You are on page 1of 52

หน้า 55-1

ข้อ 1 ตอบ1

A 1s2 2s2 2p6 3s2 3p1 จานวนอิเล็กตรอนเดี่ยว 1 ตัว

X 1s2 2s2 2p6 3s2 3p4 จานวนอิเล็กตรอนเดี่ยว 2 ตัว

Y 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p3 จานวนอิเล็กตรอนเดี่ยว 3 ตัว

Z 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p5 จานวนอิเล็กตรอนเดี่ยว 1 ตัว

A=Z<X<Y

d
an
em
nD
O
หน้า 55-1

ข้อ 2 ตอบ 5

P S

Se

Te

ไอออนของธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีขนาดไม่แตกต่างกันมาก แต่ไอออนของธาตุที่อยู่หมู่เดียวกัน ไอออนที่อยู่


คาบด้านล่างจะมีขนาดใหญ่กว่า

Se2- ควรมีขนาดอยู่ระหว่าง S2- และ Te2- แต่ P3- มีขนาดใหญ่กว่า

d
an
ถ้าระดับพลังงานเท่ากัน ไอออนลบ > กลาง > ไอออนบวก
em
nD
O
หน้า 55-1

ข้อ 3 ตอบ 4

Sr (Z = 38)

ปกติ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2

เมื่อถูกกระตุ้น อิเล็กตรอนตัวนอกสุด จะหลุดออกไปสู่ระดับพลังงานที่สูงกว่า


1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p5 5s1 5d1

d
an
em
nD
O
หน้า 55-1

ข้อ 4 ตอบ 5

Y Y

Y X Y X Y

Y Y

X +4 Y -2

d
an
em
nD
O
หน้า 55-2

ข้อ 5 ตอบ 2

F .. .. .. O

B N O P I I I C

F F Cl Cl Cl H H H H H H H H

I II III IV V VI

สามเหลี่ยม พีระมิดฐาน พีระมิดฐาน พีระมิดฐาน เส้นตรง สามเหลี่ยม

d
แบนราบ สามเหลี่ยม สามเหลี่ยม สามเหลีย่ ม แบนราบ

an
em
nD
O
หน้า 55-2

ข้อ 6 ตอบ 2

A 24 หมู่ 4 อโลหะ

B 282 หมู่ 2 โลหะ

C 284 หมู่ 4 กึ่งโลหะ

D 287 หมู่ 7 อโลหะ

1. สารประกอบระหว่าง A กับ D เป็นแบบโมเลกุลไม่มีขั้ว ถูกต้อง เช่น CCl4 จึงไม่ละลายน้า


ส่วนประกอบระหว่าง C เป็นกึ่งโลหะ และ D เป็นอโลหะ เมื่อเกิดสารประกอบจึงเป็นสารโคเวเลนต์

d
ข้อนี้จึงผิด
2. ออกไซด์ของ B เป็นพันธะไอออนิก เพราะ B เป็นโลหะ
an
ออกไซด์ของ C เป็นพันธะโคเวเลนต์ เพราะ C เป็นอโลหะ ถูกต้อง
em
3. สารประกอบธาตุคู่ระหว่างไฮโดรเจนกับ A และ C มีพันธะโคเวเลนต์แบบมีขั้ว คือ AH4 และ CH4 เพราะเกิด
จากการทาพันธะของอะตอมต่างชนิดกัน แต่โมเลกุลไม่มีขั้ว
สารประกอบทั้งสองจึงมีจุดหลอมเหลวต่า จึงผิด
nD

4. สารประกอบระหว่างไฮโดรเจนกับ D ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน เนื่องจาก


อะตอมของ D มีขนาดใหญ่ จึงผิด
O

5. สารประกอบระหว่าง B กับ D มีสูตร BD2 จัดเป็นสารที่มีพันธะไอออนิก จึงไม่นิยามเรื่องขั้ว เมื่อละลายน้าจะ


ไม่เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้า จึงผิด
หน้า 55-2

ข้อ 7 ตอบ 4

A B C D

2 3 6 7

ก. สูตรของสารประกอบระหว่าง A หมู่ 2 เกิน 2 ตัว กับ D หมู่ 7 ขาด 1 ตัว คือ AD2
และระหว่าง B หมู่ 3 เกิน 3 ตัว กับ C หมู่ 6 ขาด 2 ตัว คือ B2C3 ถูกต้อง
ข. พันธะระหว่าง A ซึ่งเป็นโลหะ กับ D ซึ่งเป็นอโลหะ เป็นพันธะไอออนิก
ส่วนระหว่าง C กับ D เป็นธาตุอโลหะทั้งคู่ จึงเป็นพันธะโคเวเลนต์ ถูกต้อง

d
ค. อะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวีตีสูงสุดคือ D เพราะอยู่หมู่ 7 ถูกต้อง
ง. อะตอมที่มีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงสุด คือ D ผิด

an
em
nD
O
หน้า 55-3

ข้อ 8 ตอบ 3

A 281 หมู่ 1 โลหะ

D 285 หมู่ 5 อโลหะ

E 287 หมู่ 7 อโลหะ

G 2882 หมู่ 2 โลหะ

X 2 8 18 7 หมู่ 7 อโลหะ

d
Y 2 8 18 8 2 หมู่ 2 โลหะ

Z 2 8 18 18 8 2 หมู่ 2 โลหะ

ก. D = อโลหะ, E = อโลหะ และ G = โลหะ


an
สรุป อโลหะ 2 ธาตุ โลหะ 1 ธาตุ
em
ข. X = อโลหะ, Y = โลหะ และ D = อโลหะ สรุป อโลหะ 2 ธาตุ โลหะ 1 ธาตุ

ค. Y = โลหะ, Z = โลหะ และ E = อโลหะ สรุป อโลหะ 1 ธาตุ โลหะ 2 ธาตุ


nD

ง. G = โลหะ, A = โลหะ และ X = อโลหะ สรุป อโลหะ 1 ธาตุ โลหะ 2 ธาตุ

จ. A = โลหะ, D = อโลหะ และ X = อโลหะ สรุป อโลหะ 2 ธาตุ โลหะ 1 ธาตุ


O
หน้า 55-3

ข้อ 9 ตอบ 5

สารประกอบแทรนซิชันจะมีคุณสมบัติเมื่อเลขออกซิเดชันเปลี่ยนจะทาให้สีเปลี่ยน
จากข้อมูลข้างต้น ได้แก่ A, C

d
an
em
nD
O
หน้า 55-4

ข้อ 10 ตอบ 4

ปลดปล่อยรังสีแกมมา

d
an
em
nD
O
หน้า 55-4

ข้อ 11 ตอบ 5

N= โดย n =

1.8 =

= 1.31 min

เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากับครึ่งชีวิต จะมี ปริมาณเหลือครึ่งหนึ่ง = = 14.4 g

d
วิธีการหามวลของธาตุใหม่ที่เกิดขึ้น

สมมติธาตุใหม่ที่เกิดขึ้นคือ X an
em
mol Tl ที่สลายตัวไป = mol X ที่เกิดขึ้น
nD

ที่เกิดขึ้น
=

X ที่เกิดขึ้น = 14.4 g
O
หน้า 55-5

ข้อ 12 ตอบ 2

หาความเข้มข้นในหน่วยโมลาร์

N= = = M

N1V1 = N2V2

x 100 = [CH3COOH] x 500

d
[CH3COOH] = 0.3 M

an
em
nD
O
หน้า 55-5

ข้อ 13 ตอบ 4

= mKb

เมื่อตัวทาละลายชนิดเดียวกัน Kb จะเท่ากัน

เมื่อ m มีค่ามาก จะทาให้ มีค่ามากตามไปด้วย

จุดเดือดเรียงลาดับได้ดังนี้ P > Q = R จุดเยือกแข็งเรียงลาดับได้ดังนี้ P < Q = R ข้อ 1 และ 3 ผิด

เมื่อตัวทาละลายต่างชนิดกัน

d
= m Kb = m Kf

จุดเดือดของ X =

จุดเดือดของ P =
an
+ 80.10 = (2 × 2.53) + 80.10 = 85.16 oC

+ 100 = (2 × 0.51) + 100 = 101.02 oC


em
จุดเดือดของ X น้อยกว่า P ข้อ 2 จึงผิด ข้อ 4 จึงถูกต้อง
nD
O
ข้อ 5 ผิด เพราะ

การเปลี่ยนหน่วยจากโมแลลมาเป็นร้อยละโดยมวล หาจาก

%W/W = × 100

%P = × 100 = 10.71%

%Q = × 100 = 15.25%

d
%R =

%X =
× 100 = 25.48%

× 100 = 21.63%
an
em
%W/W; R > X > Q > P
nD
O
หน้า 55-6

ข้อ 14 ตอบ 4

mol ไนโตรเบนซีน = = 1 mol

mol ไตรเอทิลีนไกลคอล = = 2.167 mol

สัดส่วนการทาปฏิกิริยา
ไนโตรเบนซีน ไตรเอทิลีนไกลคอล
VS

= 0.5 VS = 0.54

d
an
กาหนดปริมาณ มากเกินพอ

2C6H5NO2 + 4C6H14O4 C12H10N2 + 4C6H12O4 + 4H2O


em
มี(mol) 1 2.167

ใช้ -0.5 × 2 -0.5 × 4


nD

เหลือ 0 0.167

เหลือ ไตรเอทิลีนไกลคอล = 0.167 × 150 = 25.05 g


O

ไนโตรเบนซีน
เกิดเอโซเบนซีน = = 0.5 mol = 0.5 × 182 = 91 g

%= × 100 = 60.4%
หน้า 55-6

ข้อ 15 ตอบ 4
ก. O2: × 22.4 = 2.24 dm3 ที่ STP
ข. CO2: × 22.4 = 11.2 dm3 ที่ STP
ค. He: 1.0 × 22.4 = 22.4 dm3 ที่ STP
ง. Cl2: × 22.4 = 33.6 dm3 ที่ STP #
จ. Ne: × 22.4 = 26.21 dm3 ที่ STP
ดังนั้น Cl2 มีปริมาตรมากที่สุดที่ STP #
เมื่อ ก และ ง ทาปฏิกิริยากัน
หาจานวนโมล

d
ก. O2: × 22.4 = 2.24 dm3 ที่ STP

mol O2 = = 0.1 mol an


em
ง. Cl2: × 22.4 = 33.6 dm3 ที่ STP

mol Cl2 = = 1.5 mol


nD

หาสารกาหนดปริมาณ
O2 VS 2Cl2
O

= 0.1 = 0.75
หมดก่อน กาหนดปริมาณ มากเกินพอ
O2 + 2Cl2 2Cl2O
มี 0.1 1.5
ใช้ -0.1 -0.2 +0.2
เหลือ 0 1.3 0.2

= 0.2 mol = 0.2 x 87 = 17.4 g


หน้า 55-7
ข้อ 16 ตอบ 2

หาจานวนโมลของสารตั้งต้น

mol N2 = = 1 mol

mol H2 = = 2 mol

หาสารกาหนดปริมาณ

N2 VS H2

d
=1
มากเกินพอ
N2 + 3H2
= 0.67

an
หมดก่อน กาหนดปริมาณ
2NH3
em
มี 1 2
nD

ใช้ - - ×3 ×2

เหลือ 0
O

mol NH3= mol = × 17 = 22.67 g ตามทฤษฎี

NH3 เกิดจริง = 22.67 × 0.5 = 11.33 g

สารที่เหลือคือ N2 = mol = × 28 = 9.33 g


หน้า 55-7

ข้อ 17 ตอบ 2

1. เอทานอล มีพันธะไฮโดรเจน
2. น้าแข็งแห้ง เป็นพันธะโคเวเลนต์แบบไม่มีขั้วจึงมีเฉพาะแรงลอนดอนเท่านั้น
3. ไส้ดินสอ เป็นแกรไฟต์ เป็นโครงผลึกร่างตาข่าย
4. แท่งเหล็ก พันธะโลหะ

5. เกลือแกง พันธะไอออนิก

d
an
em
nD
O
หน้า 55-7

ข้อ 18 ตอบ 5

จากรูป ที่ 1 atm B มีจุดเดือดต่ากว่า A

d
B = เอทานอล เพราะมีจุดเดือดต่ากว่า 100 oC A = กลีเซอรีน เพราะมีจุดเดือดมากกว่า 200 oC

an
em
nD
O
หน้า 55-8

ข้อ 19 ตอบ 2

1. ความเข้มข้น (m) = = 1 m ผิด

2. ความเข้มข้น (M) = = 0.2 M ถูกต้อง

3. ความเข้มข้น (ppm) = × 106 = 5000 ppm ผิด

4. ผิด เพราะ ต้องเติมกลูโคสก่อน แล้วค่อยใส่น้า

d
5. ผิด เพราะ บอกไม่ได้ต้องรู้มวลของน้า

an
em
nD
O
หน้า 55-9

ข้อ 20 ตอบ 4

CS2(l) + 3O2(g) CO2(g) + 2SO2(g)

O2 = 6 dm3 ที่ STP ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 oC = 273 K

d
PV = nRT

nR เป็นค่าคงที่
an
em

V = 3.6 dm3
nD
O
หน้า 55-10

ข้อ 21 ตอบ 5

จากโจทย์นาข้อมูลมาวิเคราะห์ได้ดังนี้

Ea (1)

Ea (2)

d
an
ข้อ 1 ผิด เพราะ A มีพลังงานก่อกัมมันต์สูงกว่า D อัตราการสลายตัวจึงน้อยกว่า
em
ข้อ 2 ผิด เพราะปฏิกิริยาที่ 2 เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
nD
O

E
ข้อ 3 บอกไม่ได้ เพราะ พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าไม่เท่ากัน
ข้อ 4 บอกไม่ได้ เพราะไม่มีข้อมูลการลดพลังงานก่อกัมมันต์ของตัวเร่งปฏิกิริยา
ข้อ 5 ถูก เพราะทั้งปฏิกิริยาที่ 1 และ 2 จานวนโมลของสารตั้งต้นเท่ากับจานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์
ปฏิกิริยาที่ 1: 2A(g) B(g) + C(g) ปฏิกิริยาที่ 2 : D(g) + 2E(g) 3F(g)
จานวนโมลของสารตั้งต้น = 2 จานวนโมลของสารตั้งต้น = 3
จานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ = 2 จานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ = 3
หน้า 55-11

ข้อ 22 ตอบ 2

ข้อ ก ผิดเพราะสาร B และ C มีเลขดุลไม่เท่ากัน แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงมีค่าไม่เท่ากัน

ข้อ ข ถูก Rปฏิกิริยา = = 0.15 mol/dm3·s < 0.4 mol/dm3·s

d
ข้อ ค ถูก เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้นปฏิกิริยาจะเกิดช้าลง an
em
ข้อ ง ผิด จากกราฟ ณ วินาทีที่ 5-6 ปฏิกิริยาจะเริ่มคงที่ แสดงว่าปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์แล้ว

ข้อ จ ผิด วินาที่ที่ 0-2 Rปฏิกิริยา = = 0.15 mol/dm3·s


nD

-
วินาที่ที่ 4-6 Rปฏิกิริยา = mol/dm3·s
O
หน้า 55-12

ข้อ 23 ตอบ 5

สารประกอบโลหะที่ทาให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาจะทาหน้าที่ลดพลังงานก่อกัมมันต์ให้ต่าลง

d
an
em
nD
O
หน้า 55-12

ข้อ 24 ตอบ 5

หาความเข้มข้นของสารในระบบ

[C] = = 3.83 × 10-2 mol/dm3


จากสมการ
A + B 2C

RA = RB = = 1.9 × 10-2 M/s

d
ข้อ 1 ผิด เพราะ อัตราการลดลงของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีค่าไม่เท่ากัน เพราะ เลขดุลสมการไม่เท่ากัน
ข้อ 2 ผิด เพราะ RC = 3.83 × 10-2 mol/dm3 ·s
ข้อ 3 ผิด เพราะ RA = 1.9 × 10-2 M/s
ข้อ 4 ผิด เพราะ RA = RB = 1.9 × 10-2 M/s
an
em
ข้อ 5 ถูก เพราะ RA = 1.9 × 10-2 M/s
nD
O
หน้า 55-13

ข้อ 25 ตอบ 1

ข้อ ก. ถูกต้อง เพราะ ปฏิกิริยาทั้งหมดมีสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส ดังนั้น ต้องเกิดในระบบปิดจึงจะเกิด


สมดุลได้

ข้อ ข. ผิด เพราะ ปฏิกิริยาจะเกิดไปข้างหน้ามากขึ้น

ข้อ ค. ผิด เพราะ b เท่านั้นที่เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ส่วน a จะเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

ข้อ ง. ผิด เพราะ a และ d จะเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

ข้อ จ. ผิด เพราะ จานวนโมลของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เท่ากัน ดังนั้นความดันจึงไม่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา

d
an
em
nD
O
หน้า 55-13

ข้อ 26 ตอบ 4

PV = nRT

1.64 × 5 = n × 0.082 × (127 + 273)

n = 0.25 mol

SO2Cl2 SO2 + Cl2

เริ่มต้น 0.25 0 0

d
เปลี่ยน -x x x

สมดุล 0.25 - x

(0.25 - x) + x + x = 0.09 × 5
x x
an
em
x = 0.2 mol

ร้อยละการแตกตัวของ SO2Cl2 = = 80%


nD
O
หน้า 55-14

ข้อ 27 ตอบ 2

H 2A + H 2O HA- + H3O+ (1) Ka1

HA- + H2O A2- + H3O+ (2) Ka2

2H2O OH- + H3O+ (3) Kw

OH- + H3O+ 2H2O (4) กลับข้างสมการ

HA- + H2O + OH- + H3O+ A2- + H3O+ + 2H2O (5) ; (2) + (4)

d
HA- + OH- A2- + H2O

an
(5)

หรือ
em
A2- + H2O HA- + OH- Kb =

กลับข้างสมการ
nD

HA- + OH- A2- + H2O


O
หน้า 55-14

ข้อ 28 ตอบ 4

หาความเข้มข้นของสารในหน่วยโมลาร์ที่ภาวะสมดุล

[N2] = 0.3 M

[H2] = 0.4 M

[NH3] = 0.1 M

เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงที่สมดุลจึงคงที่

d
N2 + 3H2 2NH3

สมดุลเดิม 0.3 0.4 an


0.1
em
K= = = 0.52 ข้อ 1, 2 และ 5 จึงผิด

เนื่องจากสมดุลแรกมี H2 0.2 โมล เมื่อสมดุลเลื่อนไปข้างหน้า H2 จึงลดลง จึงตอบ 4


nD

สมดุลใหม่

x = ความเข้มข้นสารที่เปลี่ยนแปลงไป
O

y = ความเข้มข้นของแก๊สไนโตรเจนที่เติมลงไป

N2 + 3H2 2NH3

เริ่มต้น 0.3+y 0.4 0.1

เปลี่ยน -x -3x 2x

สมดุล 0.3 + y - x 0.4 - 3x 0.1 + 2x


จากโจทย์ ถ้าเติม N2 ลงไปในระบบเพื่อให้ความเข้มข้นของ NH3 ที่ภาวะสมดุลใหม่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของภาวะ
สมดุลเดิม

[NH3] ที่สมดุลใหม่ = 2[NH3] ที่สมดุลเดิม

0.1 + 2x = 2 (0.1)

x = 0.05 M

mol H2 = 0.4 - 3x = (0.4-3 × 0.05) × 0.5 = 0.125 mol

d
an
em
nD
O
หน้า 55-15

ข้อ 29 ตอบ 1
+
NH3CH2COO-

คู่กรด +NH3CH2COOH

คู่เบส NH2CH2COO-

d
an
em
nD
O
หน้า 55-15

ข้อ 30 ตอบ 1

จุดสมมูล

จากกราฟที่กาหนดให้ จะเห็นว่า ค่า pH เมื่อตอนเริ่มต้นนั้นมีค่าน้อยกว่า 7 แสดงว่าสารที่อยู่ในขวดรูปกรวยมี

d
สมบัติเป็นกรดซึ่งเป็นกรดอ่อนเพราะมีค่า pH เริ่มต้นประมาณ 3 ดังนั้น ข้อ 2, 3, 5 จึงผิด

an
เมื่อทาการไทเทรตโดยการเติมสารละลายเบสลงไป ปรากฏว่าจุดสมมูลมีค่า pH ค่าประมาณ 8
ดังนั้นแสดงว่า สารที่อยู่ในบิวเรตต์ คือ เบสแก่ ได้แก่ KOH ดังนั้น ข้อ 1 จึงถูกต้อง
em
nD
O
หน้า 55-16

ข้อ 31 ตอบ 3

[A] = = 0.01 M

pOH = 2 pH = 12

[B] = = 0.1 M

pOH = 1 pH = 13 มีความเป็นเบสมากกว่า

d
an
em
nD
O
หน้า 55-16

ข้อ 32 ตอบ -

10-3 = √

10-6 = KaN

0.05 V = N (25)

0.05 V = (25)

Ka = (25)

d
an
ไม่มีคาตอบ
em
nD
O
หน้า 55-16

ข้อ 33 ตอบ 3

ที่จุดสมมูลของการทาปฏิกิริยา พบว่าสารทาปฏิกิริยาพอดีกัน

mol NaOH = mol C9H8O4

N1V1 = N2V2

0.01 × 20 = mol C9H8O4 × 1000

mol C9H8O4 = 2 × 10-4 mol

d
mol C9H8O4= 2 × 10-4 mol

mol C9H8O4 = 5 × 10-5 mol


4 เม็ด

1 เม็ด
an
em
กรดแอซิทิลซาลิซิลิก = 5 × 10-5 × 180 = 9 mg
nD
O
หน้า 55-17

ข้อ 34 ตอบ 4

pH = pKa – log
เมื่อสารอยู่ในระบบเดียวกันปริมาตรรวมจะเท่ากัน จึงใช้จานวนโมลที่ภาวะสมดุลมาคิด ปรับสูตรได้เป็น

pH = pKa – log

ก. mol HF = 0.1 × 0.1 = 0.01 mol mol NaF = 1 × 0.1 = 0.1 mol

pH = -log (6.8 × 10-4) – log = 4.167 เป็นบัฟเฟอร์กรด

d
ข. mol HCN = 0.2 × 0.01 = 2 × 10-3 mol

an
mol KOH = 0.1 × 0.1 = 10-2 mol เหลือเบสแก่ ไม่เป็นบัฟเฟอร์
em
ค. เมื่อกรดอ่อนผสมกับกรดแก่จึงไม่เกิดสารละลายบัฟเฟอร์

ง. mol HCNO = 0.2 × 0.1 = 0.02 mol


nD

mol NaOH = 0.1 × 0.1 = 0.01 mol เบสแก่หมด จึงเป็นบัฟเฟอร์กรด

HCNO + NaOH NaCNO + H 2O


O

มี 0.02 0.01

ใช้ -0.01 -0.01 0.01 0.01

เหลือ 0.01 0 0.01 0.01

pH = -log (3.5 × 10-4) – log = 3.45


หน้า 55-17

ข้อ 35 ตอบ 4

ก. SO2 + H2O H2SO3


SO2 S=4 H2SO3 S=4
ข. S + SO32- S2O32-
S 0 S2O32- S = +2
ค. 2H2S + 3O2 2SO2 + 2H2O
H 2S S = -2 SO2 S = +4
ง. Ca(OH)2 + SO3 CaSO4 + H2O

d
SO3 S=6 CaSO4 S=6

an
em
nD
O
หน้า 55-17

ข้อ 36 ตอบ 3

aC3H8O + bCrO3 + cH2SO4 dCr2(SO4)3 + eC3H6O + fH2O


แบ่งครึ่งเซลล์
C3H8O C3H6O
C3 H 8 O C3H6O + 2H+ + 2e- (1)
3C3H8O 3C3H6O + 6H+ + 6e- (1) x 3
CrO3 + H2SO4 Cr2(SO4)3
2CrO3 + 3H2SO4 Cr2(SO4)3 ดุล Cr, SO42-

d
2CrO3 + 3H2SO4 + 6H+ + 6e-

รวมสมการ an
Cr2(SO4)3 + 6H2O (2) ดุล O, H
em
3C3H8O 3C3H6O + 6H+ + 6e-

2CrO3 + 3H2SO4 + 6H+ + 6e- Cr2(SO4)3 + 6H2O


nD

3C3H8O + 2CrO3 + 3H2SO4 Cr2(SO4)3 + 3C3H6O + 6H2O


O

a = 3, c =3
หน้า 55-18

ข้อ 37 ตอบ 4

X4+ (aq) + Y(s) X2+ (aq) + Y2+ (aq)

X4+ (aq) + 2e- X2+ (aq) เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เกิดที่ขั้วแคโทด

Y(s) Y2+ (aq) + 2e- เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เกิดที่ขั้วแอโนด

E0cell < 0

E0cel = E0แคโทด –E0แอโนด

d
E0แคโทด < E0แอโนด

E0แคโทด X4+ < E0แอโนด Y


an
ก. ผิด เพราะปฏิกิริยาเกิดขึ้นเองไม่ได้ เนื่องจาก E0cell < 0
em
ข. ผิด เพราะ Pt เป็นขั้วไฟฟ้าของปฏิกิริยารีดักชัน จึงเป็นขั้วแคโทด ที่มีปฏิกิริยารีดักชันเกิดขึ้น
ค. ถูก เพราะ Y2+ มีค่า E0 มากกว่าจึงมีความสามารถในการรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า X4+
ง. ผิด เพราะ X4+ เป็นตัวออกซิไดส์ แต่ X4+ เกิดปฏิกิริยารีดักชันนั้นถูกต้อง
nD
O
หน้า 55-18

ข้อ 38 ตอบ 1

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (E0 ต่า)

2SO32- + 3H2O + 4e- 2S2O32- + 6OH- E0 = -0.57 V

O2(g) + 4H+ + 4e- 2H2O E0 = 1.23 V

ปฏิกิริยารีดักชัน (E0 สูง)


Na+(aq) + e- Na(s) E0 = -2.71 V
2H2O(aq) + 2e- H2(g) + 2OH- E0 = -0.83 V

d
ที่ขั้วแอโนด จะเกิด SO32- เหลือข้อ 1, 2
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้วแคโทด คือ 2H2O(g) + 2e- H2 + 2OH-(aq) E๐ = -0.83 V เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
มีแก๊ส H2 เป็นผลิตภัณฑ์
an
em
nD
O
หน้า 55-19

ข้อ 39 ตอบ 5

ภาชนะจะเกิดการผุกร่อน เมื่อโลหะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ที่ขั้วแอโนด


สารละลายเกลือของโลหะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน ที่ขั้วแคโทด

E0แคโทด > E0แอโนด

แคโทด E0 แอโนด E0
1. Zn2+ -0.76 Al -1.67
2. Cu2+ 0.34 Sn -0.14
3. Fe2+ -0.44 Zn -0.76

d
4. Cu2+ 0.34 Al -1.67
5. Al3+ -1.67
an Sn -0.14
em
nD
O
หน้า 55-19

ข้อ 40 ตอบ 3

ธาตุอาหารที่ช่วยสร้างโปรตีนคือ ไนโตรเจน ดังนั้นจึงตอบข้อ 3 แอมโมเนียมฟอสเฟต เพราะมีสัดส่วนของ


ไนโตรเจนสูงที่สุด

d
an
em
nD
O
หน้า 55-20

ข้อ 41 ตอบ 1

ข้อ 1 ผิด เพราะ มี B2O3 ทาให้สัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความร้อนลดลง


ส่วนข้ออื่นๆ ถูกต้องตามที่กล่าวมา

d
an
em
nD
O
หน้า 55-20

ข้อ 42 ตอบ 3
6 5
3

2 1

โซ่หลัก ต้อง มีหมู่แทนที่มากที่สุด

ตาแหน่งหมู่แทนที่ต้องมีเลขน้อยที่สุด

3-เอทิล-2,4-ไดเมทิลเฮกเซน

d
an
em
nD
O
หน้า 55-20

ข้อ 43 ตอบ 2

1. ผิด เพราะ แอลเคนไม่เกิดปฏิกิริยาการเติม เพราะไม่มีพันธะคู่


2. ถูก เพราะ แอลคีนเป็นพันธะคู่ซึ่งไม่อิ่มตัว แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาการเติมได้ดีกว่าปฏิกิริยาการแทนที่
3. ผิด เพราะ ปฏิกิริยาการฟอกจางสีโบรมีนของแอลเคนและแอลคีนเป็นปฏิกิริยาคนละชนิดกัน
แอลเคน เป็นปฏิกิริยาแทนที่ แอลคีน เป็นปฏิกิริยาการเติม
4. ผิด เพราะ ปฏิกิริยาการฟอกจางสีโบรมีนของแอลคีนและแอลไคน์เป็นปฏิกิริยาชนิดเดียวกัน คือปฏิกิริยา
การเติม
5. ผิด เพราะ CH2=CH-CH2-CH2-CH2-CH3 + Br2 CH2Br-CHBr-CH2-CH2-CH2-CH3

d
ไม่เกิด HBr เพราะเป็นปฏิกิริยาการเติม

an
em
nD
O
หน้า 55-21

ข้อ 44 ตอบ 2

ก. ถูก เพราะเป็นสารต่างชนิดกัน จานวนคาร์บอนอะตอม


ไม่เท่ากัน
ข. ผิด เพราะ เป็นสารชนิดเดียวกัน ถ้าหมุนรูปได้ได้สาร
ตัวเดียวกัน ไม่ถือว่าเป็นไอโซเมอร์
ค. ถูกต้อง เป็นสารต่างชนิดกัน แต่เป็นไอโซเมอร์กัน

ง.ผิด เพราะเป็นสารคนละชนิดกัน

จ.ถูก เพราะมีจานวนอะตอมคาร์บอนเท่ากัน จึงเป็นไอโซ

d
เมอร์กัน

an
em
nD
O
หน้า 55-22

ข้อ 45 ตอบ 4

Cx H y O + O 2 CO2 + H2O

mol C = = 0.068 mol

mol H = 2 × = 0.1822 mol

O = 1.37 – ( × 12) – (2 × ) = 0.369 g

mol O = 0.023 mol

d
C H O

0.068 0.1822 0.023 an


em
2.95 7.92 1

3 8 1
nD

สูตรโมเลกุลคือ C3H8O

ไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้คือ CH3CH2CH2OH + Na CH3CH2CH2Na + H2


O

สามารถเกิดปฏิกิริยากับโซเดียมได้
หน้า 55-22

ข้อ 46 ตอบ 5

ก. ผิด เพราะ องค์ประกอบหลักในน้ามันเบนซินคือ แอลเคนตั้งแต่โนเนน (C9H20) ถึงเฮกซะเดคเคน (C16H34)


ไม่ใช่ C6H6
ข. ผิด เพราะ น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทนเป็น 0 มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับนอร์มอลเฮปเทน
ค. ถูกต้อง เพราะ น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทนเป็น 0 มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
ง. ผิด เพราะไบโอดีเซลผลิตได้จากน้ามันพืชหรือสัตว์โดยกระบวนการ Transesterification
จ. ถูกต้อง

d
an
em
nD
O
หน้า 55-22

ข้อ 47 ตอบ 3

ข้อ 1 ถูก เพราะ เมื่อมีหมู่ฟังก์ชัน 2 หมู่ขึ้นไปจะเกิดปฏิกิริยาควบแน่น

ข้อ 2 ถูก เพราะ ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบการเติมจะเกิดที่พันธะคู่

ข้อ 3 ผิด เนื่องจากโคพอลิเมอร์เกิดจากพอลิเมอร์ต่างชนิดกันเท่านั้น มาเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันกัน

ข้อ 4 ถูก เพราะ เทอร์มอพลาสติกสามารถหลอมเหลวได้ใหม่อีกครั้ง จึงมีโครงสร้างเป็นโซ่ตรงหรือโซ่กิ่ง

ข้อ 5 ถูกตามที่กล่าวมา

d
an
em
nD
O
หน้า 55-23

ข้อ 48 ตอบ 3

สารที่สามารถให้ผลกับปฏิกิริยาไบยูเร็ตได้ คือ สารที่มีพันธะเพปไทด์ 2 ตาแหน่ง ได้แก่


ข. อะลานิลเวลิลเมไทโอนีน และ ง. คอลลาเจน เป็นโปรตีน
ก. ไอโซลิวซีน เป็นกรดอะมิโน ไม่มีพันธะเพปไทด์ ไม่ให้ผลกับปฏิกิริยาไบยูเร็ต
ค. ไกลซิลฟีนิลอะลานีนมีพันธะเพปไทด์ 1 ตาแหน่ง

d
an
em
nD
O
หน้า 55-23

ข้อ 49 ตอบ 3

ส่วนผสมของน้าสลัดเป็นอิมัลชัน สารที่ทาให้ส่วนผสมของน้าสลัดเข้ากันได้ดีคือ อิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) เช่น


มอโนกลีเซอไรด์ (monoglyceride) ไดกลีเซอไรด์ (diglyceride) ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) เช่น
เลซิทิน (lecithin)

d
an
em
nD
O
หน้า 55-23

ข้อ 50 ตอบ 2

สูตรโครงสร้างของเมลามีน คือ

บริษัทที่ใช้น้านมดิบในการผลิตอาหารนั้น จะมีการตรวจสอบปริมาณโปรตีนในน้านมดิบก่อน ผู้ผลิตน้านมดิบจึงนา


เมลามีนซึ่งมีปริมาณไนโตรเจนสูงมาเติม เพื่อเพิ่มปริมาณไนโตรเจนในนม เพื่อให้ผลวิเคราะห์ปริมาณโปรตีน
ออกมาได้มาตรฐาน

d
an
em
nD
O

You might also like