You are on page 1of 2

แบบฝึกหัดครั้งที่ 1

n2 (n + 1)2
1. จงแสดงว่า 3 3 3
1 + 2 + 3 + ... + n =
4
3
สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก n

2. จงแสดงว่า 1 1· 2 + 2 1· 3 + 3 1· 4 + ... + n(n1+ 1) = n +


n
1
สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก n
{ }
n3 − 1
3. จงแสดงว่าลำดับ 2n
เป็นลำดับลู่เข้าหรือลู่ออก กรณีที่เป็นลำดับลู่เข้าให้หาลิมิตของลำดับด้วย
{ }
n
4. จงแสดงว่าลำดับ 2n + 1
เป็นลำดับทางเดียวหรือไม่ ถ้าเป็นจงระบุว่าเป็นลำดับทางเดียวชนิดใด
{ n}
e
5. จงแสดงว่าลำดับ 4n
เป็นลำดับทางเดียวหรือไม่ ถ้าเป็นจงระบุว่าเป็นลำดับทางเดียวชนิดใด

6. อนุกรมที่กำหนดต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก กรณีเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของอนุกรมด้วย


(√ )


n4 +1
n=1
3n2 +1

7. อนุกรมที่กำหนดต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก กรณีเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของอนุกรมด้วย


∑∞ ( )
1 (−1)n
n
+
n=0
2 5n

∞ (
∑ )
1
8. จงทดสอบว่าอนุกรม √ เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก โดยวิธีอินทิกรัล (Integral Test)
n=1
n+5



1
9. จงทดสอบว่าอนุกรม √
3
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก โดยวิธีเปรียบเทียบ (The Comparison Test)
n=1
n +1



10. จงทดสอบว่าอนุกรม 1 +1√n เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก โดยวิธีเปรียบเทียบลิมิต (The Limit Compari-
n=1
son Test)


n!
11. จงทดสอบว่าอนุกรม (2n + 1)!
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1

∞ (
∑ )n
5n + 2
12. จงทดสอบว่าอนุกรม 3n − 1
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1



1
13. จงแสดงว่าอนุกรม (−1)n+1
n2
เป็นอนุกรมลุ่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1


∞ ( n )n
14. จงแสดงว่าอนุกรม (−1) n+1
10
เป็นอนุกรมลุ่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1

Page 1

∞ ( )
15. จงแสดงว่าอนุกรม (−1) n+1 tan−1 n เป็นอนุกรมลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ อนุกรมลู่เข้าแบบมีเงื่อนไข หรืออนุกรมลู่
n=1
n2 + 2
ออก

∞ (√ √ )
16. จงแสดงว่า อนุกรม (−1)n+1 n+1− n เป็น อนุกรมลู่ เข้า แบบสัมบูรณ์ อนุกรมลู่ เข้า แบบมี เงื่อนไข หรือ
n=1
อนุกรมลู่ออก
17. จงหารัศมีของการลู่เข้า และช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมที่กำหนดให้


(−1)n n2 xn
n=1

18. จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ f (x) = e−6x รอบจุด x = −4 โดยกระจาย 4 พจน์แรกของอนุกรม


( )
1+x
19. จงหาอนุกรมแมคลอรินสำหรับ f (x) = ln 1−x
2 3 n n+1 ∑ (−1)n xn+1 ∞
เมื่อกำหนดให้ ln |1 + x| = x − x2 + x3 − . . . + (−1)
n+1
x
+ ... =
n+1
, −1 < x ≤ 1
n=0

20. จงหาอนุกรมกำลังของ f (x) = (1 + 3x)−6 โดยใช้สูตรอนุกรมทวินามกระจาย 4 พจน์แรก

Page 2

You might also like