You are on page 1of 20

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ลักษณะ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกเป็นการเคลื่อนที่เป็นคาบ เช่น
 การโคจรของดาวเที ย มรอบโลก : โดยดาวเที ย มจะเคลื่ อ นที่ ว น
กลับมาที่ตาแหน่งเดิม
 ส่วนการสั่นของมวลติดปลายสปริง : มวลติดสปริงเคลื่อนที่กลับไป
กลับมาผ่านตาแหน่งกึ่งกลาง
เรียกการเคลื่อนที่ นี้ว่า การสั่น (vibration) หรือ การแกว่งกวั ด
(oscillation)
การสั่นแบบการไปกลับมา เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก
อย่างง่าย (simple harmonic motion)
การเคลื่อนที่ของรถติดปลายสปริง

ตาแหน่งสมดุล

ถ้าดึงรถทดลองไปทางขวาที่ตาแหน่ง x1 แล้วปล่อยมือให้รถทดลองเคลื่อนที่
รถทดลองเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่อย่างไร
การเคลื่อนที่ของรถติดปลายสปริง
จุดเริ่มต้น

x2 x0 x1
 ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
พิ จ ารณาการเคลื่ อ นที่ ข องรถทดลองติ ด ปลายสปริ ง ที่ ต าแหน่ ง
ต่างๆ ดังรูปต่อไปนี้

จากรูป 8.1 ก. รถทดลองติดปลายสปริงวางอยู่บนพื้น ล้อของรถ


ทดลองหมุนคล่อง ซึ่งประมาณได้ว่า แรงเสียดทานไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่
ของรถทดลอง ให้ตาแหน่ง x0 รถทดลองอยู่นิ่งสปริงไม่ยืดตัวและไม่หดตัว
ตาแหน่งสมดุล
เรียกตาแหน่งนี้ว่า ....................................
 ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

จากรูป 8.1 ข. ถ้าดึงรถทดลองให้เคลื่อนที่ออกจากตาแหน่งสมดุล


เริ่มต้น
(x0)ไปทางขวาที่ตาแหน่ง x1 จะให้ตาแหน่ง x1 เป็นตาแหน่ง................
0 s และมีอัตราเร็วเท่ากับ…....……..
ดังนั้น จะมีเวลาเท่ากับ...……… 0 m/s
 ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

จากรูป 8.1 ค. เมื่อปล่อยมือให้รถทดลองเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไป


ทางซ้ายผ่านตาแหน่งสมดุล โดยขณะผ่านตาแหน่งสมดุลรถทดลองมี
สูงสุด
อัตราเร็ว.................... จนกระทั่งที่เวลา t = t1 รถทดลองมีอัตราเร็ว
0
เป็น.............ที ่ตาแหน่ง x2 และเคลื่อนที่กลับมาทางด้านขวา
 ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

จากรูป 8.1 ง. รถทดลองเคลื่อนที่กลับมายังตาแหน่งเริ่มต้นที่เวลา


1
t = t2 ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ครบ.........................รอบพอดี
 จากการเคลื่อนที่ของรถทดลอง รูป 8 ก. ถึง ง. สามารถเขียนทิศ
ทางการเคลื่อนที่ได้อย่างไร
เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ
จุดเริ่มต้น
x1 x0 x2

จุดสุดท้าย
 เวลาที่รถทดลองใช้ในการเคลื่อนที่จากตาแหน่งเริ่มต้นจนกลับ
มาถึงตาแหน่งเดิม : เป็นเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ เรียกว่า
คาบ (period) แทนด้วยสัญลักษณ์ ............มี
............................ T หน่วยเป็น วิ…......……
นาที (s)

 ซึ่งพิจารณาถึง ความถี่ (frequency) หมายถึง


จานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา แทนด้วยสัญลักษณ์
.......................................................................
f
........................มี เฮิรตซ์ (Hz) หรือ รอบต่อวินาที
หน่วยเป็น …..............................................…….
 สมการหาคาบ (T) และความถี่ (f) 1
T f
 ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

x2 x0 x1
ตาแหน่งสมดุล
 ระยะจากตาแหน่งสมดุลไปยังตาแหน่งของรถทดลองขณะนั้นๆ
การกระจัด มีสัญลักษณ์ คือ…………… มีหน่วย
เรียกเวกเตอร์นี้ว่า ……………………
เมตร (m)
เป็น …………………….
 ตาแหน่งที่รถทดลองอยู่ห่างจากตาแหน่งสมดุลมากที่สุดหรือ
มีขนาดการกระจัดมากที่สุด เรียกขนาดการกระจัดสูงสุดนี้ว่า
แอมพลิจูด มีสัญลักษณ์ คือ……………
………………. A มีหน่วยเป็น …………………….
เมตร (m)
สรุป การเคลื่อนที่ของรถติดปลายสปริง
จุดเริ่มต้น

x2 x 4 x6 x0 x5 x 3 x1

 วัดระยะจากตาแหน่งสมดุล x0 ไปยังตาแหน่งของรถทดลอง
ขณะนั้นๆ เช่น x0 ไปยัง x1, x2, x3, x4, x5 และ x6 เรียกเวกเตอร์นี้ว่า
การกระจัด มีสัญลักษณ์ คือ…………… มีหน่วยเป็น …………………….
…………………… เมตร (m)
สรุป การเคลื่อนที่ของรถติดปลายสปริง
การเคลื่อนที่ของรถทดลองติดปลายสปริง

เป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ารอยเดิมผ่านตาแหน่งสมดุล
โดยมีแอมพลิจูดและคาบคงตัว

เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
(simple harmonic motion)
ตัวอย่าง 8.1
วัตถุชิ้นหนึ่งติดที่ปลายสปริง มีตาแหน่งสมดุลที่ x = 0 ดึงวัตถุไปตาแหน่ง x = 0.1
เมตร จากตาแหน่งสมดุล แล้วปล่อยวัตถุพร้อมเริ่มจับเวลา พบว่าวัตถุเคลื่อนที่
กลับมาที่ตาแหน่ง x = 0.1 เมตร อีกครั้ง ใช้เวลา 2.2 วินาที
จงหา ก. แอมพลิจูด ข. คาบ และ ค. ความถี่
ลองฝึกทานะคะ
วัตถุชิ้นหนึ่งติดที่ปลายสปริง มีตาแหน่งสมดุลที่ x = 0 ดึงวัตถุไปตาแหน่ง x = 30
เซนติเมตร จากตาแหน่งสมดุล แล้วปล่อยวัตถุพร้อมเริ่มจับเวลา พบว่าวัตถุ
เคลื่อนที่กลับมาที่ตาแหน่ง x = 30 เซนติเมตร อีกครั้ง ใช้เวลา 5.5 วินาที
จงหา ก. แอมพลิจูด ข. คาบ และ ค. ความถี่
คาถามตรวจสอบความเข้าใจ 8.1
1. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายมีลักษณะอย่างไร
ตอบ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ารอยเดิม
ผ่านตาแหน่งสมดุล โดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุด (แอมพลิจูด) และคาบ
ของการเคลื่อนที่คงตัว
2. จงอธิบายตาแหน่งสมดุล
ตอบ ตาแหน่งสมดุลเป็นตาแหน่งของวัตถุขณะแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์
ตามแนวการเคลื่อนที่ เช่น ตาแหน่งสมดุลของลูกตุ้มนาฬิกาอยู่ ณ จุดต่าสุดใน
แนวดิ่ง
3. การเคลื่อนที่แบบวงกลมของจุกยาง การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย เป็นการ
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แต่การ
เคลื่อนที่แบบวงกลมของจุกยางไม่ได้เป็น เนื่องจากเป็นการเคลื่อนที่ในทางเดียว
ไม่มีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
แบบฝึกหัด 8.1
1. ถ้าอนุภาคสั่นครบ 20 รอบ ในเวลา 40 วินาที จงหา
ก. ความถี่ ข. คาบ

2. จงหาคาบต่อไปนี้ (ในหน่วยวินาที)
ก. ชีพจรเต้น 29 ครั้ง ใน 20 วินาที ข. เครื่องยนต์หมุน 3200 รอบต่อนาที
แบบฝึกหัด 8.1
3. จงหาความถี่ของเหตุการณ์ต่อไปนี้ (ในหน่วยต่อวินาทีหรือเฮิรตซ์)
ก.สายซอสั่น 43 รอบ ใน 0.1 วินาที

ข. ใบพัดเครื่องปั่นอาหารหมุน 13000 รอบ ใน 1 นาที


แบบฝึกหัด 8.1
4. คันเคาะเครื่องสัญญาณเวลาทาให้เกิดจุดบนแถบกระดาษ 1200 จุด ใน 1 นาที
คาบและความถี่ของคันเคาะมีค่าเท่าใด (ในหน่วยวินาที และต่อวินาทีหรือเฮิรตซ์
ตามลาดับ)

You might also like