถ้าแบตเตอรี่
มีกำ�ลังไฟอ่อน โปรดติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า
94
ยางรั่ว่ว
ยางรั
การซ่อมรูรั่วของยางหรือการถอดล้อจำ�เป็นต้องใช้เครื่องมือ
พิเศษและมีความชำ�นาญด้านเทคนิคด้วย ทางบริษัทฯ ขอ
คำ�เตือน
แนะนำ�ให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไป การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. โดยที่ยางได้
เข้ารับบริการดังกล่าวโดยศูนย์บริการฮอนด้า รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราวนั้นมีความเสี่ยงสูงมากที่
หลังจากการซ่อมแซมในกรณีฉุกเฉินแล้ว ท่านควรจะนำ�รถ จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และถ้าหากการซ่อมแซมชั่ว-
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจสอบ คราวนั้นไม่ได้ผลอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การ
ชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ยาง/เปลี่ยนยางใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้าเสมอ
การซ่อมแซมในกรณีฉุกเฉินโดยใช้ชุดเครื่องมือในการ ถึงแก่เสียชีวิตได้
ซ่อมแซมยาง
ถ้าท่านต้องขับขี่รถโดยที่ยางได้รับการซ่อมแซมไว้
ถ้ายางของท่านมีรูรั่วเล็กน้อย ท่านสามารถที่จะซ่อมแซม ชั่วคราว ท่านควรจะขับขี่อย่างช้าๆ และด้วยความ
ยางในกรณีฉุกเฉินได้โดยใช้ชุดเครื่องมือในการซ่อมแซมยาง ระมัดระวัง และอย่าขับขี่ด้วยความเร็วเกินกว่า 50
สำ�หรับยางชนิดไม่มียางใน กิโลเมตร/ชั่วโมง (30 ไมล์/ชั่วโมง) จนกว่าท่านจะได้
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ที่มีมากับชุดเครื่องมือในการ เปลี่ยนยางเส้นใหม่เรียบร้อยแล้ว
ซ่อมแซมยางฉุกเฉิน การขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
โดยที่ยางได้รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราวนั้นมีความเสี่ยงสูง
มากที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ อย่าขับขี่ด้วยความเร็วเกินกว่า
50 กิโลเมตร/ชั่วโมง (30 ไมล์/ชั่วโมง) และขอให้ท่านนำ�รถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยน
ยางใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้
95
ปัญหาระบบไฟฟ้า
ปัญหาระบบไฟฟ้า
แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ หลอดไฟขาด
ชาร์จแบตเตอรี่โดยใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่สำ�หรับรถ หลอดไฟทั้งหมดของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้
จักรยานยนต์ เป็นหลอด LED
ถอดแบตเตอรี่ออกจากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ถ้ามีหลอด LED หลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไป
ก่อนการชาร์จแบตเตอรี่ เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ห้ามใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์ เนื่องจากจะทำ�ให้
เกิดความร้อนสูงเกินไปในแบตเตอรี่สำ�หรับรถจักรยาน-
ยนต์์และอาจทำ�ให้แบตเตอรี่เกิดความเสียหายถาวรได้
ถ้าแบตเตอรี่ไม่สามารถฟื้นฟูสภาพให้นำ�กลับมาใช้งาน
ได้หลังจากการชาร์จแบตเตอรี่ โปรดติดต่อศูนย์บริการ
ฮอนด้า
ข้อสังเกต
ไม่แนะนำ�ให้ใช้วิธีการพ่วงสตาร์ทโดยใช้แบตเตอรี่
สำ�หรับรถยนต์ เนื่องจากอาจทำ�ให้เกิดความเสียหาย
กับระบบไฟฟ้าในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ
ท่านได้
96
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด

ไฟหน้า/ไฟเลีี้ยวหน้า/ไฟหรี่ ไฟหน้า/ไฟเลี้ยวหน้า/ไฟหรี่ใช้หลอด LED หลายหลอด


ถ้ามีหลอด LED หลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไป
ไฟเลี้ยวหน้า เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ไฟหรี่ ไฟหรี่

ไฟหน้า

97
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด

ไฟเบรก/ไฟท้าย/ไฟเลี้ยวหลัง/ไฟส่องป้ายทะเบียน ไฟเบรก/ไฟท้าย/ไฟเลี้ยวหลัง/ไฟส่องป้ายทะเบียนใช้
ไฟเบรก/ไฟท้าย
หลอด LED หลายหลอด
ถ้ามีหลอด LED หลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไป
เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ไฟเลี้ยวหลัง

ไฟส่องป้ายทะเบียน

98
ปัญหาระบบไฟฟ้า ฟิวส์ขาด

ฟิวส์ขาด 1. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ หน้า 65


ก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาฟิวส์ ให้ดู “การตรวจสอบและ 2. ถอดฝาปิดกล่องฟิวส์
การเปลี่ยนฟิวส์” หน้า 57 3. ดึงฟิวส์หลักและฟิวส์อื่นๆ ออกทีละตัวด้วยตัวดึงฟิวส์
ซึ่งอยู่ด้านในของฝาปิดกล่องฟิวส์และตรวจเช็คว่า
ฟิวส์ที่อยู่ในกล่องฟิวส์ ฟิวส์ขาดหรือไม่ เปลี่ยนฟิวส์ที่ขาดด้วยฟิวส์สำ�รอง
ที่มีขนาดเดียวกับฟิวส์ตัวเดิมเสมอ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ตัวดึงฟิวส์
4. ประกอบฝาปิดกล่องฟิวส์
5. ประกอบฝาปิดแบตเตอรี่
ฟิวส์ส�ำรอง
ข้อสังเกต
ฟิวส์หลัก ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าระบบไฟฟ้าภายใน
รถจักรยานยนต์ของท่านมีปัญหา ดังนั้นควรน�ำรถจักร-
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า

ฝาปิดกล่องฟิวส์

99
ข้อมูลที่ควรทราบ

กุญแจ.............................................................. หน้า 101


เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ.. หน้า 103
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์...หน้า 104
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย................................ หน้า 105
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T...... หน้า 106
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T........ หน้า 110
การขนส่งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T............. หน้า 110
ท่านและสิ่งแวดล้อม........................................ หน้า 111
หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ.................................... หน้า 112
กุญแจ
กุญแจ รีโมท
กุญแจจุดระเบิด รีโมทประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะท�ำงานโดย
ต้องแน่ใจว่าท่านได้จดบันทึกหมายเลขกุญแจที่มีมากับ ระบบสัญญาณกันขโมยและระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่ง
แผ่นหมายเลขกุญแจไว้ในคู่มือเล่มนี้แล้ว รถ ถ้าหากวงจรได้รับความเสียหาย รีโมทจะไม่สามารถ
ขอให้ท่านเก็บรักษาแผ่นหมายเลขกุญแจไว้ในที่ที่ปลอดภัย สั่งงานระบบสัญญาณกันขโมยและระบบรีโมทค้นหา
ในการท�ำส�ำเนากุญแจ ขอให้ท่านน�ำกุญแจส�ำรองหรือ ต�ำแหน่งรถได้
แผ่นหมายเลขกุญแจไปยังศูนย์บริการฮอนด้า • อย่าท�ำรีโมทตกหล่น หรือวางสิ่งของซึ่งมีน�้ำหนักมากไว้
บนรีโมท

ข้อมูลที่ควรทราบ
ถ้าท่านท�ำกุญแจทั้งหมดและแผ่นหมายเลขกุญแจหาย • อย่าเก็บรีโมทไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง หรือมีอุณห-
ท่านอาจจะต้องน�ำรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ภูมิและความชื้นสูง
ท่านไปเข้ารับบริการถอดชุดสวิทช์กุญแจโดยศูนย์บริการ • อย่าท�ำให้รีโมทเกิดรอยขีดข่วนหรือถูกเจาะเป็นรู
ฮอนด้าเพื่อที่จะดูหมายเลขกุญแจของท่าน • อย่าเก็บไว้ใกล้กับผลิตภัณฑ์ใดๆ ที่มีคุณสมบัติเป็น
แม่เหล็ก เช่น พวงกุญแจแม่เหล็ก
พวงกุญแจโลหะอาจท�ำให้เกิดความเสียหายกับบริเวณ • เก็บรักษารีโมทให้อยู่ห่างจากเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น
โดยรอบสวิทช์จุดระเบิดได้ โทรทัศน์ วิทยุ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC)
หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลความถี่ต�่ำเสมอ
• เก็บรักษารีโมทให้อยู่ห่างจากของเหลวต่างๆ ถ้าหาก
รีโมทเปียก ให้เช็ดรีโมทให้แห้งทันทีด้วยผ้าเนื้อนุ่ม

101
กุญแจ
• เก็บรักษารีโมทให้อยู่ห่างจากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ขณะล้างรถ แบตเตอรี่ที่อยู่ในรีโมทนั้น โดยปกติแล้วจะมีอายุการใช้งาน
• อย่าท�ำให้รีโมทเกิดความร้อน ประมาณ 2 ปี
• อย่าล้างรีโมทในเครื่องล้างความถี่สูง (Ultrasonic cleaner)
• ถ้าหากมีน�้ำมันเชื้อเพลิง แวกซ์ หรือจาระบีติดอยู่กับรีโมท อย่าเก็บโทรศัพท์มือถือหรืออุปกรณ์ส่งคลื่นวิทยุอื่นๆ ไว้ใน
ให้เช็ดออกทันทีเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดรอยแตกหรือเสียรูป ช่องเก็บของอเนกประสงค์ คลื่นความถี่วิทยุจากอุปกรณ์
• อย่าแยกชิ้นส่วนประกอบของรีโมท เว้นแต่เมื่อท่านจะเปลี่ยน ต่างๆ จะไปรบกวนการท�ำงานของระบบสัญญาณกันขโมย
แบตเตอรี่ ท่านสามารถถอดแยกชิ้นส่วนประกอบได้เฉพาะ และระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถ
ข้อมูลที่ควรทราบ

ฝาปิดรีโมทเท่านั้น อย่าถอดแยกชิ้นส่วนประกอบอื่นๆ
• อย่าท�ำรีโมทของท่านสูญหาย ถ้าหากท่านท�ำหาย ท่าน ท่านควรจะเก็บรักษารีโมทไว้กับตัวเสมอ
จ�ำเป็นต้องตั้งค่าให้กับรีโมทเครื่องใหม่ โดยกรุณาน�ำรถ
จักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริการตั้งค่า เนื่องจากหากใครมีรีโมทอยู่ในครอบครองก็จะสามารถใช้
ที่ศูนย์บริการฮอนด้า งานระบบสัญญาณกันขโมยและระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่ง
ระบบสัญญาณกันขโมยและระบบรีโมทค้นหาต�ำแหน่งรถอาจ รถได้
จะท�ำงานอย่างไม่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมดังต่อไปนี้
• มีกระแสไฟฟ้าแรงสูงอยู่ใกล้ๆ
• ท่านมีโทรศัพท์มือถือ เครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (Laptop
computer) หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ติดตัวอยู่
• รีโมทสัมผัสกับโลหะหรือถูกห่อหุ้มด้วยโลหะ

102
เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ

การเพิ่มรีโมท ขอให้ท่านนำ�รีโมทและรถจักรยานยนต์ฮอนด้า เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ


A.T. ของท่านไปยังศูนย์บริการฮอนด้า สวิทช์จุดระเบิด
ไฟหน้าจะติดตลอดเวลาเมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง
รีโมทใช้คลื่นวิทยุที่มีความแรงต�่ำ ดังนั้นช่วงระยะการท�ำ ON ดังนั้นการปล่อยให้สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง ON
งานของรีโมทอาจจะกว้างขึ้นหรือแคบลงขึ้นอยู่กับสภาวะ ในขณะที่เครื่องยนต์ดับจะทำ�ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟออก
แวดล้อม จนหมดได้
อย่าหมุนกุญแจจุดระเบิดในขณะขับขี่รถ

ข้อมูลที่ควรทราบ
เครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์นี้มีความสอดคล้อง
มาตรวัดระยะทาง
ตามข้อกำ�หนดของ กทช.
จอแสดงผลจะหยุดอยู่ที่ตัวเลข 999999 เมื่อค่าที่อ่านได้เกิน
กว่า 999999
มาตรวัดระยะการเดินทาง
มาตรวัดระยะการเดินทางจะวนกลับมาที่ 0.0 เมื่อค่าที่อ่าน
ได้เกินกว่า 999.9
ซองเก็บเอกสาร
คู่มือผู้ใช้ เอกสารการจดทะเบียน และข้อมูลการรับประกัน
สามารถจัดเก็บไว้ในซองเก็บเอกสารพลาสติกซึ่งอยู่ในช่อง
เก็บของอเนกประสงค์
103
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์

น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ข้อสังเกต
น�้ำมันเชื้อเพลิงทั่วไปบางชนิดซึ่งผสมแอลกอฮอล์สามารถ การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
หาซื้อได้ในบางพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณไอเสียให้ตรง ซึ่งมีค่าเปอร์เซ็นต์ของแอลกอฮอล์สูงกว่าที่ได้รับรอง
ตามมาตรฐานอากาศสะอาดที่มีก�ำหนดไว้ ถ้าท่านวาง ไว้ อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่ชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ
แผนว่าจะใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ยาง และพลาสติกของระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงของท่าน
ขอให้ตรวจสอบดูว่าเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วและ ได้
มีค่าออกเทนอย่างน้อยที่สุดเท่ากับที่ได้ก�ำหนดไว้หรือไม่
ข้อมูลที่ควรทราบ

หากท่านสังเกตเห็นอาการผิดปกติของเครื่องยนต์หรือ
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ดังต่อไปนี้ พบว่าเครื่องยนต์มีปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการ
สามารถน�ำมาใช้กับรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ ท�ำงานให้ท่านลองเปลี่ยนไปใช้น�้ำมันยี่ห้ออื่นแทน
ท่านได้ :
• เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์) สูงสุด 20% โดยปริมาตร
น�้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งประกอบด้วยเอทานอล ซึ่งวางจ�ำ-
หน่ายภายใต้ชื่อทางการค้าว่า แก๊สโซฮอล์

104
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย

อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย ดังนั้นควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ เพื่อเป็นการ


รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. รุ่นนี้เป็นรถที่มีการติดตั้ง ป้องกันอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียในรถจักรยานยนต์
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย 3 ทาง ในอุปกรณ์แปรสภาพ ฮอนด้า A.T. ของท่าน
ไอเสียนี้ประกอบด้วยทองคำ�ขาว ซึ่งทำ�หน้าที่ในการเร่ง • ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น เพราะน�้ำมันที่มี
ปฏิกิริยาทางเคมีเมื่อมีอุณหภูมิสูง เพื่อเปลี่ยนไฮโดร- สารตะกั่วจะท�ำให้อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียเกิดความ
คาร์บอน (HC) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และไนโตร- เสียหายได้
เจนออกไซด์ (NOx) ในก๊าซไอเสียให้เป็นสารประกอบ • ดูแลเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี

ข้อมูลที่ควรทราบ
ที่ปลอดภัย ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม • นำ�รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านไปเข้ารับบริ-
การจากศูนย์บริการฮอนด้าถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียที่มีสภาพไม่สมบูรณ์หรือชำ�รุด ติด เครื่องยนต์ติดขัด หรือทำ�งานไม่เป็นปกติ ในกรณี
จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและทำ�ให้ประสิทธิภาพ ดังกล่าวขอให้ท่านหยุดรถและดับเครื่องยนต์
การทำ�งานของเครื่องยนต์ลดลง การเปลี่ยนระบบแปร
สภาพไอเสียอันใหม่จะต้องใช้อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรือ
อะไหล่ที่ทดแทนกันได้เท่านั้น

105
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หลีกเลี่ยงการฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ ท่อไอเสีย และ
การท�ำความสะอาดและขัดเงารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อยู่ ชิ้นส่วนของระบบไฟฟ้า
เป็นประจ�ำนั้นมีความส�ำคัญต่อการรับประกันอายุการใช้งานที่
3. ล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วยน�้ำสะอาดอย่างทั่วถึงและ
ยาวนานของรถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่าน รถจักรยานยนต์ที่
สะอาดจะท�ำให้ง่ายแก่การพบเห็นปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช็ดรถให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น�้ำทะเลและเกลือที่ใช้ป้องกันการเกิดน�้ำแข็ง 4. หลังจากที่รถจัักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. แห้ง ให้หยอดน�้ำมัน
เกาะบนพื้นถนน จะท�ำให้เหล็กเกิดสนิมหรือผุกร่อนได้ ดังนั้นควร หล่อลื่นที่ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ใดๆ
ล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านอย่าง ต้องแน่ใจว่าไม่มีน�้ำมันหล่อลื่นกระเด็นไปติดบนเบรกหรือ
ทั่วถึงทุกครั้งหลังการขับขี่ไปบนถนนที่อยู่เลียบชายฝั่งทะเลหรือบน ยางรถ ผ้าดิสก์เบรก จานดิสก์เบรก ดรัมเบรก หรือผ้าเบรกทีี่
ข้อมูลที่ควรทราบ

ถนนที่ถูกโรยด้วยเกลือ เปื้อนไปด้วยน�้ำมันจะท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง
อย่างมากและอาจน�ำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือ
การล้างรถจักรยานยนต์ รถล้มได้
ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูง 5. ใช้แวกซ์เคลือบผิวเพื่อป้องกันสนิมและการกัดกร่อน
อื่นๆ เย็นลงก่อนที่จะล้างรถ หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบไปด้วยผงซักฟอกที่มี
1. ล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อย่างทั่วถึงโดยใช้สายยางส�ำหรับ คุณสมบัติในการกัดสูงหรือตัวทำ�ละลายทางเคมีซึ่งอาจทำ�
รดน�้ำต้นไม้เพื่อท�ำความสะอาดสิ่งสกปรกที่ไม่ฝังแน่นออก ให้เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ ชิ้นส่วนที่พ่นสี
2. ถ้าจ�ำเป็น ท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ด้วย และชิ้นส่วนที่เป็นพลาสติกของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ฟองน�้ำหรือผ้าขนหนูเนื้อนุ่มชุบน�้ำยาท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์
ของท่านได้
อ่อนๆ เพื่อขจัดคราบสกปรกต่างๆ ที่มาจากถนนออก
ท�ำความสะอาดแผ่นกันลม เลนส์ไฟหน้า ฝาครอบตัวถัง และ อย่าลงแวกซ์ที่ยางและเบรก
ส่วนประกอบที่เป็นพลาสติกต่างๆ ด้วยความระมัดระวังเป็น ถ้ารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านมีชิ้นส่วนที่เป็นพื้น
พิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดรอยขีดข่วนที่ชิ้นส่วนดังกล่าว ผิวสีที่ด้านใดๆ อย่าใช้แวกซ์เคลือบพื้นผิวดังกล่าว
106
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
ข้อควรระวังในการล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. • อย่าฉีดน�้ำตรงไปใกล้ไฟหน้า :
ควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำต่อไปนี้เมื่อจะล้างรถจักรยานยนต์ ไอน�้ำภายในเลนส์ไฟหน้าควรจะหายไปหลังจากที่ติด
ฮอนด้า A.T. : เครื่องยนต์เป็นเวลา 2-3 นาทีแล้ว
• อย่าใช้เครื่องฉีดน�้ำแรงดันสูง : • อย่าใช้แวกซ์ซึ่งประกอบไปด้วยสารประกอบชนิดต่างๆ
เครื่องฉีดล้างท�ำความสะอาดแรงดันสูงอาจท�ำให้เกิดความ หรือใช้สารขัดเงากับพื้นผิวสีที่ด้าน :
เสียหายกับชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้และชิ้นส่วนของระบบ ให้ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาดพื้นผิวสี
ไฟฟ้า และท�ำให้ชิ้นส่วนดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้ ที่ด้านด้วยผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำที่ชุบน�้ำผงซักฟอกอ่อนๆ
• อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ท่อไอเสีย : แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด

ข้อมูลที่ควรทราบ
น�้ำที่อยู่ในท่อไอเสียอาจท�ำให้รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
สตาร์ทไม่ติดและยังท�ำให้เกิดสนิมในท่อไอเสียได้ ชิ้นส่วนอะลูมิเนียม
• ท�ำให้เบรกแห้ง : อะลูมิเนียมจะเกิดการผุกร่อนและเป็นสนิมได้เมื่อถูกฝุ่น โคลน
น�้ำมีผลเสียต่อประสิทธิภาพในการเบรก หลังจากการล้าง หรือเกลือที่โรยอยู่ตามท้องถนน ทำ�ความสะอาดชิ้นส่วน
รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ให้เบรกซ�้ำๆ หรือย�้ำเบรกใน
อะลูมิเนียมเป็นประจำ�และปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อ
ขณะที่ขับขี่ที่ความเร็วต�่ำ เพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น
• อย่าฉีดน�้ำตรงเข้าไปใต้เบาะนั่ง : หลีกเลี่ยงรอยขีดข่วนต่างๆ :
น�้ำที่เข้าไปในช่องเก็บของใต้เบาะนั่งอาจท�ำให้เกิดความ • อย่าใช้แปรงขนแข็ง เหล็กฝอยสำ�หรับขัด หรือวัสดุและ
เสียหายกับเอกสารและทรัพย์สินอื่นๆ ของท่านได้ อุปกรณ์ทำ�ความสะอาดอื่นๆ ที่มีผงขัดเป็นส่วนประกอบ
• อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ : • หลีกเลี่ยงการขับขี่ข้ามหรือครูดไปกับขอบถนน
น�้ำที่เข้าไปในไส้กรองอากาศอาจท�ำให้เครื่องยนต์สตาร์ท
ไม่ติดได้
107
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.

ฝาครอบตัวถังต่างๆ ชุดท่อไอเสีย
ควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด เมื่อมีการทาสีที่พื้นผิวของชุดท่อไอเสีย ไม่ควรใช้ผลิต-
รอยขีดข่วนและรอยตำ�หนิต่างๆ : ภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนพื้นผิว ซึ่งเป็น
• ค่อยๆ ท�ำความสะอาดโดยใช้ฟองน�้ำนุ่มๆ และล้าง ผลิตภัณฑ์ที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามท้องตลาดใน
ด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง การใช้ท�ำความสะอาดพื้นผิวดังกล่าว ขอให้ท่านใช้
• ขจัดสิ่งสกปรกที่ฝังแน่นอยู่ออก ใช้น�้ำผสมผงซักฟอก ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่เป็นกลางในการท�ำความ
เจือจางและล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง สะอาดพื้นผิวสีบนชุดท่อไอเสีย ถ้าหากท่านไม่แน่ใจว่า
ข้อมูลที่ควรทราบ

• หลีกเลี่ยงอย่าให้มีน�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำมันเบรก หรือผง ชุดท่อไอเสียของท่านมีการทาสีที่พื้นผิวไว้หรือไม่ ขอให้


ซักฟอกหกลงบนเครื่องวัด แผ่นกันลม ฝาครอบตัวถัง ท่านติดต่อสอบถามกับศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
หรือไฟหน้า
ข้อสังเกต
ถึงแม้ว่าท่อไอเสียจะท�ำมาจากเหล็กกันสนิมก็อาจมี
ร่องรอยหรือคราบสกปรกเกิดขึ้นได้ ให้ขจัดร่องรอย
และต�ำหนิต่างๆ ออกทันทีที่ท่านสังเกตเห็น

108
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
แผ่นกันลม
เปลี่ยนแผ่นกันลมใหม่ถ้ารอยขูดขีดนั้นไม่สามารถลบ
ให้ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาดแผ่นกัน ออกได้และเป็นอุปสรรคในการมองเห็นที่ชัดเจน
ลมด้วยผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำ (หลีกเลี่ยงการใช้ผงซักฟอก ดูแลป้องกันไม่ให้น�้ำยาแบตเตอรี่ น�้ำมันเบรก หรือตัว
หรือน�้ำยาท�ำความสะอาดที่เป็นสารเคมีชนิดใดก็ตาม
ท�ำละลายทางเคมีอื่นๆ หกรดแผ่นกันลมและฝาครอบ
ที่แผ่นกันลม) แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด
เพราะจะท�ำให้เกิดความเสียหายกับพลาสติกได้
ข้อสังเกต

ข้อมูลที่ควรทราบ
เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการขูดขีดหรือเกิดความเสียหาย
อื่นๆ ให้ใช้น�้ำและผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำเท่านั้นใน
การท�ำความสะอาดแผ่นกันลม
ส�ำหรับแผ่นกันลมที่มีคราบสกปรก ไม่ใส หรือขุ่น ให้ใช้
ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่เป็นกลางและเจือจาง โดย
ใช้ฟองน�้ำและล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง
ต้องแน่ใจว่าได้ล้างน�้ำยาท�ำความสะอาดออกจนหมด
ด้วยน�้ำ (คราบน�้ำยาที่ตกค้างอยู่อาจท�ำให้เกิดรอยแตก
ที่แผ่นกันลมได้)
109
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.

การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. หลังจากที่ท่านเอารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ออกมา


ถ้าท่านเก็บรักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ไว้ที่ลาน จากโรงเก็บรถ ขอให้ท่านตรวจสอบรายการบำ�รุงรักษา
จอดกลางแจ้ง ท่านควรพิจารณาใช้ผ้าคลุมสำ�หรับรถ ทั้งหมดตามที่ได้กำ�หนดไว้ในตารางการบำ�รุงรักษา
จักรยานยนต์แบบเต็มคัน ถ้าหากท่านจะไม่ขับขี่รถจักร-
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. เป็นระยะเวลานานๆ ขอให้ปฏิบัติ
ตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ : การขนส่งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T.
• ล้างรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านและลงแวกซ์ ถ้าหากรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่านจำ�เป็นต้อง
บนพื้นผิวเคลือบทุกแห่ง (ยกเว้นพื้นผิวสีที่ด้าน) ถูกขนย้ายหรือขนส่ง ท่านควรนำ�รถจักรยานยนต์์ฮอนด้า
ข้อมูลที่ควรทราบ

เคลือบแผ่นโครเมียมด้วยน�้ำมันป้องกันสนิม
• ตั้งรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. บนขาตั้งกลางและ A.T. ขึ้นรถพ่วงสำ�หรับบรรทุกรถจักรยานยนต์ หรือรถ
วางตำ�แหน่งของหมอนรองเพื่อยกยางทั้งสองล้อให้ บรรทุกหรือรถพ่วงพื้นเรียบซึ่งมีท้ายลาดหรือมีแท่นยก
อยู่เหนือพื้นดิน รถ และมีสายรัดรถจักรยานยนต์ด้วย อย่าพยายามที่จะ
• หลังจากฝนตก เอาผ้าคลุมรถออกและปล่อยรถจักร- ลากจูงรถจักรยานยนต์์ฮอนด้า A.T. ของท่านในขณะที่
ยานยนต์ฮอนด้า A.T. ไว้ให้แห้ง ล้อใดล้อหนึ่งหรือทั้งสองล้อยังแตะอยู่กับพื้น
• ถอดแบตเตอรี่ออก (หน้า 66) เพื่อป้องกันไม่ให้แบต-
เตอรี่จ่ายกระแสไฟออกจนหมด
ชาร์จแบตเตอรี่ในที่ร่มและมีการระบายอากาศที่ดี ข้อสังเกต
ถ้าท่านทิ้งแบตเตอรี่ไว้ในรถจักรยานยนต์ฮอนด้า การลากจูงรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. อาจท�ำให้
A.T. ไม่ได้ถอดออก ให้ปลดขั้วลบ - ออกเพื่อป้อง เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อระบบส่งก�ำลังได้
กันไม่ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟออกจนหมด
110
ท่านและสิ่งแวดล้อม
ท่านและสิ่งแวดล้อม ขยะรีไซเคิล
การที่ได้เป็นเจ้าของและขับขี่รถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. บรรจุน�้ำมันและขยะมีพิษอื่นๆ ลงในภาชนะบรรจุที่
เป็นเรื่องที่สามารถให้ความสนุกและความเพลิดเพลิน เหมาะสมแล้วส่งไปยังศูนย์รีไซเคิล กรุณาโทรศัพท์ติด
แก่ท่านได้ แต่ท่านก็ต้องรับผิดชอบในส่วนของท่านใน ต่อส�ำนักงานท้องถิ่นหรือส�ำนักงานของรัฐที่ท�ำงานเกี่ยว
การรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน กับงานบริการสาธารณะและการบริการด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อสอบถามถึงที่ตั้งของศูนย์รีไซเคิลในพื้นที่ที่ท่านอาศัย
การเลือกใช้น�้ำยาท�ำความสะอาด อยู่และเพื่อขอค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับวิธีการก�ำจัดของเสีย

ข้อมูลที่ควรทราบ
ใช้ผงซักฟอกที่ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อท่าน ที่ไม่สามารถน�ำมารีไซเคิลได้ อย่าทิ้งน�้ำมันเครื่องที่ใช้
จะล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของ แล้วลงในถังขยะ หรือทิ้งลงท่อระบายน�้ำ หรือเทราดลง
ท่าน หลีกเลี่ยงการใช้น�้ำยาท�ำความสะอาดชนิดสเปรย์ บนพื้นดิน น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำหล่อเย็น และ
ที่ประกอบไปด้วยสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ตัวท�ำละลายที่ใช้ในการท�ำความสะอาดต่างๆ ที่ใช้แล้ว
ซึ่งสามารถที่จะท�ำให้เกิดความเสียหายกับชั้นโอโซนที่ ประกอบไปด้วยสิ่งที่เป็นอันตรายหรือมีพิษ ซึ่งสามารถ
ปกป้องบรรยากาศรอบโลกได้ ท�ำอันตรายแก่พนักงานเก็บขยะและปนเปื้อนในน�้ำดื่ม
ทะเลสาบ แม่น�้ำ และมหาสมุทรได้

111
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ

หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ
หมายเลขตัวถัง
หมายเลขตัวถังและหมายเลขเครื่องยนต์เป็นหมายเลข
เฉพาะตัวของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า A.T. ของท่าน
และเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับการจดทะเบียนรถ นอกจากนี้
หมายเลขดังกล่าวอาจจำ�เป็นต้องใช้เมื่อท่านจะสั่งชิ้น
ส่วนสำ�หรับการเปลี่ยน
หมายเลขตัวถังประทับอยู่ที่ส่วนหลังของโครงตัวถังภาย
ข้อมูลที่ควรทราบ

ในช่องเก็บของอเนกประสงค์
หมายเลขเครื่องยนต์ประทับอยู่ที่ด้านซ้ายของเรือน
เครื่องยนต์
ท่านควรจะจดบันทึกหมายเลขเหล่านี้ไว้และเก็บรักษา
ไว้ในที่ที่ปลอดภัย

หมายเลขเครื่องยนต์

112
ข้อมูลทางเทคนิค
ส่วนประกอบหลัก ปริมาตรกระบอกสูบ 149.32 ซม.3 (9.109 cu-in)
รุ่น KF20 57.300 x 57.907 มม.
กระบอกสูบและระยะชัก
ความยาว 1,931 มม. (76.0 นิ้ว) (2.256 x 2.280 นิ้ว)
ความกว้าง 737 มม. (29.0 นิ้ว) อัตราส่วนการอัด 10.6 : 1
ความสูง 1,103 มม. (43.4 นิ้ว) น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วที่แนะน�ำ :
ระยะห่างช่วงล้อ 1,315 มม. (51.8 นิ้ว) น�้ำมันเชื้อเพลิง
ค่าออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ระยะห่างจากพื้น 138 มม. (5.4 นิ้ว) ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง 8.0 ลิตร
มุมแคสเตอร์ 27º 00´ YTZ6V
ระยะเทรล 86 มม. (3.4 นิ้ว) แบตเตอรี่
12V-5.0 Ah (10 HR)

ข้อมูลทางเทคนิค
น�้ำหนักสุทธิ 132 กก. (291 ปอนด์) ระบบส่งก�ำลังแบบ V-Matic
ความสามารถในการ อัตราทดขั้นต้น
132 กก. (291 ปอนด์) (2.4:1 - 0.80:1)
*1
รับน�้ำหนักสูงสุด อัตราทดขั้นสุดท้าย 10.751
น�้ำหนักสัมภาระ ช่องเก็บของอเนกประสงค์ 10 กก. (22 ปอนด์)
สูงสุดที่รับได้ ช่องเก็บของส่วนหน้า 1.0 กก. (2.2 ปอนด์)
ความสามารถใน
การบรรทุก ผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย 1 คน
รัศมีวงเลี้ยวแคบสุด 1.98 ม. (6.50 ฟุต)
*1 ประกอบด้วยน�้ำหนักของผู้ขับขี่ ผู้ซ้อนท้าย สัมภาระทั้งหมด และอุปกรณ์
เพิ่มเติมทั้งหมด
113
ข้อมูลทางเทคนิค
ข้อมูลบริการ น�้ำมันเครื่อง 4-AT ฮอนด้า
หน้า 90/90-14M/C 46P มาตรฐานเอพีไอ (API) : SG หรือสูงกว่า
ขนาดของยาง หลัง 100/90-14M/C 57P ไม่รวมถึงน�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอัน
น�้ำมันเครื่อง
ชนิดของยาง ยางธรรมดา ชนิดไม่มียางใน ที่แนะน�ำ ได้แก่ “Energy Conserving” หรือ “Resource
หน้า SS-560F (IRC)/TT900F (DUN) Conserving” ปรากฏอยู่ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน
ยางที่แนะน�ำ ความหนืด : SAE 10W-30
หลัง SS-560R D (IRC)/TT900A (DUN)
แรงดันลมยาง หน้า
2 2
200 กิโลปาสคาล (2.00 กก./ซม. , 29 ปอนด์/นิ้ว ) มาตรฐาน JASO T903 : MB
[ขับขี่คนเดียว] หลัง
2 2
225 กิโลปาสคาล (2.25 กก./ซม. , 33 ปอนด์/นิ้ว )
หลังถ่ายน�้ำมันเครื่อง 0.8 ลิตร
แรงดันลมยาง หลังถ่ายน�้ำมันเครื่องและ
หน้า
2 2
200 กิโลปาสคาล (2.00 กก./ซม. , 29 ปอนด์/นิ้ว ) ความจุ
ท�ำความสะอาดตะแกรง 0.9 ลิตร
[มีผู้ซ้อนท้าย 1 คน] หลัง
2 2
250 กิโลปาสคาล (2.50 กก./ซม. , 36 ปอนด์/นิ้ว ) น�้ำมันเครื่อง
กรองน�้ำมันเครื่อง
ข้อมูลทางเทคนิค

ความสึกของ หน้า 1.5 มม. (0.06 นิ้ว)


หลังผ่าเครื่อง 0.9 ลิตร
ดอกยางต�่ำสุด หลัง 2.0 มม. (0.08 นิ้ว)
ความจุ หลังถ่ายน�้ำมันเฟืองท้าย 0.12 ลิตร
หัวเทียน (มาตรฐาน) CPR7EA-9 (NGK) น�้ำมันเฟืองท้าย หลังผ่าเครื่อง 0.14 ลิตร
ระยะห่างเขี้ยว น�้ำมันเบรก
0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 นิ้ว) น�้ำมันเบรกฮอนด้า DOT 3 หรือ DOT 4
หัวเทียน ที่แนะน�ำ
รอบเดินเบา 1,700 ± 100 รอบต่อนาที ความจุน�้ำหล่อเย็น
0.48 ลิตร
ทั้งระบบ
น�้ำหล่อเย็น
น�้ำหล่อเย็นแบบผสมแล้วของฮอนด้า
ที่แนะน�ำ

114
ข้อมูลทางเทคนิค

หลอดไฟต่างๆ อัตราการขันแน่น
ไฟหน้า LED โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง 24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเบรก/ไฟท้าย LED ฝาปิดตะแกรงกรอง
น�้ำมันเครื่อง 20 นิวตัน-เมตร (2.0 กก.-ม., 15 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเลี้ยวหน้า LED
ไฟเลี้ยวหลัง LED
ไฟส่องป้ายทะเบียน LED
ไฟหรี่ LED

ฟิวส์

ข้อมูลทางเทคนิค
ฟิวส์หลัก 25 A
ฟิวส์อื่นๆ 10 A, 5 A

115
170214
PRINTED IN THAILAND

You might also like