You are on page 1of 9

วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 79

การพัฒนาแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน


สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนบ้านทานบ
อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
The Development of the Skill Workbook for Basic Melodeon
for Mattayom 2 Students in Bantanop School,
Thatagow District, NakhonSawan Province.
วิชาญ เอีย่ มคง*

บทคัดย่อ
การวิจ ัย ในครัง้ นี้ มีว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่อ พัฒ นาแบบฝึ ก เมโลเดีย นขัน้ พื้น ฐานส าหรับ นั ก เรีย นชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ทัง้ นี้ เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึ ก
เมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน ตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ์ ยน ก่อนและหลังการเรียน โดยการ
ใช้แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน และเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มตี ่อการเรียนโดยใช้แบบฝึ กเม
โลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน กลุ่มทดลองทีใ่ ช้ ในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ เป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้าน
ทานบ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ภาคเรียนฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2552 จานวน 31 คน
เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ
อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ จานวน 10 ชุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ์ ยน เป็ นแบบปรนัยชนิด
เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึ กเม
โลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน เป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ซึง่ มี 5 ระดับ จานวน 20 ข้อ ผลการศึกษา
พบว่า
แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่า
ตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 96.08 / 92.90 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ 80 / 80 ทีต่ งั ้ ไว้
นักเรียนที่เรียนโดยการใช้แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน มีคะแนนทดสอบหลังการเรียน โดยการใช้
แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐานทีส่ งู กว่าก่อนการเรียนโดยใช้แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทีร่ ะดับ .01
ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน มีค่าเท่ากับ 0.8565 แสดงว่า นักเรียน มีความรู้
เพิม่ ขึน้ หลังจากฝึ กด้วยแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน ร้อยละ 85.65 ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อการเรียน
โดยใช้แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ

คาสาคัญ : เมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน การพัฒนา

*นักศึก ษาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาดนตรี (ดนตรีศึกษา) คณะมนุ ษยศาสตร์และสัง คมศาสตร์


มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 80

Abstract
The purposes of the study on the development of the skill workbook for Basic Melodoen for
Mattayom 2 students in Bantanop School, Thatagow District, Nakhorn Sawan Province were to find out
effectiveness of the practice workbook by the standard criteria 80/80 was carried out, to compare the
learning achievement with the use of the practice workbook, and to evaluate the students’ attitude on the
practice workbook for Basic Melodoen. The sample was a group of 31 Mattayom 2 students taking the
course of Basic Melodeon at Bantanop School under the jurisdiction of Nakhorn Sawan Educational
Area, in summer of academic year 2009. The research instruments were 10 sets of workbook for Basic
Melodoen for Mattayom 2 students in Bantamnop School, Thatagow District, Nakhon Sawan Province,
the 4-choice multiple type of the 30-item achievement test, and the 5-scale and 20-item attitudinaire. The
results of study were as follows:
The effectiveness of the skill workbook for Mattayom 2 students in Bantamnop School,
Thatagow District, Nakhon Sawan Province was 96.08/92.90 higher than the standard criteria 80/80.
The students learning the Basic Melodeon with the use of the skill workbook gained significantly
higher score in the posttest at the significance level of .01.
The efficiency index of the skill workbook was 0.8565, so the students made 85.65 per cent
increase of their knowledge and skill after the practice with the skill workbook.
On average, the level of satisfaction on learning with the skill workbook was at a very high level.

Keyword : Basic Melodoen, Development

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ความเจริญ ของโลกยุ คโลกาภิว ัต น์ นัน้ มีค วามก้า วหน้ า ทางด้า นเทคโนโลยีแ ละการสื่อ สาร มีก าร
เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ด้วยผลอันเกิดจากความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ จึงจาเป็ นทีแ่ ต่ละ
ประเทศ ต้องมีการปรับกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึน้ อยู่ตลอดเวลาและพร้อมทีจ่ ะ
เผชิญกับความท้าทายของกระแสโลกอันไร้พรมแดน โดยปจั จัยสาคัญทีจ่ ะเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงและความท้า
ทายดังกล่าว ได้แก่ คุณภาพของคน ดังนัน้ การศึกษามีบทบาทและหน้าทีส่ าคัญ ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ให้มคี วามรูพ้ น้ื ฐานเพียงพอ รูจ้ กั คิด รูจ้ กั ใฝห่ าความรูป้ ระสบการณ์ดว้ ยตนเองรูจ้ กั พัฒนา มีทกั ษะในการเรียนรู้ มี
ค่านิยมทีด่ ี และมีการ ส่งเสริมความเป็ นเลิศความสามารถตามความถนัดของแต่ละบุคคลตามศักยภาพ ในการ
จัดการเรียน การสอนเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพในการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย นัน้ รัฐมี
นโยบายให้กระทรวงศึกษาธิการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ ซึง่ ถือเป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของประเทศ เพื่อสร้างคนไทยให้เป็ นคนดี คนเก่งมีปญั ญา มีความสุข ในการเรียนรู้ มีศกั ยภาพพร้อมที่
จะเข้าแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีระดับโลก ดังนัน้ กระทรวงศึกษาธิการ โดยอาศัยอานาจตามความ
ในบทเฉพาะกาล มาตรา 75 แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จึงเห็นสมควรกาหนดให้มี
หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 มีมาตรฐานการเรียนรูแ้ ต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ช่วงชัน้ ละ 3 ปี
โดยให้สถานศึกษาจัดทาสาระในรายละเอียดเป็ นรายปี หรือรายภาค ให้สอดคล้องกับสภาพปญั หาในชุมชน สังคม
ภูมปิ ญั ญา ท้องถิน่ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็ นสมาชิกที่ดขี องครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
รวมถึงจัดให้สอดคล้อง กับความสามารถ ความถนัด ความสนใจ ของผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มเป้าหมายโดยจัดกิจกรรม
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 81

ให้ผเู้ รียนได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง ฝึ กการปฏิบตั ใิ ห้ทาได้ คิดเป็ น ทาเป็ น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้


อย่างต่อเนื่อง ผสมผสานสาระความรูด้ า้ นต่าง ๆ การปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีด่ งี าม และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ไว้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อานวยความ สะดวกให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรูใ้ น
การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 ในครัง้ นี้ เพื่อให้เหมาะสมและทันต่อการเปลีย่ นแปลง
ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการใหม่ ๆ โดยยึดหลักการ
เรียนรู้ว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสาคัญ สามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ท่ี
สมบูรณ์ทงั ้ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปญั ญา มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข จึงต้องมีการจัดทาหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐานซึง่ ประกอบด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ทจ่ี าเป็ นต่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูเ้ รียน (กรมวิชาการ,กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 1)
กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ(ดนตรี)มีจุดมุ่งหมายให้ผเู้ รียนเข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์
เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล แสดงออกถึง
ความรูส้ กึ ในการรับรูค้ วามไพเราะของเสียงดนตรี ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ มีความสนใจ สร้างสรรค์ทางดนตรี และนา
ความรูท้ างดนตรีไปใช้กบั วิชาอื่น ๆ ในชีวติ ประจาวันได้ (กรมวิชาการ,กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 13)
ดนตรีท่ีเ กิด ขึ้น ในแต่ ละสัง คม มีโ ครงสร้า งและเอกลัก ษณ์ ท างดนตรี ที่เ ป็ น แบบฉบับ ของตนเอง
โดยเฉพาะ ซึง่ รูปแบบที่เกิดขึน้ สะท้อนภาพถึงความเป็ นอยู่ในสังคมและบ่งบอกถึ งวิถชี วี ติ วัฒนธรรม ประเพณี
และพฤติกรรมของผูค้ นดนตรีเป็ นศิลปะอย่างหนึ่งซึง่ มีประจาอยู่ใน ทุกกลุ่มของสังคมดังที่ แชปเบล เพทริเซีย
เชอฮาน ซู วิลเลีย่ มสัน และแพรี (Campbell, Patricia shehan, Sue Williamson และPierre Perron) (ณรุทร์
สุทธจิตต์. 2545 : 41) กล่าวว่า “ ถึงแม้ดนตรีของแต่ละชุมชนจะมีความแตกต่างกัน แต่มนุ ษย์ทวโลกก็ ั่ มบี ทเพลง
มีดนตรีเพื่อใช้เฉลิมฉลองแสดงความคร่าครวญ แสดงออกถึงความรัก ความสนุกสนานรื่นเริง ความเสียใจและการ
สูญเสียทีย่ งิ่ ใหญ่ คนอาจจะเล่นหรือร้องคนเดียวหรือหลายคนพร้อมกัน เพื่อให้เกิดสมาธิ สันติภาพ หรือเป็ นการ
ระบายออกซึง่ อารมณ์และความรูส้ กึ ดนตรีเป็ นสือ่ ทีช่ ่วยให้เกิดความรูส้ กึ ร่วมกับครอบครัวหรือเพื่อน ”
พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดุยลเดช รัชกาลที่ 9 ตอนหนึ่ง ทรงกล่าวถึง
ความสาคัญของดนตรีว่า การดนตรีเป็ นศิลปะอย่างหนึ่งทีส่ ามารถก่อให้เกิดความปิ ติ ความสุข ความยินดี ความ
พอใจได้มากที่สุด หน้ าที่ของนักดนตรีคือ ทาให้ผู้ฟงั เกิดความพอใจ ความครึกครื้น ความอดทน ความขยัน
ความเข้มแข็งและความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือนอกจาก จะสร้างความบันเทิง แล้ว ควรแสดงในสิง่ ทีส่ ร้างสรรค์
เช่น ชักนาให้คนเป็ นคนดีและยังทรงย้าว่า การดนตรีน้เี ป็ นสิง่ สาคัญสาหรับประเทศชาติ สาหรับสังคม ถ้าทาดีกท็ า
ให้คนมีกาลังใจปฏิบตั ริ าชการ เป็ นส่วนหนึ่งทีใ่ ห้ความบันเทิง ทาให้คนทีก่ าลังท้อใจมีกาลังใจขึน้ มาได้ คือเร้าใจ
คนกาลัง จะไปอีกทางหนึ่ง ทางทีไ่ ม่ถูกต้องก็อาจจะดึงกลับมาในทางทีถ่ ูกต้องได้ (ถวัลย์ มาศจรัส. 2526 : 132)
สอดคล้องกับแนวคิดของ อรวรรณ บรรจงศิลป์ (2534 : 40) ทีว่ ่า ดนตรีมอี ทิ ธิพลต่ออารมณ์มนุ ษย์บทเพลง
สามารถทาให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์และความรูส้ กึ ต่าง ๆ ทวี มุขธุรโกษา และสมชัย หงษ์ทองคา (2520 : 20)ได้กล่าวถึง
ดนตรีว่า “ ดนตรีคอื ภาษาสากล ซึง่ หมายความว่า ดนตรีสามารถเป็ นสือ่ เชื่อมโยงถึงมนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษา ทุก
เพศ ทุกวัย ” กล่าวสรุปได้ว่า ดนตรีมีคุณค่า มีอิทธิพล ต่ อวิถีชีวิตเป็ นอย่างยิง่ ดังบทกลอนของ สุนทรภู่ ใน
วรรณคดีเรื่อง พระอภัยมณี ตอนหนึ่งว่า อันดนตรีมคี ุณทุกสิง่ ไป ย่อมใช้ได้ดงั จินดาค่าบุรนิ ทร์
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าดนตรีมีความสาคัญเป็ นอย่างมาก ดนตรีเป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์
ก่อให้เกิดความปิ ติ ความสุข ความยินดี ให้ความบันเทิงแก่ผฟู้ งั นาไปสู่การคลายเครียด ดนตรีสามารถทาให้
บุคคลแสดงอารมณ์ได้อย่างหลากหลายทัง้ ฮึกเหิม ดีใจ เสียใจ กล้าหาญ ดนตรีสามารถสะท้อนภาพ แสดงถึง
เอกลักษณ์ความเป็ นอยู่ในสังคมแต่ละกลุ่มชนได้ หน้าทีข่ องนักดนตรี คือ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความพึงพอใจ เกิดความ
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 82

ครึกครืน้ ความอดทน ความขยัน ความเข้มแข็ง และความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน จะเห็นได้จากการแต่งเพลงให้


มีความรักชาติ เช่น เพลงปลุกใจ
ผูว้ จิ ยั ซึง่ เป็ นครูผสู้ อนนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นและได้รบั มอบหมายจากกลุ่ม โรงเรียนสาม
พระยา ให้ทาหน้าที่ครูวชิ าการประจากลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ จึงมีโอกาสได้ออกเยีย่ มโรงเรียนภายในกลุ่ม ฯ
พร้อมกับนาแบบทดสอบวิชาดนตรีไปนิเทศก์นกั เรียนภายในกลุ่มด้วย จากการดาเนินการดังกล่าว พบว่านักเรียน
ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 75 ขาดความรูแ้ ละทักษะด้านดนตรี จากการสอบถามครูสอนดนตรีแต่ละโรงเรียนจึงทาให้ทราบ
ว่า ปญั หาสาคัญคือครูไม่มที กั ษะด้านการสอนวิชาดนตรี ปญั หารองลงมาได้แก่ผบู้ ริหารไม่เห็นความสาคัญของ
วิชาดนตรี จึงมอบหมายให้ครูคนใดก็ได้เป็ นผู้สอนวิชาดนตรี และโรงเรียนขาดแคลนงบประมาณในการจัดซื้อ
เครื่องดนตรีเพื่อเป็ นสือ่ การเรียนการสอน
ผูว้ จิ ยั เห็นว่า วิชาดนตรีเป็ นวิชาทีม่ สี ว่ นช่วยในการสร้างเสริมบุคลิกลักษณะ สติปญั ญา อารมณ์ และ
สังคม เป็ นวิชาทีม่ ลี กั ษณะของเนื้อหาทีต่ อ้ งใช้ทกั ษะในการปฏิบตั ิ ซึง่ เป็ นการปฏิบตั ิ ทีม่ ที งั ้ แบบกลุ่มและตัวต่อตัว
รวมทัง้ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ความซาบซึง้ ในเนื้อหาเป็ นอย่างดี จึงจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ เมื่อบุคคลเกิดการ
เรียนรูแ้ ล้ว บุคคลนัน้ จะเกิดการเปลีย่ นแปลง 3 ด้าน คือ ด้านความรูค้ วามเข้าใจ ด้านทักษะ และด้านเจตคติ เมื่อ
เกิดทัง้ 3 ด้าน จึงส่งผลให้มคี วามสนใจ เอาใจใส่ มีความสนุกสนาน มีการรวมกลุม่ กันเอง รูจ้ กั คิด รูจ้ กั ทาให้เกิด
การพัฒนา เกิดความคิดสร้างสรรค์ ซึง่ สอดคล้องกับแนวคิดของ สุชาติ สิมดี (2538 : 70-75) ทีว่ ่า “ ผูเ้ รียนดนตรี
ทีด่ จี ะต้องมีสมาธิทด่ี ี มีสติปญั ญา เฉลียวฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบ มีระเบียบวินยั มีความอดทน ขยันฝึกซ้อม
ทาให้ผลการเรียนรูเ้ กิดขึน้ กับตัวผูเ้ รียนดีขน้ึ ” จากหลักสาคัญดังทีก่ ล่าว ผูว้ จิ ยั จึงวางแผนจัดหลักสูตรการเรียนการ
สอนวิชาดนตรี โดยการใช้แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน เป็ นสือ่ การสอนและใช้เมโลเดียนเป็ นอุปกรณ์เครื่องดนตรี

วัตถุประสงค์การวิ จยั
1. เพื่อเป็ นการพัฒนาแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียน
บ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
2. เพื่อตรวจสอบแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้าน
ทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ โดย
2.1 ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80
2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี
์ ยนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการใช้แบบ
ฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัด
นครสวรรค์
2.3 ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านดนตรีของนักเรียน
2.4 ศึกษาความพึงพอใจในการใช้แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์

สมมุติฐานการวิ จยั
1. แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่า
ตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80
2. ผลสัมฤทธิทางการเรี
์ ยนของนักเรียนหลังเรียนด้วยการใช้แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐานสาหรับ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ สูงกว่าก่อนเรียน
3. นักเรียนมีทกั ษะด้านดนตรีเพิม่ ขึน้
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 83

4. นักเรียนทีเ่ รียนโดยการใช้แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปี ท่ี 2 โรงเรียน


บ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีความพึงพอใจในระดับมาก

ขอบเขตการวิ จยั
1. ประชากรและกลุ่มทดลองในการวิจยั ได้แก่ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ภาคเรียนฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2552 จานวน 31 คน
2. ตัวแปรทีใ่ ช้ในการรายงาน
2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยม ศึกษาปี ท่ี 2
โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
2.2.1 ดัช นี ป ระสิท ธิผ ลของแบบฝึ ก เมโลเดีย นขัน้ พื้น ฐาน สาหรับ นัก เรีย น ชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
2.2.2 ผลสัมฤทธิทางการเรี
์ ยน
2.2.3 ทักษะทางด้านดนตรี
2.2.4 ความพึงพอใจของนักเรียนจากการใช้แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐานสาหรับ
นักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
3. เนื้อหาแบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอ
ท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ จานวน 10 ชุด ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ลักษณะทัวไปของเมโลเดี
่ ยน
ชุดที่ 2 เรื่อง วิธจี บั เมโลเดียนและการฝึกไล่น้วิ
ชุดที่ 3 เรื่อง การฝึกไล่น้วิ ตามอัตราจังหวะโน้ตตัวดา
ชุดที่ 4 เรื่อง การฝึกไล่น้วิ ตามอัตราจังหวะโน้ตตัวขาว
ชุดที่ 5 เรื่อง การฝึกไล่น้วิ ตามอัตราจังหวะโน้ตตัวกลม
ชุดที่ 6 เรื่อง โน้ตสากลเบือ้ งต้น : บรรทัด 5 เส้น เส้นน้อย เส้นกัน้ ห้อง
ชุดที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลเบือ้ งต้น : ตาแหน่ งเสียงบนบรรทัด 5 เส้น และเครื่องหมายกาหนด
จังหวะ
ชุดที่ 8 เรื่อง การเปา่ เมโลเดียนเสียงโด เร มี ฟา ซอล
ชุดที่ 9 เรื่อง การเปา่ เมโลเดียนเสียงซอล ลา ที โด เร
ชุดที่ 10 เรื่อง การเปา่ เมโลเดียนตามบทเพลงในบันไดเสียงซีเมเจอร์
4. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการทดลองในภาคเรียนฤดูร้อน ปี การศึกษา 2552
ระหว่างวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2553 ถึง วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 โดยใช้เวลา ในการทดลอง
สัปดาห์ละ 2 วัน ๆ ละ 1 ชัวโมง ่ รวม 10 วัน 10 ชัวโมง(ไม่
่ รวมทดสอบก่อนเรียน และทดสอบหลังเรียน)

สรุปผลการวิ จยั
1.แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่า
ตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 6.08/92.90 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ 80 / 80 ทีต่ งั ้ ไว้
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 84

2.นักเรียนที่เรียนโดยการใช้ แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปี ท่ี 2


โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีผลคะแนนทดสอบหลังการใช้ แบบฝึ กเมโลเดียน
ขัน้ พืน้ ฐาน สูงกว่าก่อนการใช้แบบฝึก อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01
3.ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียน
บ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีค่าเท่ากับ 0.8565 แสดงว่านักเรียน มีความรูเ้ พิม่ ขึน้
หลังจากฝึกด้วยแบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน ร้อยละ 85.65
4. ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีต่อการเรียน โดยแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากทีส่ ดุ

อภิ ปรายผล
1. จากการวิจยั พบว่า แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียน
บ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 96.08 / 92.90 หมายความว่า แบบ
ฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐานสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัด
นครสวรรค์ ทาให้นักเรียนเกิดทักษะเฉลีย่ ร้อยละ 96.08 และผูเ้ รียนมีความรูห้ ลังจากการฝึ กทักษะด้วยการ
ปฎิบตั แิ บบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก
จังหวัดนครสวรรค์ เฉลีย่ ร้อยละ 92.90 ซึง่ มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ทต่ี งั ้ ไว้ และเป็ นไปตามสมมุติฐานข้อที่
1 การทีแ่ บบฝึกเมโลเดียน ขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่า
ตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ มีประสิทธิภาพสูง อาจเนื่อง มาจากเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ
1.1 แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน สาหรับนักเรีย นชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ
อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ทีไ่ ด้สร้างขึน้ มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม กาหนดวัตถุประสงค์
สอดคล้องกับเนื้อหา นักเรียนเรียนรูไ้ ด้อย่างเป็ นขัน้ ตอน จากง่ายไปหายาก เป็ นการจัดกิจกรรมทีเ่ น้นฝึ กปฏิบตั ิ
และคานึงถึงวุฒภิ าวะของผูเ้ รียน เป็ นการสอนทีย่ ดึ เนื้อหาวิชาและผูเ้ รียนเป็ นหลัก
1.2 แบบฝึ ก เมโลเดีย นขัน้ พื้น ฐาน สาหรับ นักเรีย นชัน้ มัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้าน ท านบ
อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ที่ผวู้ จิ ยั สร้างขึน้ ได้ผ่านกระบวนการตามลาดับขัน้ ของการวิจยั กล่ าวคือ ได้
ผ่านการกลันกรองจากผู
่ เ้ ชีย่ วชาญทัง้ 3 ท่าน มีการทดลองใช้เครื่องมือกับนักเรียนทีเ่ ป็ นกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมด 2
ครัง้ และนาผลทีไ่ ด้ มาปรับปรุง แก้ไข ก่อนทีจ่ ะนาไปทดลองจริงกับกลุ่มตัวอย่าง จากผลการวิจยั ครัง้ นี้ทาให้
ทราบว่า แบบฝึกทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เน้นทีก่ ารฝึกทักษะโดยให้นกั เรียนได้ฝึกปฏิบตั จิ ริง เมื่อนักเรียนฝึกทักษะไม่ผ่าน
ในเรื่องใด ก็สามารถทาการสอนซ่อมเสริมเป็ นรายบุคคล เปิ ดโอกาสให้เด็กได้ทาซ้า ๆ ทาให้สามารถแก้ไข
ข้อบกพร่องของนักเรียนได้ทนั ท่วงที ซึ่งจะสอดคล้องกับระบบการสอนดนตรี ของซูซูกิ ทีใ่ ห้ เด็กเรียนรูโ้ ดยการ
เลียนแบบและทาซ้า ๆ การให้ทาแบบฝึกหัดหรือการฝึกซ้าจะทาให้เกิดทักษะ
1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผูว้ จิ ยั ได้จดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ คานึงถึง
พืน้ ฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดการเรียนรูโ้ ดยกระบวนการกลุ่ม ร่ว มมือกันเรียนรู้ มีการทางานเป็ น
กลุ่ ม นัก เรีย นได้ร ับ ประสบการณ์ ใ นการท างานเป็ น ทีม ขณะท าแบบฝึ ก เมโลเดีย นขัน้ พื้น ฐานในแต่ ละชุ ด
บรรยากาศในการเรียนรูจ้ ะไม่เครียด กิจกรรมการเรียนการสอนเริม่ จากง่าย ไปหายาก มีความต่อเนื่อง และ
ผูว้ จิ ยั ให้กาลังใจชมเชยนักเรียนทุกครัง้ ทีป่ ฏิบตั ไิ ด้ดี ทาให้นกั เรียนเกิดกาลังใจในการฝึ กฝน เกิดความสนุ กสนาน
เพลิดเพลิน ในการเรียนจนสามารถเล่นเครื่องดนตรีเมโลเดียนได้ดี
2. คะแนนผลสัมฤทธิทางการเรี
์ ยน กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ชิ าศิลปะ (ดนตรี) ของนักเรียนทีเ่ รียนด้วย
แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พื้นฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 85

จังหวัดนครสวรรค์ มีคะแนนเฉลีย่ หลังเรียนทีส่ งู กว่าคะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01


เป็ นไปตามสมมติฐานที่ตงั ้ ไว้ขอ้ ที่ 2 แสดงว่าการสอนโดยใช้แบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย ใ ห้ นั ก เ รี ย น มี
ความก้าวหน้าทางการเรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิทางการเรี ์ ยนสูงขึน้ ทัง้ นี้ อาจเนื่องมาจากแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้
พืน้ ฐาน มีหลักการสร้างทีด่ ี โดยเรียงลาดับจากง่ายไปหายาก เหมาะสมกับวัย และกิจกรรมการเรียนรู้ มุ่งสร้าง
ให้พฒ ั นาตนเอง ผูเ้ รียนนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวติ ประจาวันได้ ดังนัน้ การทีน่ ักเรียนได้ฝึกปฏิบตั ิ
จึงส่งผลให้คะแนนเฉลีย่ ทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างน่าเชื่อถือได้
3. ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียน
บ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ มีค่าเท่ากับ 0.8565 แสดงว่าผูเ้ รียน มีความรูเ้ พิม่ ขึน้ หลังจาก
ฝึกด้วยแบบฝึ กเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน ร้อยละ 85.65 สูงกว่าเกณฑ์ของค่าดัชนีประสิทธิผลขัน้ ต่ า คือ .50 หรือร้อย
ละ 50 (เผชิญ กิจระการ. ม.ป.ป. : 1-3 , อ้างอิงมาจาก Goodman and Schneider. 1980)
4. การวิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ทีม่ ตี ่อการเรียน โดยใช้แบบฝึ กเมโลเดียน
ขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ จานวน
31 คน โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.86 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ
0.34 ซึง่ สูงกว่าสมมติฐานทีต่ งั ้ ไว้

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
1.1 แบบฝึกเมโลเดียนขัน้ พืน้ ฐาน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนบ้านทานบ อาเภอท่า
ตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ผูว้ จิ ยั สร้างขึน้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 96.08 / 92.90 เป็ นเกณฑ์ประสิทธิภาพทีส่ งู พอทีจ่ ะ
นาไปใช้ในการสอนกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ (ดนตรี) ได้
1.2 ผู้บริห าร บุค ลากรทางการศึกษา และผู้ท่เี กี่ยวข้องกับการจัด การศึกษา ควรให้การส่งเสริม
สนับสนุ นการสร้างสื่อและนวัตกรรมต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและจัดให้มกี ารฝึ กอบรม สัมมนา
เผยแพร่ความรูต้ ่าง ๆ แก่ครูในการสร้างสือ่ การเรียนการสอน
2. ข้อเสนอแนะในการวิ จยั ครังต่ ้ อไป
2.1. ควรมีการวิจยั เพื่อพัฒนาแบบฝึกเมโลเดียนในระดับทีส่ งู ขึน้ ทัง้ ในส่วนของแบบฝึกและนักเรียนที่
ทาการศึกษา เพื่อพัฒนาแบบฝึกต่อไป
2.2. ควรมีการศึกษาหรือวิจยั ทักษะการปฏิบตั เิ ครื่องดนตรีพน้ื บ้านของไทย ผสมกับวงดนตรีสากล
เพื่อสร้างความหลากหลายในการเรียนรู้
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 86

บรรณานุกรม

เคลือวัลย์ สุขเจริญ. (2540). การศึกษาความคิดเห็นของของผูบ้ ริหารและครูผสู้ อนเกีย่ วกับการจัด การเรียน


ก า ร ส อ น วิ ช า ด น ต รี แ ล ะ น า ฏ ศิ ล ป์ . วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า ม ห า บั ณ ฑิ ต . ข อ น แ ก่ น :
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จีรพันธ์ สมประสงค์. (2546.). ศิลปะตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพ ฯ :
แม็ค.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2545). สาระดนตรี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถวัลย์ มาศจรัส. (2539). พระอัจฉริยทางดนตรี. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวี มุขธุรโกษา และสมชัย หงษ์ทองคา. (2520). กวีเอกของโลก. กรุงเทพ ฯ : สุรวี ยิ าสาส์น.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจยั เบื้องต้น. (พิมพ์ครัง้ ที่ 7). กรุงเทพ ฯ : สุรวี ยิ าสาส์น.
บัณฑูร ตัง้ ไพบูลย์. (2545). แบบเรียนยามาฮ่าขลุ่ยเรคอร์เดอร์. บริษทั สยามดนตรียามาฮ่าจากัด.
กรุงเทพ ฯ : สุรวี ยิ าสาส์น.
บรรเทิง ชลช่วยชีพ และคนอื่น ๆ. (2524). คู่มอื ทฤษฎีและปฏิบตั กิ ารดนตรีสากล. กรุงเทพ ฯ :
โอเดียนสโตร์.
ประสิทธิ ์ เดชครอง. (2539). การสร้างแบบฝึ กเสริมทักษะวิชาภาษาไทย เรือ่ ง ตัวสะกดมาตราแม่กนสาหรับ
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที ่ 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปิ ยพันธ์ แสนทวีสขุ . (2540). หนังสือคู่มอื ฝึกปฏิบตั ดิ นตรีสากล คียบ์ อร์ด. มหาสารคาม : คณะ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เผชิญ กิจระการ. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอนวิชา 503710 : ดัชนีประสิทธิผล. มหาสารคาม :
ภาควิชาเทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พวงรัตน์ ทวีรตั น์. (2538). วิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครัง้ ที่ 6). กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
เพ็ญมณี กันตุวงษ์. (ม.ป.ป.). การสอนกลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสยั เล่ม 3. เอกสารนิเทศการศึกษา. ฉบับที่ 28.
ภาคพัฒนาตารา.
รัชนก คะยอม. (2542). การพัฒนาแบบฝึ กเสริมทักษะกรบวนการทางวิทยาศาสตร์ข ัน้ พื้นฐาน. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525. กรุงเทพ ฯ : อักษร
เจริญทัศน์.
วรนาถ พ่วงสุวรรณ.(2518). การสร้างแบบฝึ กการผันวรรณยุกต์สาหรับชัน้ มัธยมศึกษาปี ที ่ 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณ แก้วแพรก. (2526). คู่มอื การสอนเขียนชัน้ ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
วลี สุมพิ นั ธ์. (2530). การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเรียงความของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี
ที ่ 1 ทีซ่ ่ อ มเสริม โดยใช้แบบฝึ ก เสริม ทัก ษะและครูเ ป็ น ผู้สอน. ปริญ ญานิ พนธ์ กศ.ม. กรุง เทพ ฯ :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
วิชาการ,กรม. (2545). การวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนรูต้ ามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรง
พิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
วารสารสารสนเทศ ปี ท่ี 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 87

ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวติ ทุกช่วงวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์.
สมบัติ จาปาเงิน. (2532). บุหลันลอยเลือ่ นและออร์เคสตร้า อธิบายเครือ่ งดนตรีไทยและเครือ่ งดนตรีสากล.
กรุงเทพ ฯ : โอเดียนสโตร์,
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ . (2531). หลากหลายวิธสี อนของ ครูต้นแบบวิชาดนตรี.
กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.
อรวรรณ ขมวัฒนา และคนอื่น ๆ. (2523). ความคิดเห็นเกีย่ วกับดนตรีทมี ่ สี ่วนสนับสนุ นดนตรีไทยใน โรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วนกลาง. กรุงเทพฯ : กองวิจยั และการวางแผน สานักงานและ
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
อรวรรณ บรรจงศิลป์. (2534). พื้นฐานดนตรี. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.

You might also like