You are on page 1of 2

ชื่อวิทยานิพนธ์ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้


ตลอดชีวิต ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 สาหรับครู การศึกษานอกระบบในจังหวัดนราธิวาส
ผู้วจิ ัย นางจงกล อินน้อย รหัสนักศึกษา 2552900389
ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย)
อาจารย์ ที่ปรึกษา (1) รองศาสตราจารย์ ดร. สารี พนั ธุ์ ศุภวรรณ (2) ศาสตราจารย์ ดร. สุ มาลี สังข์ศรี
ปี การศึกษา 2557
บทคัดย่ อ

การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นในการจัดการศึกษา


นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต ตามหลักสูตรการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของครู การศึกษานอกระบบในจังหวัดนราธิวาส
และ(2) เปรี ยบเทียบระดับความคิดเห็ นในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอัธยาศัย
ตามหลักสู ตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ของครู จาแนกตาม
เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ตาแหน่ง และประสบการณ์ในการทางาน กศน. และ สถานที่ปฏิบตั ิงาน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ครู ในสังกัดสานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบ
และการศึ ก ษาตามอัธ ยาศัย จังหวัด นราธิ ว าส จานวน 228 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ในการวิจ ัยได้แ ก่
แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ
ผลการวิจยั ปรากฎว่า (1) ความคิดเห็นของครู ที่มีต่อการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต ตามหลักสู ตรการศึกษานอกระบบ ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านหลักสู ตร ด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ด้านการวัดและประเมิ นผล และด้านการศึกษาต่อเนื่ อง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ความ
คิดเห็นของครู กศน. ที่มีต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่ งเสริ มการ
เรี ยนรู ้ตลอดชีวิต ตามหลักสู ตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
จาแนกตาม เพศ อายุ ตาแหน่ ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ ในการทางาน กศน. มีระดับความ
คิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่ วนความคิดเห็นของครู จาแนกตาม สถานที่ปฏิบตั ิงาน มีระดับความคิดเห็น
แตกต่างกัน
คาสาคัญ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต หลักสูตร
การศึกษานอกระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Thesis title: Organizing Non-Formal Education and Informal Education to Promote
Lifelong Learning Based on the Basic Education Level of Non-Formal
Education Curriculum, B.E.2551 for Non-Formal Teachers in
Narathiwas Province
Researcher: Mrs. Jongkol Innoy; ID: 2552900389;
Degree: Master of Education (Nonformal and Informal Education);
Thesis advisors: (1) Dr. Sareepan Supawan, Associate Professor;
(2) Dr. Sumalee Sungsri, Professor; Academic year: 2014

Abstract

The purposes of this research were (1) to study the level of opinions
toward the provision of non-formal and informal education to promote lifelong
learning based on the basic education level of Non-Formal Education Curriculum,
B.E. 2551 of non-formal education teachers in Narathiwas province; and (2) to
compare the levels of opinions toward the provision of non-formal and informal
education to promote lifelong learning based on the basic education level of Non-
Formal Education Curriculum, B.E. 2551 of the non-formal education teachers
classified by gender, age, educational qualification, position, work experience in non-
formal education, and workplace.
The research sample consisted of 228 non-formal education teachers under
the Office of Non-Formal and Informal Education Promotion in Narathiwas province.
A questionnaire was employed as the data collecting instrument. The data were
analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test.
The research findings were as follows: (1) the non-formal education
teachers’ overall opinion toward the provision of non-formal education and informal
education to promote lifelong learning based on the basic education level of Non-
Formal Education Curriculum, B.E. 2551 was at the high level for all four aspects of
educational provision, namely, the curriculum aspect, the organizing of learning
activities aspect, the measurement and evaluation of learning outcomes aspect, and
the continuing education aspect; and (2) non-formal education teachers with different
genders, ages, positions, different educational qualifications and experiences in non-
formal education did not significantly differ in their levels of opinions toward the
provision of non-formal and informal education to promote lifelong learning based on
the basic education level of Non-Formal Education Curriculum; while the teachers
with workplaces differed significantly in their levels of opinions.

Keywords: Non-formal and informal education; Lifelong learning;


Non-Formal Education Curriculum, B.E. 2551

You might also like