You are on page 1of 12

ระบบทางเดินอาหารของมนุษย์

ปาก
• เป็ นบริเวณที่มีทงการย่
ั้ อยเชิงกลด้ วยการบดเคี ้ยว และเชิงเคมีด้วยเอนไซม์อะไมเลส (amylase) หรื อไท
ยาลิน (ptyalin) ในนํ ้าลาย ซึง่ ทําหน้ าที่ยอ่ ยแป้ง
• ภายในปากประกอบด้ วย
• ฟั น
• ต่อมนํ ้าลาย
• ลิ ้น
ฟัน
• ช่ว ยบดอาหาร มี แ คลเซี ยมเป็ นองค์ ประกอบ ส่ว นของฟั นที่ อ ยู่เหนื อ
เหงือกเรี ยกว่า ตัวฟั น (crown) ส่วนที่อยู่ใต้ เหงือกเรี ยกว่า รากฟั น
(root) ชันนอกสุ้ ดของตัวฟั นจะมีสารเคลือบฟั น (enamel) ซึ่ง
เคลือบเนื ้อฟั น (dentine) อยู่ และชันในสุ
้ ดของฟั นจะมีโพรง (pulp
cavity) ที่มีหลอดเลือดและเส้ นประสาท
• ฟั นมี 4 ชนิด ได้ แก่ ฟั นตัด Incisor ฟั นเขี ้ยว (canine) ฟั นกราม
หน้ า (premolar) ฟั นกรามหลัง molar โดยจํานวนฟั นแท้ แต่ละ
ชนิดมีสตู ร 1 ใน 4 ของปากคือ I:C:P:M = 2:1:2:3
• ในขณะที่ฟันนํ ้านมไม่มี premolar มีสตู ร คือ 2:1:0:2
ต่อมนํ้าลาย
• ทําหน้ าที่สร้ างนํ ้าลาย โดยมีตอ่ มหลัก ๆ 3 คู่ ได้ แก่ ใต้ ลิ ้น ใต้ ขากรรไกร และข้ างกกหู ซึง่ เป็ นต่อมที่ใหญ่ที่สดุ
และสร้ างนํ ้าลายเยอะสุด ในนํ ้าลายมีองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น amylase ย่อยคาร์ โบไฮเดรต, เมือก, และ
lysozyme ใช้ ทําลายแบคทีเรี ยที่มากับอาหาร
ลิ้น
• ทําหน้ าที่คลุกเคล้ า ช่วยในการกลืนอาหาร รับรสได้ 5 รส คือ เปรี ย้ ว หวาน เค็ม ขม อูมามิ
คอหอยและการกลืน
• อาหารภายในปากที่ถกู เคี ้ยวและคลุกเคล้ าจนได้ เป็ นก้ อนอาหาร bolus จะถูกกลืนเข้ าสู่คอหอย โดย
ขันตอนในการกลื
้ นมีดงั นี ้
• 1. เริ่ มจากลิ ้นจะยกไปติดเพดานปากเพื่อดันก้ อนอาหารเข้ าด้ านใน
• 2. ก้ อนอาหารจะดันเพดานอ่อน (soft palate) ไปปิ ดโพรงจมูก แล้ วเคลื่อนตัวเข้ าสูค่ อหอย
• 3. ก้ อนอาหารที่เข้ าสูค่ อหอยจะดันฝาปิ ดกล่องเสียง ไปปิ ดกล่องเสียงก่อนเข้ าสูห่ ลอดอาหาร
หลอดอาหาร
• หลอดอาหารจะมีการเคลื่อนไหวของกล้ ามเนื ้อเรี ยบแบบ peristalsis ซึง่ เป็ นการหดและคลายตัวของ
กล้ ามเนื ้อเรี ยบเพื่อบีบไล่อาหารให้ เคลื่อนที่เข้ าสูก่ ระเพาะอาหารโดยการบีบตัวแบบ peristalsis นี ้เกิด
ตังแต่
้ หลอดอาหารจนถึงลําไส้ ใหญ่เพื่อให้ อาหารเคลื่อนที่
กระเพาะอาหาร
• กระเพาะอาหารแบ่งออกเป็ น 4 ส่วน ได้ แก่ cadia, fundus, body และ
pylorus โดยบริ เวณ cadia จะมีหรู ูด cadiac sphincter ป้องกันไม่ให้ อาหาร
ไหลย้ อ นกลับ เข้ า หลอดอาหาร และบริ เ วณ pylorus จะมี หูรู ด pyloric
sphincter ป้องกันไม่ให้ อาหารเข้ าลําไส้ เล็กก่อนเวลา
• ผนังภายในกระเพาะอาหารมีรอยย่น เรี ยกว่า regae โดยรอยย่นจะขยายตัวและหายไป
เมื่ออาหารเต็มกระเพาะผนังภายในของกระเพาะมีรูจํานวนมาก เรี ยกว่าgastric pit
ซึง่ มีภายในรูมีเซลล์ 3 ชนิด ทําหน้ าที่สร้ างสารต่าง ๆ รวมกันเป็ น gastric juice ได้ แก่
• 1. Parietal cell ทําหน้ าที่สร้ าง HCl เพื่อปรับ pH ในกระเพาะ และเปลี่ยน
pepsinogen เป็ น pepsin
• 2. Chief cell สร้ าง pepsinogen ซึง่ ยังทํางานไม่ได้ ต้ องถูกเปลี่ยนเป็ น pepsin
ด้ วย HCl
• 3. Mucous cell สร้ างเมือกเคลือบป้องกันกรดกัดผนังกระเพาะ
กระเพาะอาหาร
• นอกจากนี ้กระเพาะอาหารยังสร้ าง lipase ที่ใช้ ย่อยไขมันแต่ยงั ทํางานไม่ได้
เพราะกระเพาะอาหารเป็ นกรด ดังนันการย่
้ อยเชิงเคมีในกระเพาะจึงมีเฉพาะ
การย่อยโปรตีนเท่านัน้
• การดูดซึมในกระเพาะอาหาร สามารถดูดซึมสารบางอย่าง ได้ แก่ ยาบางชนิด
และแอลกอฮอล์ หากท้ อ งว่ า งสารเหล่า นี จ้ ะถูก ดูด ซึม เข้ า ร่ า งกายได้ อ ย่ า ง
รวดเร็ว
ลําไส้เล็ก
• ลําไส้ เล็ก เป็ นบริ เวณที่เกิดการย่อยอาหารทุกชนิด แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ได้ แก่
• 1. ดูโอดีนมั (duodenum) ซึง่ มีการย่อยและดูดซึมมากที่สดุ
• 2. เจจูนมั (jejunum)
• 3. ไอเลียม (ileum)
• โดยผนังลําไส้ เล็กจะมีการยื่นออกมาคล้ ายนิ ้วมือจํานวนมาก เรี ยกว่า วิลไล (villi) และเซลล์ที่ผนังลําไส้
เล็กยังมีการยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ที่ผิวด้ วย เรี ยกว่า microvilli ซึง่ โครงสร้ างเหล่านี ้ช่วยเพิ่มพื ้นที่ผิวในการย่อย
และดูดซึม
• การย่อยอาหารเกิดมากที่สดุ ที่ ดูโอดีนมั ซึ่งมีการย่อยสารอาหารทุกชนิดจากเอนไซม์ที่สร้ างจากลําไส้ เล็ก
เอง เอนไซม์จากตับอ่อน และนํ ้าดีจากตับ
ลําไส้เล็ก
• เอนไซม์จากลําไส้ เล็ก
• Aminopeptidase ย่อย peptide ทางด้ านหมูอ่ ะมิโน (NH2) ได้ กรดอะมิโนทีละ 1 โมเลกุล
• Tripeptidase
• Dipeptidase
• Disaccharidase ได้ แก่ Maltase, Sucrase, Lactase
• Enterokinase เปลี่ยน trypsinogen ที่มาจากตับอ่อนเป็ น trypsin

You might also like