You are on page 1of 7

1

“อุตสาหกรรมยาสู บ” รายได้ สาคัญต่ อระบบเศรษฐกิจไทยที่กาลังถดถอย

นางสาววิภาวดี จาปี 63020174


บทนา
อุ ต สาหกรรมยาสู บ เป็ นอุ ต สาหกรรมใหญ่ ป ระเภทหนึ่ ง ที่ ทารายได้ห ลัก ให้แ ก่ ป ระเทศตลอด
ระยะเวลาแรกเริ่ มการเกิดขึ้นของอุตสาหกรรมยาสู บในประเทศไทยจนถึงปั จจุบนั อุตสาหกรรมยาสู บยังคง
สร้างรายได้ให้กบั ประเทศไทย ถึงขั้นเป็ นสิ นค้าส่ งออกสาคัญในช่วงที่เศรษฐกิจไทยอยูภ่ ายใต้สนธิ สัญญา
เบาว์ริ่งโดยมีการส่ งออกไปจาหน่ายที่เซี่ ยงไฮ้ ฮ่องกง สิ งคโปร์ และซัวเถา ภาพการเกิดขึ้นของอุตสากรรม
ยาสู บมีความคึกครื้ นอย่างมาก รวมถึงภาพปล่องปล่อยควันที่ลอยสู่ ช้ นั ยรรยากาศยังสร้างให้เกิดความรู ้สึกถึง
การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในสยาม ต่อมาในปี พ.ศ. 2469 สยามได้รับอธิ ปไตยทางการคลังที่ ก่อน
หน้านี้ ถูกกาหนดโดยสนธิ สัญญาเบาว์ริ่ง ทาให้รัฐสามารถเก็บภาษียาสู บในอัตราที่สูงสุ ดถึงร้อยละ 60และ
เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ผลจากการสร้างรายได้มหาศาลทาให้กิจการยาสู บจากภาคเอกชนถูกรวบรวมและถูกผูกขาด
ให้อยูใ่ นมือของภาครัฐมาตั้งแต่ พ.ศ. 2481 แม้ภาพรวมของรายได้จากการจาหน่ายยาสู บในอดีตจะมีอตั ราที่
สู ง มากแต่ ใ นปั จ จุ บ ัน กลายเป็ นว่า มี แ นวโน้ม ลดลงจากการเกิ ด ขึ้ น ของปั จ จัย หลายด้า น เช่ น การปรั บ
โครงสร้างภาษียาสู บแบบใหม่ การนาเข้าและความนิยมในบุหรี่ ต่างประเทศที่เพิ่มมากขึ้น และความนิยมใน
การใส่ ใจสุ ขภาพ เป็ นต้น
ในบทความนี้ เป็ นการกล่าวถึงการพัฒนาขึ้นของอุตสาหกรรมยาสู บในสยามจนกระทัง่ ถึงปั จจุบนั
ทั้งวิเคราะห์ถึงภาพรวมของรายได้ที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรมยาสู บ และวิเคราะห์ถึงสาเหตุรวมถึงผลกระทบ
ที่มีผลต่อการลดลงของรายได้จากอุตสาหกรรมยาสู บ
พัฒนาการของอุตสาหกรรมยาสู บ
ประเทศไทยมีการผลิตยาสู บครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั หรื อรัชกาล
ที่ 5 โดยมีลกั ษณะเป็ นยาสู บมวนด้วยมือ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั หรื อรัชกาลที่
6 ได้นาเครื่ องจักรเข้ามาจากต่างประเทศ ด้วยเทคโนโลยีที่ทนั สมัยผนวกกับมีวตั ถุดิบที่มากพอต่อการผลิต
เพื่อส่ งออก ด้ว ยผลจากสงครามโลกครั้ งที่ 1 ทาให้ตอ้ งปิ ดกิ จ การลงเนื่ องจากวัตถุ ดิ บขาดแคลนและ
เครื่ องจักรอยูใ่ นสภาพที่เสื่ อมโทรมภายหลังสงครามสิ้ นสุ ด มีการนาเข้าบุหรี่ จากต่างประเทศเป็ นจานวนมาก
ต่อมาในช่วง พ.ศ. 2469 รัฐบาลจัดเก็บภาษียาสู บเพิ่มขึ้นโดยกาหนดภาษีใบยาสู บในอัตราที่ต่ากว่าภาษีบุหรี่
ส่ งผลให้เกิดขึ้นของโรงงานยาสู บหลายแห่งและสัง่ ซื้อใบยาสู บจากประเทศจีนและสหรัฐอเมริ กา
2

ในปี พ.ศ. 2473 บริ ษทั British American Tobacco Company (BAT) เป็ นบริ ษทั ที่ดาเนินการเกี่ยวข้อง
กับกิ จการยาสู บรายใหญ่ในสยาม ได้ก่อตั้งขึ้นโดยในช่ วงแรกเป็ นดาเนิ นการนาเข้าบุหรี่ จากต่างประเทศ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 จึงได้ดาเนิ นการผลิตและนาใบยาสู บสายพันธุ์เวอร์ จิเนียเข้ามาปลูกในประเทศไทยจน
ประสบความสาเร็ จเป็ นครั้งแรกที่จงั หวัดเชียงรายก่อนภายหลังในปี พ.ศ. 2484 จะถูกรัฐเข้าซื้อกิจการภายใต้
นโยบายที่ จ ะรวมอุ ต สาหกรรมยาสู บ เข้า เป็ นของรั ฐ โดยก่ อ นหน้า นี้ ในปี พ.ศ. 2481 มี ก ารประกาศใช้
พระราชบั ญ ญั ติ ย าสู บฉบั บ แรกและด าเนิ น การจั ด ตั้ งรั ฐ วิ ส าหกิ จ ภายใต้ สั ง กั ด กรมสรรพสามิ ต
กระทรวงการคลัง ให้มีหน้าที่ดูแลกิจการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ยาสู บ ส่ งผลให้กิจการโรงงานยาสู บทุก
แห่ งถูกรวมเข้าด้วยกันและดาเนิ นการภายใต้ชื่อว่า โรงงานยาสู บ กระทรวงการคลัง (Thailand Tobacco
Monopoly) กิจการยาสู บกลายเป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่สร้างรายได้มหาศาลให้กบั รัฐและผลผลิตถูกใช้
เพื่อการบริ โภคภายในประเทศและทดแทนการนาเข้า ซึ่ งการผลิตและนาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสู บทุกชนิ ดจาก
ต่ า งประเทศอยู่ภ ายใต้ก ารด าเนิ น งานของโรงงานยาสู บ กระทรวงการคลัง แต่ เ พี ย งผูเ้ ดี ย วภายใต้ก าร
ประกาศใช้พระราชบัญญัติยาสู บฉบับ 2486 ที่กาหนดให้อุตสาหกรรมยาสู บเป็ นกิจการที่ผกู ขาดโดยรัฐ แม้
จะมีการโอนย้ายสังกัดของโรงงานยาสู บไปสังกัดกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม สังกัด
กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลังบ้าง อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2497 โรงงานอุตสาหกรรมยาสู บจึงเปลี่ยนมา
เป็ นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลังโดยตรง และต่อมาในวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 เว็บไซต์ราช
กิจจานุเบกษาเผยแพร่ “พระราชบัญญัติการยาสู บแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2561” ให้โรงงานยาสู บเป็ นองค์กร
นิ ติ บุ ค คลภายใต้ก ารก ากับ ดู แ ลของกระทรวงการคลัง ใช้ชื่ อ ว่า “การยาสู บ แห่ ง ประเทศไทย Tobacco
Authority of Thailand” มีผลบังคับใช้วนั ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 เป็ นต้นมา ปั จจุบนั สานักงานใหญ่การ
ยาสู บแห่ งประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตคลองเตย และมี โรงงานผลิ ตยาสู บ ทั้งในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
ขอนแก่น นครพนม หนองคาย ในภาคเหนื อ เพชรบูรณ์ สุ โขทัย ลาปาง แพร่ เชียงใหม่ และเชียงราย และ
ภาคกลาง พระนครศรี อยุธยา
รายได้ หลักของรัฐบาลสยามจากอุตสาหกรรมยาสู บ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2469 สยามได้รับอธิ ปไตยทางการคลังกลับคืนบางส่ วนหลังจากที่ตกอยู่ภายใต้การ
ควบคุมของสนธิ สัญญาเบาว์ริ่ง รัฐบาลจึงได้กาหนดจัดเก็บภาษีสินค้าขาเข้าใหม่โดยบุหรี่ ถูกเก็บภาษีใน
อัตราร้อยละ 25 และร้อยละ 5 สาหรับใบยาสู บ ต่อมาในปี 2474 รัฐบาลได้จดั ตั้งกรมสรรพสามิตขึ้นเพื่อ
ควบคุมการจัดเก็บภาษีสินค้าบางชนิ ด โดยเฉพาะสิ นค้าอบายมุข ได้แก่ ฝิ่ น สุ รา และยาสู บ ต่อมารัฐได้เก็บ
ภาษีเพิ่มขึ้นสู งถึงอัตราร้อยละ 60 ส่ งผลให้เกิดกิจการเพาะปลูกใบยาสู บแพร่ หลายในประเทศไทย
3

รายได้ที่รัฐบาลได้รับจากผลิตภัณฑ์ยาสู บมีดงั นี้


1. ภาษีสรรพสามิต จัดเก็บในอัตรา 68 ของราคาบุหรี่ หน้าโรงงาน
2. ภาษีศุลกากร จัดเก็บในอัตราร้อยละ 30 ของราคา CIF
3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเก็บในอัตราร้อยละ 7 ของราคาปลีก
4. ภาษีรายได้ จัดเก็บในอัตราร้อยละ 12.5 ของกาไรของผูค้ า้ ส่ ง และร้อยละ 10 ของกาไรผูค้ า้ ปลีก
นอกจากนี้รัฐบาลยังมีรายได้จากส่ วนแบ่งกาไรของโรงงานยาสู บอีกร้อยละ 80
ในช่ ว งแผนพัฒ นาเศษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 3 และ 4 โรงงานยาสู บ กระทรวงการคลัง เป็ น
รัฐวิสาหกิจที่ส่งรายได้เข้ารัฐมากที่สุดคือประมาณร้อยละ 30.8 และ 30.0 ของรายได้รัฐที่มาจากรัฐวิสาหกิจ
สาเหตุจากการลดลงของรายได้ จากอุตสาหกรรมยาสู บในปัจจุบัน
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาษีแบบใหม่ในปี 2560 โดยกรมสรรพสามิตได้เปลี่ยนโครงสร้างภาษี
บุหรี่ ใหม่จากที่เคยเป็ นภาษีอตั ราเดียวเปลี่ยนเป็ นเก็บภาษี 2 อัตรา โดยบุหรี่ ที่มีราคาขายปลีก ซองละไม่ถึง 60
บาท จะเก็บภาษี 20 เปอร์ เซ็น ในขณะที่บุหรี่ ที่มีราคาเกิน 60 บาทต้องโดนเก็บภาษีถึง 40 เปอร์ เซ็น หรื อสู ง
เป็ นสองเท่า ด้วยเหตุน้ ีส่งผลให้บริ ษทั ต่างชาติที่เคยตีตลาดบุหรี่ ระดับกลางถึงระดับบนเท่านั้น หันกลับมาลง
แข่งขันตีตลาดระดับล่างที่การยาสุ บแห่ งประเทสไทยเป็ นผูน้ าเพราะเห็นช่องโหว่ของการเก็บภาษี 2 อัตรา
ตัวอย่างของผลที่เกิดจากการเก็บภาษี 2 อัตราของกรมสรรพสามิต จากบุหรี่ ยี่ห้อแอล แอนด์ เอ็ม 7.1 ของ
บริ ษทั ฟิ ลลิป มอร์ ริส ก่อนเปลี่ยนการเก็บภาษี ราคาต่อซอง 72 บาท แต่หลังเปลี่ยนการเก็บภาษีแบบใหม่
ราคาต่อซองเหลือ 60 บาท ซึ่งแม้จะลดราคาขายลง 12 บาท แต่ก็ทาให้เสี ยภาษีลดลงด้วยที่ 16.8 บาท คิดเป็ น
สุ ทธิ แล้วจะได้กาไรเพิ่ม 4.8 บาท ด้วยเหตุผลนี้ ทาให้บุหรี่ ของต่างชาติหลายยี่ห้อเลือกที่จะปรับราคาลดลง
ให้ไม่ถึง 60 บาท เพื่อให้โดนเก็บภาษีในอัตราที่ต่ากว่า บุหรี่ ยี่ห้อไลน์และโกลด์ ของการยาสู บแห่ งประเทศ
ไทย ก่อนเปลี่ยนการเก็บภาษี ราคาต่อซองอยูป่ ระมาณ 40 บาท แต่ภายหลัง ราคาต่อซองถูกปรับตัวมาที่ 60
บาท แน่นอนว่าเมื่อเหตุการณ์เป็ นเช่นนี้ ทาให้กลุ่มลูกค้าเดิมบางส่ วนหันไปซื้อบุหรี่ ต่างชาติมากยิง่ ขึ้น เพราะ
ราคาไม่ต่างกันมากตรงกันข้ามกับบุหรี่ ต่างชาติ ที่นอกจากสามารถดึงดูดลูกค้าใหม่ได้แล้วยังสามารถรักษา
ฐานลูกค้ากลุ่มเดิมได้อีกด้วย จึงทาให้การยาสู บแห่ งประเทศไทยเริ่ มสู ญเสี ยส่ วนแบ่งตลาดไป โดยส่ วนแบ่ง
ตลาดปั จจุบนั ลดลงเหลือ 56 เปอร์เซ็น จากแต่เดิมที่เคยครองตลาดถึง 75 เปอร์เซ็น และนี่จึงเป็ นสาเหตุ ที่ทา
ให้กาไรลดลงอย่างมหาศาลนัน่ เอง
4

ตารางที่ 1 เปรี ยบเทียบรายได้และกาไรที่ได้จากอุตสากรรมยาสู บ ก่อนหน้าปี ที่มีการปรับโครงสร้าง


ภาษียาสู บแบบใหม่ ปี พุทธศักราช 2557 - 2560
ปี พุทธศักราช รายได้ / ล้านบาท กาไร / ล้านบาท
2557 61,272 6,275
2558 61,401 7,105
2559 64,787 8,861
2560 68,175 9,343

ตารางที่ 2 เปรี ยบเทียบรายได้และกาไรที่ได้จากอุตสากรรมยาสู บ ภายหลังปี ที่มีการปรับโครงสร้าง


ภาษียาสู บแบบใหม่ ปี พุทธศักราช 2560 - 2563
ปี พุทธศักราช รายได้ / ล้านบาท กาไร / ล้านบาท
2560 68,175 9,343
2561 51,566 843
2562 50,292 513
2563 45,462 550

จากตารางที่ 1 และ 2 แสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่ชดั เจนอย่างยิ่งของการลดลงของรายได้จากอุตสากรรม


ยาสู บในประเทศซึ่งมีสาเหตุมาจาการปรับโครงสร้างภาษียาสู บให้เป็ นในรู ปแบบการเก็บภาษี 2 อัตรา ตั้งแต่
ปี 2560
กระทรวงการคลังได้เสนอคณะรั ฐมนตรี ให้อนุ มตั ิการปรั บโครงสร้ างภาษียาสู บล่าสุ ดเมื่อเดื อน
ตุลาคม พ.ศ. 2564 โดยใช้ 4 ปั จจัยเป็ นกรอบพิจารณา ได้แก่ 1) บุหรี่ หนี ภาษี 2) อุตสาหกรรมยาสู บและ
ชาวไร่ ยาสู บ 3) สุ ขภาพประชาชน และ 4) รายได้รัฐ และผลที่ออกมาคือ การคงการใช้โครงสร้างภาษีมูลค่า
แบบ 2 อัตราที่ใช้มาตั้งแต่ปี 2560 ไว้ แต่ปรับขึ้นภาษียาสู บในอัตราที่ค่อนข้างสู ง เมื่อเทียบกับกาลังซื้อที่อ่อน
ตัวลงจากการแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 โดยเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 กรมสรรพสามิต มีการบังคับ
ใช้นโยบายกาหนดอัตราภาษีบุหรี่ ใหม่ ดังต่อไปนี้
1. จัดเก็บภาษีตามปริ มาณใหม่ จากเดิม 1.20 บาทต่อมวน เป็ น 1.25 บาทต่อมวน ต้นทุนภาษีส่วนนี้ ต่อซอง
24 บาท เพิม่ เป็ น 25 บาท
5

2. จัดเก็บภาษีตามมูลค่าใหม่ แต่เป็ นรู ปแบบ 2 อัตราเช่นเดิม คือ ราคาขายปลีก ไม่เกิน 72 บาทต่อซอง เสี ย
ภาษี 25เปอร์เซ็น และราคาขายปลีก เกิน 72 บาทต่อซอง เสี ยภาษี 42 เปอร์เซ็น
นอกจากนี้ ยงั สามารถวิเคราะห์ถึงผลกระทบที่เกิ ดขึ้นหลังจากปรั บโครงสร้ างภาษียาสู บล่าสุ ดเมื่ อเดื อน
ตุลาคม พ.ศ. 2564 ดังนี้
1. ภาระภาษีของบุหรี่ ส่วนใหญ่ในตลาดเพิ่มขึ้นซองละ 8-9 บาท (คานวณโดยสมมติให้ภาระภาษีต่อ
ราคาขายคงที่ก่อนและหลังปรับภาษี) ต่างจากที่กรมสรรพสามิตคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นซองละ 3-7
บาท ทาให้ราคาบุหรี่ ขายดีที่สุดของ ยสท. ปรับขึ้นร้อยละ 10 จากเดิมซองละ 60 บาท เป็ นซองละ 66
บาท ในขณะที่บุหรี่ คู่แข่งของการยาสู บแห่ งประเทศไทยส่ วนใหญ่ปรับราคาเพิ่มขึ้นร้อยละ 17-20
จากเดิมซองละ 60 บาท เป็ นซองละ 70-72 บาท
2. ราคาบุหรี่ ส่วนใหญ่ในตลาดที่ปรับขึ้นกว่าร้อยละ 10-20 ในขณะที่เศรษฐกิจไทยขยายตัวเพียงร้อย
ละ 1 ในช่วงปี 2560-2564 ทาให้ยอดขายบุหรี่ ผิดกฎหมายเพิ่มขึ้นค่อนข้างสู งจากร้อยละ 6 เป็ นร้อย
ละ 10 ของปริ มาณการบริ โภคบุหรี่ ท้ งั หมด ซึ่ งการเข้ามาของบุหรี่ เถื่ อนหรื อบุหรี่ หนี ภาษี ที่มีราคา
ถูกกว่าบุหรี่ ทวั่ ไปถึงครึ่ งหนึ่งส่ งผลให้ผมู ้ ีรายได้นอ้ ยซึ่งเป็ นกลุ่มผูบ้ ริ โภครายใหญ่ของบุหรี่ ไทยหัน
มาสู บกันมากขึ้น
3. รายได้ภาษีสรรพสามิตยาสู บในช่วง 10 เดือนของปี งบประมาณ 2565 หรื อ 10 เดือนหลังจากที่มีการ
ขึ้นภาษี ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปี ที่แล้ว 4.3 พันล้านบาท หรื อลดลงร้อยละ 8 สวนทางกับที่
กรมสรรพสามิตประมาณการว่าการปรับขึ้นภาษีครั้งนั้นจะช่วยเพิ่มรายได้ข้ ึน 3.5-4.5 ล้านบาทต่อปี
เท่ากับว่าประมาณการพลาดไป 8-9 พันล้านบาท
4. ผลการดาเนินงานของ ยสท.ในช่วง 6 เดือนแรกของปี งบประมาณ 2565 ขาดทุน 35 ล้านบาท เทียบ
กับที่เคยกาไร 452 ล้านบาท ในช่วงเวลาเดียวกัน และมีรายได้ลดลงจาก 2.2 หมื่นล้านบาท เหลือ 1.8
หมื่นล้านบาท ลดลงร้อยละ 21 จากช่วงเดียวกันปี ที่แล้ว
(อรรถกฤต ปัจฉิมนันต์, 2565)
6

สรุป
แม้อุตสาหกรรมยาสู บเคยสร้างรายได้มหาศาลและเป็ นแหล่งรายได้ที่สาคัญกับรัฐสยามมาก่อน แต่
ด้วยช่วงสมัยที่เปลี่ยนผ่าน การกาหนดโครงสร้างภาษียาสู บแบบใหม่ในรู ปแบบโครงสร้างภาษี 2 อัตราได้
ส่ งผลกระทบต่อความสามารถในการทากาไรของอุตสาหกรรมยาสู บอย่างหนัก ทั้ง ๆ ที่รายได้รัฐที่ได้จาก
อุตสาหกรรมยาสู บในทุกรู ปแบบไม่ได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่การควบคุมการบริ โภคยาสู บในภาพรวมก็มีความ
ท้าทายในด้านสิ นค้าทดแทนราคาถูกที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การตัดสิ นใจคงโครงสร้างภาษีบุหรี่ มูลค่า
2 อัตราไว้ เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมยาสู บ ในขณะที่ใช้การปรับขึ้นภาระภาษีในอัตราสูง
ก็เพื่อลดการบริ โภคยาสู บ เป็ นแนวคิดที่กรมสรรพสามิตใช้มาตั้งแต่ปี 2560 แต่การกระทาทั้งสองอย่าง
ข้างต้นเป็ นสิ่ งที่ขดั แย้งกันเอง ทาให้ไม่สามารถสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ 1) รายได้รัฐ
2) สุ ขภาพประชาชน และ 3) อุตสาหกรรมยาสู บ ที่รัฐคานึงถึงในการกาหนดนโยบายภาษียาสู บ ทั้งนี้ คงไม่
เหมาะสมที่รัฐจะมีการลดภาษีให้กบั การยาสู บแห่ งประเทศไทย เพราะคงขัดกับหลักสุ ขภาพของประชาชน
ทางออกง่าย ๆ คือ การรวมภาษีเป็ นอัตราเดี ยวที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิ จและกาลังซื้ อของผูบ้ ริ โภค
เพื่อให้ประเทศไทยมีโครงสร้างภาษีที่มีประสิ ทธิภาพเหมือนตัวอย่างที่ดีในต่างประเทศ
บรรณานุกรม

การยาสู บแห่งประเทศไทย. (2565). ประวัติการยาสูบแห่ งประเทศไทย. สื บค้นเมื่อ 15 มกราคม 2566, จาก


https://www.thaitobacco.or.th/2022/08/00151.html.
ลงทุนแมน. (2564). ทาไมการยาสูบแห่ งประเทศไทย รายได้ กาไรลดลงทุกปี . สื บค้นเมื่อ 15 มกราคม 2566,
จาก https://www.longtunman.com/33326.
สุ ชาดา ตั้งทางธรรม. (2540). อุตสาหกรรมยาสู บและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสู บบุหรี่ ในประเทศไทย.
วารสารการวิจัยระบบสาธารณสุข. 5(3), 176-189.
อรรถกฤต ปัจฉิมนันต์. (2565). นโยบายภาษียาสูบกับการยาสูบแห่ งประเทศไทย. สื บค้นเมื่อ 15 มกราคม
2566, จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/economic/1024962.

You might also like