You are on page 1of 17

 อนุกรมสลับ

บทนิ ยาม 6.9 อนุกรมสลับ คือ อนุ กรมซึงมีพจน์บวกและลบสลับกันพจน์ต่อพจน์ นันคือ เป็ น


อนุ กรมทีอยูใ่ นรูป

 (1)n 1 bn  b1  b2  b3  b4   (6.3)
n 1

หรือ  (1)n bn   b1  b2  b3   (6.4)
n 1

โดยที bn  0 ทุกค่า n

ตัวอย่าง 6.20 อนุ กรมต่อไปนีเป็ นอนุ กรมสลับ



1  1  1  1  1  1    (1)n 1     (1)n 1
n 1

1 1 1 1 1 1
1        (1)n   
2 3 4 5 n
 (1)n
n
n 1

ซึงมีวธิ กี ารทดสอบว่าลู่เข้า ดังทฤษฎีบทต่อไปนี #

ทฤษฎีบท 6.14 (การทดสอบอนุกรมสลับ)


 
อนุ กรมสลับทีอยูใ่ นรูป  (1) n 1
bn หรือ  (1)n bn โดยที bn  0 ทุก
n 1 n 1

ค่า n ลู่เข้า ก็ต่อเมือสอดคล้องกับเงือนไขทังสองข้อต่อไปนี


1. lim bn  0
n 

และ 2. bn  bn 1 ทุกค่า n 1


หมายเหตุ 1. ถ้า lim bn  0
n 
แล้ว lim (1)
n 
n 1
bn  0 ดังนัน  (1)n 1 bn เป็ น
n 1

อนุ กรมลู่ออก

2. ถ้าข้อ 2. ของทฤษฎีบท 6.14 ไม่จริง สรุปไม่ได้ว่า  (1)n 1 bn เป็ นอนุกรม
n 1

ลู่เข้าหรือลู่ออก
ตัวอย่าง 6.11 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนี

(1)n 1
1.  n4n
n 1

n 1
5.  n(n  2)
cos(n)
n 2

วิ ธีทาํ
การลู่เข้าแบบมีเงือนไขและการลู่เข้าแบบสัมบูรณ์
พิจารณาอนุ กรมใดๆ ซึงมักพบว่าบางอนุกรม  a n เป็ นอนุกรมลู่เข้า แต่เมือพิจารณา

 | an | อาจจะเป็ นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออกก็ได้ ดังบทนิยามต่อไปนี
n 1

  
บทนิ ยาม 6.10  an ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ ถ้า  | an | และ  an เป็ นอนุ กรมลู่เข้า
n 1 n 1 n 1
 
และ  an ลู่เข้าแบบมีเงือนไข ถ้า  | an | เป็ นอนุ กรมลู่ออก
n 1 n 1

แต่  an เป็ นอนุ กรมลู่เข้า
n 1

 
ตัวอย่าง 6.12 พิจารณาอนุ กรม  (1)n 1 และ  (1)n 1
n n 1 n 1 n2
 
1 1
ซึงเป็ นอนุกรมสลับทีลู่เข้า แต่อนุ กรม  (1)n   ลู่ออก
n 1 n n 1 n
 
1 1
ส่วนอนุกรม  (1)n 2
  ลู่เข้า
n 1 n n 1 n2

ดังนันได้ว่า  (1)n 1 ลู่เข้าแบบมีเงือนไข
n 1 n

1
และ  (1)n n2 ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ #
n 1


ทฤษฎีบท 6.15 ให้  an เป็ นอนุกรมใดๆ
n 1
 
ถ้าอนุ กรม  an ลู่เข้า แล้วอนุ กรม  an ลู่เข้าด้วย
n 1 n 1

บทแทรก 6.16 ให้  an เป็ นอนุกรมใดๆ
n 1
 
ถ้าอนุ กรม  an ลู่ออก แล้วอนุ กรม  an ลู่ออกด้วย
n 1 n 1

ข้อสังเกต ถ้าอนุ กรม  a n เป็ นอนุกรมบวกทีลู่เข้าแล้ว อนุกรม  a n ลู่เข้า


แบบสัมบูรณ์

ตัวอย่าง 6.13 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนีว่าลู่เข้าหรือลู่ออก ถ้าลู่เข้าจะลู่เข้าแบบมีเงือนไข


หรือลู่เข้าแบบสัมบูรณ์
 
n2 sin 2n n
1.  3 n
2.  (1)n 2
n 2
n 1 n 1

วิ ธีทาํ
จากตัวอย่างข้างต้นจะสังเกตว่าขันตอนการตรวจสอบการลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์และการลู่เข้าอย่างมี
เงือนไข ต้องทําการทดสอบโดยผ่านอนุ กรมบวกก่อน ซึงรูปแบบพจน์ทวไปบางอนุ
ั กรมค่อนข้างยุง่ ยากมาก
ขึน ทฤษฎีบทต่อไปนีจะลดขันตอนการทดสอบอนุ กรมใดๆได้ดงั นี

a n 1
ทฤษฎีบท 6.17 ให้อนุ กรม  a n เป็ นอนุกรมใด ๆ ซึง an  0 และ lim  หรือ
n  an
a n 1
lim  เมือ    จะได้ว่า
n  an
1. ถ้า  1 แล้วอนุ กรม  a n ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์
a n 1
2. ถ้า 1 หรือ lim  แล้วอนุ กรม  a n ลู่ออก
n  an
3. ถ้า 1 แล้วสรุปผลไม่ได้เกียวกับอนุ กรม  a n

ในการทดสอบนีอาจใช้วธิ กี ารถอดกรณฑ์ เหมือนกับทฤษฎีบท 6.9 โดยพิจารณาจาก


lim n|a |
n
แทนก็ได้
n 

ตัวอย่าง 6.14 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนีว่าลู่เข้าหรือลู่ออก ถ้าลู่เข้าจะลู่เข้าแบบมีเงือนไขหรือลู่เข้าแบบ


สัมบูรณ์
 
2n (n !)2
1.  (1)n
n3
2.  (1)n 1
(2n)!
n 1 n 1

วิ ธีทาํ
 อนุกรมกําลัง
หัวข้อนีจะศึกษาฟั งก์ชนั ค่าจริง ทีสามารถเขียนแทนได้ดว้ ยอนุ กรมทีมีพจน์เป็ นตัวแปรอิสระ ซึง
เรียกว่าอนุ กรมกําลัง ดังนิยามต่อไปนี

บทนิ ยาม 6.11 อนุกรมกําลังใน x หมายถึง อนุกรมทีอยูใ่ นรูป



 cn x n  co  c1x  c2 x2    cn x n   (6.5)
n0

โดยที cn   เมือ n = 0, 1, 2,… และเรียก cn ว่า สัมประสิ ทธิ ของอนุกรมกําลัง


อนุ กรมกําลังใน x – a หมายถึง อนุ กรมทีอยูใ่ นรูป

 cn (x  a)n  co  c1(x  a)  c2 (x  a)2    cn (x  a)n   (6.6)
n0

โดยที a, cn   เมือ n = 0, 1, 2, …เรียก cn ว่า สัมประสิทธิของอนุ กรมกําลัง และเรียก a ว่า


ศูนย์กลางของอนุกรมกําลัง

ตัวอย่าง 6.15 ตัวอย่างของอนุ กรมกําลัง



(x  3)n
1.  (n  1)!
, cn  ....................... , a  .................
n0

(1)n x n
2.  (n2  1)2n
, cn  ....................... , a  .................
n0

3.  xn , cn  ....................... , a  ................. #
n 0

สังเกตได้ว่าอนุ กรมจะลู่เข้ากรือลู่ออกขึนกับค่าของ x ก่อนอืนเจะทําการพิจารณาอนุ กรมกําลังทีมี


รูปแบบดังนี

 x n  1  x  x2  x 3    x n  
n0

โดยการแทนค่าตัวแปร x
  
ถ้า x 1 จะได้  xn   1n   1 ซึงเป็ นอนุ กรมทีลู่ออก
n0 n 0 n 0
 
ถ้า x  1 จะได้  xn   (1)n ซึงเป็ นอนุ กรมทีลู่ออก
n0 n 0

1    1 n
ถ้า x จะได้  x n
   
 2  ซึงเป็ นอนุ กรมทีลู่เข้า
2 n0 n0

ทํานองเดียวกัน เมือแทนค่า x ด้วยจํานวนจริงค่าต่าง ๆ กัน จะได้ว่าอนุ กรม



 xn ลู่เข้า ก็ต่อเมือ |x|1 ทุกค่า x
n 0

เรียก เซตของค่า x ทีทําให้อนุ กรมลู่เข้าว่า ช่วงของการลู่เข้า (Interval of convergence) เช่น ช่วง



ของการลู่เข้าของ  xn คือ (-1 , 1) และเรียก 1 ว่า รัศมีของการลู่เข้า (Radius of convergence)
n 0

เขียนแทนด้วย R  1
จะสังเกตได้ว่า พจน์ทวไปของอนุ
ั กรมกําลังอยูใ่ นรูปแบบยกกําลัง n โดยอาศัยทฤษฎีบท 6.17 เพือ
หาช่วงของการลู่เข้าของอนุ กรม ดังตัวอย่างต่อไปนี

 cn (x - a)n
วิ ธีหาค่า R ของอนุกรมกําลัง n=0


พิจารณาอนุ กรมกําลัง  cn (x  a)n ในทีนี a n  cn (x  a)n และ
n0
n 1
a n 1  cn 1(x  a) จะใช้ทฤษฎีบท 6.17
a n 1 cn 1(x  a)n 1 cn 1
lim  lim  lim (x  a)
n  an n  cn (x  a) n n  cn
cn 1 cn 1
 lim | xa |  | x  a | lim  
n  cn n  cn
ดังนันโดยทฤษฎีบท 6.17 ได้ว่า
 cn 1
1.  cn (x  a)n ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ ถ้า | x  a | lim
n  cn
 1
n0

1 cn
หรือ |xa |   lim
cn 1 n  cn 1
lim
n  cn
cn
รัศมีการลู่เข้าคือ R  lim
n  cn 1
นันคือ | x  a |  R หรือ aR  x a R
พิจารณาในทํานองเดียวกัน ได้ว่า

2.  cn (x  a)n ลู่ออก ถ้า |xa | R
n0

3.  cn (x  a)n สรุปไม่ได้
n0

ถ้า |xa |  R หรือ x aR และ x  aR

หมายเหตุ ที x  a  R และ x  aR ซึงเป็ นจุดปลายช่วง ต้องแยกมาทดสอบว่าทําให้


อนุ กรมลู่เข้าหรือลู่ออก
 cn
ทฤษฎีบท 6.18 อนุ กรมกําลัง  cn (x  a)n ทีมีรศั มีของการลู่เข้า R  lim
n0
n  cn 1
แล้วช่วงของการลู่เข้าและรัศมีของการลู่เข้าเป็ นข้อใดข้อหนึงใน 3 กรณีดงั ต่อไปนี
1. R  0 และ ช่วงของการลู่เข้าคือ {a}
2. R   และ ช่วงของการลู่เข้าคือ (, )  
3. ถ้า R เป็ นรัศมีของการลู่เข้าทีเป็ นจํานวนจริงบวก แล้วช่วงของการลู่เข้าคือ
(a  R, a  R) หรือ [a  R, a  R) หรือ (a  R, a  R] หรือ [a  R, a  R]

ตัวอย่าง 6.16 จงหารัศมีของการลู่เข้าและช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมกําลังต่อไปนี



(1)n
1.  n3 n
(x  2)n
n 1

(3x  5)n
2.  4n2
n 1

วิ ธีทาํ
อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคคลอริน
บทนิ ยาม 6.12 ถ้า f(x) มีอนุ พนั ธ์ทุกอันดับที x=a แล้ว อนุกรมเทย์เลอร์ สําหรับ f รอบ
x = a คือ อนุ กรมกําลังทีอยูใ่ นรูป

f (n)(a) f (a) f (a) f (n)(a)
 n!
(x  a)n  f(a) 
1!
(x  a) 
2!
(x  a)2  ... 
n!
(x  a)n  ...
n0

dn y
เมือ f (n)(a)  n xa
ทุกค่า n = 1, 2, 3, … และ f (0)(a)  f(a)
dx

ถ้า a=0 แล้วอนุ กรมเทย์เลอร์สําหรับ f อยูใ่ นรูป



f (n)(0) n f (0) 2 f (n)(0) n
 n!
x  f(0)  f (0)x 
2!
x  ... 
n!
x  ...
n0

เรียกว่า อนุกรมแมคคลอริ น สําหรับ f

1
ตัวอย่าง 6.17 จงกระจาย f(x)  เป็ นอนุกรมแมคคลอรินและหาช่วงของการลู่เข้า
1 x

วิ ธีทาํ
ตัวอย่าง 6.18 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ของ ln x รอบจุด a=3 พร้อมทังหาช่วงของการลู่เข้า
วิ ธีทาํ
ตัวอย่างข้อสอบเก่า
จงทดสอบอนุกรมตอไปนี้วาลูเขาแบบมีเงื่อนไข ลูเขาแบบสัมบูรณ หรือลูออก
n
  n 2 
1.   2 
n 1  4n  n  1 

  n  n 1 
2.  (1)n 1  n

n 1  
จงหารัศมีการลูเขา และ ชวงของการลูเขาของอนุกรมกําลัง

n (5  4x) n+1
3. 
n 1 7 n (2n  1) 2

 n  2  2x 
2 n
4.
n 0

You might also like