You are on page 1of 12

polymer

Phuriwat Chantraworawit No.23


Nonthawat Benjapornratkul No.9
CHEMISTRY
พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบทีมีโมเลกุลขนาด
ใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของ
สารทีอาจจเหมือนกันหรื อต่างกันมาเชือมต่อกันด้วยพันธะ
โคเวเลนต์
มอนอเมอร์ (Monomer) คือ หน่วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร์
พอลิเมอร์ แบ่ งตามเกณฑ์ ต่าง ๆ ดังนี

แบ่งตามการเกิด
ก. พอลิเมอร์ธรรมชาติ เป็ นพอลิเมอร์ทีเกิดขึนเองตามธรรมชาติ เช่น
โปรตีน แป้ง เซลลูโลส ยางธรรมชาติ
ข. พอลิเมอร์สงั เคราะห์ เป็ นพอลิเมอร์ทีเกิดจากการสังเคราะห์เพือใช้
ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ไนลอน ดาครอนและลูไซต์

แบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์ ทเป็ี นองค์ประกอบ


ก. โฮมอลิเมอร์ เป็ นพอลิเมอร์ทีประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิด
เดียวกัน เช่น แป้ง พอลิเอทิลีน PVC

ข. โคพอลิเมอร์ เป็ นพอลิเมอร์ทีประกอบด้วยมอนอเมอร์ต่างชนิด


กัน เช่น โปรตีน พอลิเอสเทอร์
โครงสร้างของพอลิเมอร์
ก. พอลิเมอร์ แบบเส้ น

เป็ นพอลิเมอร์ทีเกิดจากมอนอเมอร์สร้างพันธะต่อกันเป็ นสายยาว


โซ่พอลิเมอร์เรี ยงชิดกันมากว่าโครงสร้างแบบอืน ๆ จึงมีความ
หนาแน่น และจุดหลอมเหลวสูง มีลกั ษณะแข็ง ขุ่นเหนียวกว่า
โครงสร้างอืนๆ ตัวอย่าง PVC พอลิสไตรี น พอลิเอทิลีน

ข. พอลิเมอร์ แบบกิง

เป็ นพอลิเมอร์ทีเกิดจากมอนอเมอร์ยดึ กันแตกกิงก้านสาขา มีทงโซ่



สันและโซ่ยาว กิงทีแตกจาก พอลิเมอร์ของโซ่หลัก ทําให้ไม่
สามารถจัดเรี ยงโซ่พอลิเมอร์ให้ชิดกันได้มาก จึงมีความหนาแน่น
และจุดหลอมเหลวตํายืดหยุน่ ได้ ความเหนียวตํา โครงสร้างเปลียน
รู ปได้ง่ายเมืออุณหภูมิเพิมขึน ตัวอย่าง พอลิเอทิลีนชนิดความ
หนาแน่นตํา
ค. พอลิเมอร์ แบบร่ างแห

เป็ นพอลิเมอร์ทีเกิดจากมอนอเมอร์ต่อเชือมกันเป็ นร่ างแห พอลิเม


อร์ชนิดนีมีความแข็งแกร่ ง และเปราะหักง่าย ตัวอย่างเบกาไลต์ เม
ลามีนใช้ทาํ ถ้วยชาม

พอลิเมอร์ มีกีประเภท
1. กรณีแบ่งตามแหล่งกําเนิดของพอลิเมอร์ จะมี 2 ประเภท ได้แก่
1.1 พอลิเมอร์ ธรรมชาติ ซึ งเป็ นได้ทงสารอิ
ั นทรี ยแ์ ละสารอนินทรี ย ์ เช่น
ไกลโคเจน แป้ง ทรายซิลิกา
1.2 พอลิเมอร์ สังเคราะห์ เช่น พลาสติก ยางสังเคราะห์
2. กรณีแบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์ ทเป็ี นองค์ ประกอบ จะมี 2
ประเภท ได้แก่
2.1 โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) เป็ นพอลิเมอร์ที
ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน

2.2 โคพอลิเมอร์ (Copolymer) เป็ นพอลิเมอร์ทีประกอบด้วยหน่วย


เล็กๆ ของมอนอเมอร์ต่างชนิดกัน เช่น สายโซ่ของโปรตีน เป็ นพอลิเมอร์ทีเกิด
จากกรดอะมิโนต่างชนิดกันมารวมตัวกัน
3. กรณีแบ่งตามคุณสมบัติหรื อการใช้ งานของพอลิเมอร์ จะแบ่งได้ 3
ประเภท ได้แก่

3.1 เส้ นใย ซึ งมีลกั ษณะเป็ นเส้นเล็กยาว มีความแข็งแรง และทนต่อแรงดึง


ตามความยาวของเส้น เช่น ขนสัตว์ ไหม เส้นใยสังเคราะห์ ฝ้าย

3.2 สารยืดหยุ่น เป็ นพอลิเมอร์ทีสามารถปรับเปลียนรู ปร่ างเมือยืดดึงและ


เมือปล่อยก็จะกลับคืนสู่ สภาพเดิมได้ ทังนี เนืองจากแรงยึดระหว่างโมเลกุลไม่
แข็งแรงมากนัก เมือถูกยืดโมเลกุลก็จะยืดออกและเรี ยงตัวเป็ นระเบียบ แต่เมือ
ปล่อยจากการยืดก็จะกลับสู่สภาพทีเป็ นสายโซ่ทีพันขดกันเป็ นก้อนเหมือนเดิม
เช่น ถุงมือยาง ยางรถยนต์

3.3 พลาสติก เป็ นสารประกอบอนินทรี ยท์ ีสังเคราะห์ขนใช้ึ แทนวัสดุ


ธรรมชาติ บางชนิดเมือเย็นก็แข็งตัว เมือถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิด
แข็งตัวถาวร เช่น ไนลอน เสื อผ้า ฟิ ลม์ ภาชนะ
พอลิเมอร์ มีโครงสร้ างแบบไหน
1. โครงสร้ างแบบโซ่ ตรงหรื อแบบสายยาว เป็ นโครงสร้างทีมอนอ
เมอร์จะสร้างพันธะเรี ยงต่อกันเป็ นเส้นตรง มีสมบัติเหนียว แข็งแรง
สามารถยืดตัวและโค้งงอได้ เมือได้รับความร้อนจะอ่อนตัวและจะ
แข็งตัวเมืออุณหภูมิลดลง สามารถเปลียนกลับไปกลับมาได้โดยทีสมบัติ
ของพอลิเมอร์ไม่เปลียนแปลง
2. โครงสร้ างแบบกิงหรื อแบบสาขา เป็ นโครงสร้างทีมีมอนอเมอร์มา
ยึดกันและแตกกิงก้านสาขาออกจากโซ่พอลิเมอร์หลัก ซึ งโครงสร้าง
แบบนีจะมีลกั ษณะคล้ายโครงสร้างแบบยาว แต่จะมีความหนาแน่นน้อย
และโค้งงอได้ดีกว่า เนืองจากมีกิงก้านสาขาขวางกันอยูร่ ะหว่างโมเลกุล
ของสายพอลิเมอร์นนเอง

3. โครงสร้ างแบบร่ างแหหรื อแบบตาข่ าย เป็ นโครงสร้างทีมอนอเมอร์
นันเชือมต่อกันเป็ นร่ างแห ภายในโมเลกุลมีกิงก้านสาขาเชือมโยงกัน มี
สมบัติแข็งแรง ทนทาน โค้งงอได้นอ้ ย คงรู ปร่ างไม่ยดื หยุน่ และทน
ความร้อนได้ดี เนืองจากโมเลกุลยึดกันแน่นในทุก ๆ ทิศทาง
โครงสร้างพอลิเมอร์
การสังเคราะห์ พอลิเมอร์ คืออะไร
การสังเคราะห์พอลิเมอร์ เกิดจากปฏิกิริยาเคมีทีเรี ยกว่า ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซ
ชัน (Polymerization) ของมอนอเมอร์ มีอยู่ 2 แบบหลัก ๆ โดยแบ่ง
ตามลักษณะการเกิดปฏิกิริยา ดังนี
1. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบต่อเติม (Addition
Polymerization) คือ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จากมอนอเมอร์ทีมี
พันธะคู่รวมตัวกัน เมือเกิดการรวมตัวพันธะคู่จะเปิ ดออกแล้วต่อกันเป็ นพอลิ
เมอร์ทียาวออกไป เกิดเป็ นไฮโดรคาร์บอนอิมตัว โดยอาศัยอุณหภูมิ ความดัน
และตัวเร่ งปฏิกิริยาทีเหมาะสม

2. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (Condensation
Polymerization) เกิดจากมอนอเมอร์ อย่างน้อย 2 ชนิดมารวมกัน
โดยแต่ละชนิดมีหมู่ทีทําหน้าทีเฉพาะมากกว่าหนึงหมู่ เมือรวมหรื อควบแน่น
กันจะมีสารโมเลกุลเล็ก
พอลิเมอร์ ในชีวติ ประจําวัน มีอะไรบ้าง
1. พลาสติก ซึงแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
-เทอร์ โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็ นพลาสติกทีมีโครงสร้าง
แบบโซ่ตรง หรื อโครงสร้างแบบกิงเป็ นสายยาว เมือได้รับความร้อนจะอ่อน
ตัวและหลอมเหลว แต่หากอุณหภูมิลดลงจะกลับไปแข็งตัวตามเดิม อีกทัง
ยังสามารถหลอมซําและทําให้เป็ นรู ปร่ างเดิมหรื อรู ปร่ างใหม่โดยทีสมบัติ
ของพลาสติกยังคงเดิมได้อีกด้วย

-เทอร์ โมเซตพลาสติก (Thermosetplastic) คือ พลาสติกทีมี


โครงสร้างแบบตาข่ายหรื อร่ างแห หากได้รับความร้อนจะไม่อ่อนตัว เมือ
ขึนรู ปแล้วจะแข็งตัวและมีความแข็งแรง ทนต่อความร้อนและความกดดัน
กรณี ทีเกิดการแตกหักหรื อไหม้กลายเป็ นขีเถ้าจะไม่สามารถนํากลับไปขึน
รู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้
2. เส้ นใยสังเคราะห์ โดยสังเคราะห์ขึนจากปฏิกิริยาการรวมตัวระหว่าง
มอนอเมอร์ 2 ชนิด ทีไม่มีพนั ธะคู่ระหว่างอะตอมคาร์บอนกับ
คาร์บอน แต่มีหมู่อืนซึงไวต่อปฏิกิริยาแทน เช่น หมูแ่ อมิโน (–
NH2) หมู่คาร์บอกซิล (CO2H) หรื อหมู่ไฮดรอกซิล (OH)
เส้นใยทีผลิตได้จะมีความเหนียว ทนทาน ยับยาก ซักรี ดได้งา่ ย และ
ทนกรด-เบสได้ดีกว่าเส้นใยธรรมชาติ

3. ยาง ซึ งมีทงยางธรรมชาติ
ั ทีเกิดจากมอนอเมอร์ทีเรี ยกว่า ไอโซพรี น
รวมตัวกันเป็ นพอลิไอโซพรี น และยางสังเคราะห์ ซึงเป็ นพอลิเมอร์ที
มีสมบัติยดื หยุน่ ได้สูงมาก แต่หากได้รับความร้อนสู งเป็ นเวลานาน
สมบัติต่างๆ จะเสี ยไป และไม่สามารถหลอมกลับมาใช้ใหม่ได้ โดย
ยางนันมีหลายประเภท ไม่วา่ จะเป็ นนีโอพรี น ยางเอสบีอาร์ และยาง
เอบีเอส
4. ซิลิโคน ซึงเป็ นพอลิเมอร์ทีเกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบ
ควบแน่น โมเลกุลของมอนอเมอร์แต่ละโมเลกุลจะประกอบด้วยสา
รอนินทรี ย์

5. โฟม โดยโฟมนันเป็ นพอลิเมอร์สงั เคราะห์ทผ่ี านกระบวนการเติม


แก๊สให้เกิดฟองจํานวนมากแทรกอยูร่ ะหว่างเนือพลาสติก ส่งผลให้
เนือโฟมเบาและมีความยืดหยุน่ นิยมใช้สาํ หรับการบรรจุอาหารได้ทงั
อาหารร้อนและอาหารเย็น แต่มีขอ้ เสี ยคือย่อยสลายเองทางธรรมชาติ
ได้ยากและยากในการกําจัด

You might also like