You are on page 1of 1

Root Structure and Function

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

1. อธิบายและเปรียบเทียบระบบราก (root system)


2. อธิบายบริเวณตาง ๆ ของรากตัดตามยาว
3. อธิบายบริเวณตาง ๆ ของรากตัดตามขวาง
4. อธิบายและยกตัวอยางการปรับตัวของรากเพื่อทําหนาที่พิเศษ

สาระสําคัญ

ราก (root) เปนอวัยวะของพืชที่มักเจริญอยูใตดินและมีทิศทางการเติบโตตามแรงโนมถวงของโลก (positive gravitropism) รากพืชมีหนาที่หลักในการดูดนํ้า


และเกลือแรจากดิน รวมถึงชวยในการยึดและใหความแข็งแรงกับลําตน ระบบรากแบงออกเปน 2 ระบบ คือ ระบบรากแกวและระบบรากฝอย เมื่อนํารากมาตัดตาม
ยาวพบวาจะมีการแบงออกเปนบริเวณตาง ๆ คือ หมวกราก บริเวณที่เซลลมีการแบงเซลล บริเวณที่เซลลมีการขยายขนาดของเซลล และบริเวณที่เซลลมีการ
เติบโตเต็มที่ สวนเมื่อนํารากมาตัดตามขวางจะพบวาแบงออกเปน 3 ชั้น คือ เอพิเดอรมิส คอรเทกซ และสตีล ตามลําดับ รากพืชหลายชนิดอาจมีการปรับตัวเพื่อ
ทําหนาที่พิเศษได 

00:00

[Semester Course] Plant Structure and Function - Root Structure and Function

Labelling

1.  ระบุสวนประกอบตาง ๆ ของรากพืชตัดตามขวางตอไปนี้ (1.00 คะแนน)

ตัวเลือก

A Xylem

B Storage parenchyma

C Pericycle

D Phloem

E Endodermis

2.  ระบุสวนประกอบตาง ๆ ของรากพืชตัดตามขวางตอไปนี้ (1.00 คะแนน)

ตัวเลือก

A Phloem

B Xylem

C Storage parenchyma

D Pith

E Endodermis

Concept Check

3.  ถานักเรียนตองการศึกษายีนที่เกี่ยวของกับการสรางขนราก นักเรียนควรเลือกบริเวณใดมาศึกษา (1.00 คะแนน)

Zone of Cell Proliferation

Zone of Cell Differentiation

Zone of Cell Elongation

Root cap

4.  ขอใดผิดเกี่ยวกับรากพืช (1.00 คะแนน)

เซลลในขั้นเอนโดเดอรมิสมีการพอกของลิกนินและซูเบอริน

เอพิเดอรมิสของรากมักไมพบชั้นคิวทิเคิล

เพอริไซเคิลมีหนาที่เกี่ยวของกับการการเจริญของรากฝอย (fibrous root)

เพอริไซเคิลสามารถเปลี่ยนกลับเปน cork cambium ไดในรากพืชที่มีการเติบโตทุติยภูมิ

พิธในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประกอบขึ้นจาก ground parenchyma

5.  ขอใดจับคูผิด (1.00 คะแนน)

รากสะสมอาหาร : มันเทศ

รากสะสมอาหาร : แครอท

รากคํ้าจุน : รากโกงกาง

รากหายใจ : รากแสม

รากยึดเกาะ : รากขาวโพด

สงคําตอบ

 ยอนกลับ ถัดไป 

คําถาม

รายละเอียดคําถาม

ส่ง

กระดาษทด

You might also like