You are on page 1of 24

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

Domain
Kingdom
Phylum , Division
Class
Order
Family
Genus
Species
Prokaryote Eukaryote
อาณาจักรของสิง่ มีชวี ติ
อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรสัตว์
Kingdom Momera Kingdom Animalia
- Eubacteria - P. Porifera
อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรพืช
- Archaebacteria - P. Cnidaria
Kingdom Protista Kingdom Plantae
- Cyanobacteria อาณาจักรฟังใจ - P. Platyhelminthes
สาหร่าย (Alaae) Kingdom Fungi - D. Bryophyta - P. Nematoda
- D. Chloriphyta - D. Psilophyta - P. Annelida
- D. Chytridiomycota
- D. Euglenophyta - D. Lycophyta - P. Mollusca
- D. Zygomycota
- D. Charophyta - D. Sphenophyta - P. Arthropoda
- D. Ascomycota
- D. Phaeohyta - D. Pterophyta - P. Echinodermata
- D. Basidiomycota
- D. chrysophyta - D. Coniferophyta - P. Chordata
- D. Cryptophyta - D. Cycadophyta
- D. Rhodophyta - D. Ginkgophyta
โพรโทซัว (Protozoa) - D. Gnetophyta
- P. Protozoa
เซลล์มี 2 ประเภท
1. เซลล์โพรแคริโอต (prokaryotic cell)
2. เซลล์ยแู คริโอต (eukaryotic cell)
1. เซลล์โพรแคริโอต (prokaryotic cell)
• สิ่งมีชีวิตโพรแคริโอต (prokaryote)
• ประกอบด้วยเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม แบคทีเรีย Bacillus subtilis
นิวเคลียส
• ไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม
• บริเวณที่ DNA อยู่ในไซโทพลาซึม
เรียกว่า นิวคลีออยด์ (nucleoid)
สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Anabaena sp.)
เซลล์มี 2 ประเภท
1. เซลล์โพรแคริโอต (prokaryotic cell)
2. เซลล์ยแู คริโอต (eukaryotic cell)

2. เซลล์ยูแคริโอต (eukaryotic cell)


• สิ่งมีชีวิตยูแคริโอต (eukaryote)
• ประกอบด้วยเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส พารามีเซียม อะมีบา
• ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มหลากหลายชนิด
ท้าให้เซลล์แบบนีมีการแบ่งแต่ละส่วน
ของเซลล์ไปท้าหน้าที่เฉพาะ
เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์ประสาท
Kingdom Monera
อาณาจักรมอเนอรา
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา หรือพวกแบคทีเรียมีลักษณะเป็นเซลล์แบบ
โพรคาริโอต (prokaryotic cell)
เดิมสิ่งมีชีวิตเหล่านีถูกจัดอยู่ในกลุ่มเดียว
แต่ในปัจจุบันจากหลักฐานทางชีวโมเลกุลและรูปแบบในการด้ารงชีวิต
ท้าให้ให้นักอนุกรมวิธานจัดสิ่งมีชีวิตในกลุม่ นีออกเป็น
องค์ประกอบของผนังเซลล์ใช้เป็นเกณฑ์จ้าแนก
•แบคทีเรีย (Eubacteria)
•อาร์เคีย (Archaebacteria)
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

แบคทีเรีย
• เพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan) สารพันธุกรรม
เป็นองค์ประกอบผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์
• กระบวนการสังเคราะห์โปรตีน ผนังเซลล์
ใช้ฟอร์มิลเมไทโอนีนเป็น
กรดแอมิโนตัวแรกเสมอ
• อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรส 1 ชนิด
• หลายสปีชีส์เคลื่อนที่ได้
แฟลเจลลัม
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

แบคทีเรียทรงกลม (cocus) แบคทีเรียทรงแท่ง (bacillus or rod) แบคทีเรียทรงเกลียว (spiral)

• เซลล์เดียว เป็นกลุ่ม หรือเป็นสาย


• มีรูปร่างหลายแบบ

ส่วนใหญ่สืบพันธุ์โดยการ แบ่งแยกตัว (binary fission)


อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)
แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายสูง ในการจ้าแนก
แบคทีเรียพิจารณาได้หลายเกณฑ์ เช่น รูปร่าง องค์ประกอบผนังเซลล์
Gram staining
• ผนังเซลล์ - กลุ่มแกรมลบและกลุ่มแกรมบวก

แกรมลบ

แกรมบวก
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายสูง ในการจ้าแนก


แบคทีเรียพิจารณาได้หลายเกณฑ์ เช่น รูปร่าง องค์ประกอบผนังเซลล์
• ผนังเซลล์ - กลุ่มแกรมลบและกลุ่มแกรมบวก
• การด้ารงชีวิตในที่มีออกซิเจน
- กลุ่มที่เจริญเฉพาะในที่มี O2 (obligate aerobe)
- กลุ่มที่เจริญเฉพาะในที่ไม่มี O2 (obligate anaerobe)
- กลุ่มที่เจริญทังในที่มีและไม่มีออกซิเจน (facultative anaerobe)
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายสูง ในการจ้าแนก


แบคทีเรียพิจารณาได้หลายเกณฑ์ เช่น รูปร่าง องค์ประกอบผนังเซลล์
•ผนังเซลล์ - กลุ่มแกรมลบและกลุ่มแกรมบวก
• การด้ารงชีวิตในที่มีออกซิเจน - obligate aerobe obligate
anaerobe และ facultative anaerobe
• การสร้างอาหาร
- กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้ (autotroph)
- กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้ (heterotroph)
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

Clostridium
• แบคทีเรียแกรมบวก รูปร่างแท่ง
• ส่วนใหญ่เป็น obligate anaerobe
• สร้างอาหารเองไม่ได้
• บางสปีชีส์สร้างสารพิษโบทูลินัม (โรค botulism)
• บางสปีชีส์สร้างสารพิษเททานัส (โรคบาดทะยัก)
• บางสปีชีส์มีบทบาทส้าคัญในวัฏจักรไนโตรเจน
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

Lactobacillus
• แบคทีเรียแกรมบวก รูปร่างแท่ง
• ส่วนใหญ่เป็น facultative anaerobe
• มักพบอาศัยในสภาพที่เป็นกรด
• ช่วยรักษาภาวะความเป็นกรด
ภายในช่องคลอด เพื่อป้องกัน แลกโตบาซิลลัส
การติดเชือจากจุลินทรีย์ชนิดอื่น (𝐿𝑎𝑐𝑡𝑜𝑏𝑎𝑐𝑖𝑙𝑙𝑢𝑠 sp. )
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

Lactobacillus
• จีนัสของแบคทีเรียที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มของ
แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกได้
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)
E. coli
Escherichia coli
• แบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างแท่ง
• facultative anaerobe
• อาศัยอยู่ภายในล้าไส้ใหญ่ของสัตว์และมนุษย์
• ส่วนใหญ่ไม่ก่อโรค
• บางสายพันธุ์ท้าให้เกิดอาการท้องเสีย หรือ
เกิดการติดเชือที่ทางเดินปัสสาวะ เป็นต้น
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

Rhizobium
• แบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างแท่ง
• obligate aerobe
• ปกติด้ารงชีวิตแบบอิสระ
• ช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็น
สารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็น
ประโยชน์ต่การเจริญเติบโตของพืช
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

Staphylococcus aureus
• แบคทีเรียแกรมบวก รูปร่างกลม
เซลล์อยู่เป็นกลุ่มลักษณะคล้ายพวงองุ่น S. aureus
• facultative anaerobe
• ปกติพบบริเวณช่องจมูกและบนผิวหนังของมนุษย์
บางครังจะเป็นเชือฉวยโอกาส
• สายพันธุ์ที่ดือยาปฏิชีวนะที่ส้าคัญ คือ
methicillin-resistant S. aureus (MRSA)
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)
Spirochaete
• แบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเกลียว
• obligate anaerobe, facultative
anaerobe
• สร้างอาหารเองไม่ได้
• ส่วนใหญ่ด้ารงชีวิตแบบอิสระ
• สาเหตุของโรคต่าง ๆ เช่น โรคซิฟิลิส (Syphilis)
โรคฉี่หนู (Leptospirosis) โรคไลม์ (Lyme)
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

Cyanobacteria
• แบคทีเรียแกรมบวก รูปร่างเซลล์เดี่ยว
หรือเป็นสายยาว
• obligate aerobe
• สร้างอาหารเองได้ด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสง
จากสารสี เช่น คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน
• แหล่งอาศัย บนบก ในน้า บางสปีชีส์พบใน
บ่อน้าพุร้อน ธารน้าแข็ง
อาณาจักรมอเนอรา ยูแบคทีเรีย (Eubacteria)

mycoplasma
• แบคทีเรียที่ไม่มีผนังเซลล์
• เยื่อหุ้มเซลล์มีสเตอรอยด์แอลกอฮอล์
• facultative anaerobe • ขนาดเล็กมาก (0.1 – 1 ตm)
• บางสปีชีส์ด้ารงชีวิตแบบอิสระในดิน
• บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ
เช่น โรคปอดบวม โรคติดเชือในทางเดินปัสสาวะ
อาณาจักรมอเนอรา อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria)

• ผนังเซลล์ประกอบด้วยสารพอลิแซ็กคาไรด์และโปรตีนที่หลากหลาย แต่
ไม่มีสาร เพปทิโดไกลแคน
• ลักษณะร่วมบางอย่างคล้ายกับแบคทีเรีย
- สารพันธุกรรมไม่มีเยื่อหุ้ม
- โครโมโซมรูปวงกลม
• ลักษณะร่วมบางอย่างคล้ายกับยูแคริโอต
- อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรสหลายชนิด
- กระบวนการสังเคราะห์โปรตีนใช้เมไทโอนีน เป็นกรดแอมิโนตัวแรกเสมอ
อาณาจักรมอเนอรา อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria)

ส่วนใหญ่พบในสภาพแวดล้อมแบบ “สุดขัว” เช่น ที่ร้อนจัดอย่างบ่อน้าพุร้อน


ภูเขาไฟใต้ทะเล ที่เค็มจัดอย่างนาเกลือ หรือที่มีความเป็นกรดสูง

บ่อน้าที่เยลโลสโตน มีอุณหภูมิสูงมาก แต่อาร์เคียสามารถมีชีวิตอยู่ได้


อาณาจักรมอเนอรา อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria)

แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย

ยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) ครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota)

เมทาโนค็อกคัส ซัลโฟโบลัส
(𝑀𝑒𝑡ℎ𝑎𝑛𝑜𝑐𝑜𝑐𝑐𝑢𝑠 sp. ) (𝑆𝑢𝑙𝑓𝑜𝑏𝑜𝑙𝑢𝑠 sp. )

• สามารถสร้างแก๊สมีเทนได้ methanogen • กลุ่มที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่อุณหภูมิสูงมากหรือต่่ามาก


• อาศัยอยู่ในบริเวณที่มีความเค็มจัด (halophile) (thermophile) หรือสภาพแวดล้อมที่มีความเป็นกรดสูง
และบริเวณที่มีสภาพไร้ออกซิเจน (acidophile)

You might also like