You are on page 1of 20

กิจกรรมที่ 6.

1 แยกสารโดยการตกผลึกได้

กลุ่มที่.............................วันที่ทำกิจกรรม...........................................................
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชื่อ.........................................................................................เลข
ที่.......................
2. ชื่อ.........................................................................................เลข
ที่.......................
3. ชื่อ.........................................................................................เลข
ที่.......................
4. ชื่อ.........................................................................................เลข
ที่.......................
5. ชื่อ.........................................................................................เลข
ที่.......................
นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแยกสารผสมโดยวิธีการระเหยแห้งและ
ตกผลึก

จุดประสงค์
สังเกตและอธิบายการแยกสารโดยการตกผลึกของ
สารละลายจุนสี

เวลาที่ใช้ในการทำ
1 ชั่วโมง

วัสดุ วัสดุอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม

รายการ ปริมาณ/กลุ่ม
1. จุนสีหรือคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต 20 g
3
2. น้ำ 50 cm
3
3. บีกเกอร์ขนาด 100 cm 3 ใบ
3
4. กระบอกตวงขนาด 10 cm 1 ใบ
5. แท่งแก้วคน 1 อัน
6. กระดาษกรอง 1 แผ่น
7. กรวยกรอง 1 อัน
8. ช้อนตักสารเบอร์สอง 1 อัน
9. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กัน
้ ลม 1 ชุด
10. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก
11. คีมคีบ 1 อัน
12. ขวดรูปชมพู่ 1 ขวด
จุนสี หรือ คอปเปอร์(II)ซัลเฟต (Copper (II) sulphate) เป็ นสารประกอบ
ของทองแดง กำมะถันและออกซิเจน ที่มีสูตรทางเคมี CuSO4 เกลือจุนสีพบ
ได้หลายรูปแบบตามจำนวนโมเลกุลน้ำที่ประกอบอยู่ในผลึก จุนสีทพ
ี่ บได้บ่อย
มีน้ำ 5 โมเลกุล (pentahydrate) มีสีฟ้าสด สารเคมีนีใ้ ช้ประโยชน์เป็ นสาร
ปราบวัชพืช สารกำจัดสัตว์และแมลงรบกวน สารฆ่าเชื้อรา

ข้อควร

แอลกอฮอล์เป็ นสารไวไฟ จึงควรระมัดระวังในการใช้ตะเกียงแอลกอฮอล์

วิธีการดำเนิน

1. ให้นักเรียนสังเกตลักษณะของจุนสีก่อนทำกิจกรรมและบันทึกผล
2. ตวงน้ำปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในบีกเกอร์ขนาด 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. ตักสารจุนสีทีละช้อนลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำ 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่
อุณหภูมิห้อง ใช้แท่งแก้วคนจนสารจุนสีละลาย แล้วตักสารจุนสีใส่จนกระทั่ง
สารจุนสีไม่ละลายอีก
4. จุดตะเกียงแอลกอฮอล์เพื่อให้ความร้อนแก่สารจุนสีจนกระทั่งสารจุนสี
ละลายหมด
5. ค่อยๆเติมสารจุนสีทีละช้อนจำนวน 5 – 10 ช้อนลงบีกเกอร์ จนสารจุนสี
ไม่ละลายแล้ว
6. ใช้กรวยกรองและกระดาษกรอง กรองสารละลายจุนสีในขณะที่ยังร้อนอยู่
เพื่อแยกสารจุนสีที่ไม่ละลายและสิ่งเจือปนอื่นๆออกจากสารละลายจุนสี
7. ตัง้ สารละลายจุนสีที่กรองแล้วไว้จนกระทั่งสารละลายจุนสีมีอุณหภูมิลดลง
จนถึงอุณหภูมิห้อง
8. สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
9. กรองแยกของแข็งออกจากของเหลวสังเกตของแข็งที่ได้
10. เปรียบเทียบของแข็งที่ได้กับจุนสีก่อนละลายน้ำและบันทึกผล

ตารางบันทึกผลการ

ลักษณะของสาร ผลการสังเกต
จุนสี
............................................................................
.......................................

............................................................................
.......................................
สารละลายจุนสีอิ่ม
............................................................................
ตัว
.......................................

............................................................................
.......................................

สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายอยู่เต็มที่ จน


ไม่สามารถละลายต่อไปได้อีกแล้ว ณ อุณหภูมิขณะนัน

จากกิจกรรม ตอนที่ 1 สรุปได้ว่าอย่างไร

........เมื่อละลายจุนสีในน้ำ จนกระทั่ง....................................จากนัน
้ ให้ความ
ร้อนจนจุนสี.........................................

แล้วปล่อยให้อุณหภูมิของสารละลายจุนสีลดลงช้าๆ จุนสีขะค่อยๆ
...............................................ได้เป็ น.................

.........................................ที่มีลักษณะ
เป็ น..................................................................................................................

คำถามท้าย

ชื่อ..............................................................................ชัน
้ ............................เลข
ที่.............................กลุ่มที่.....................

ตอนที่
//
1. เมื่อตัง้ สารละลายจุนสีไว้จนกระทั่งพบการเปลี่ยนแปลง สารละลายจุนสีมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใด
...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
2. จุนสีก่อนการละลายและสารที่ได้จากการตัง้ สารละลายจุนสีไว้มีลักษณะ
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
3. การแยกสารในกิจกรรมนีท
้ ำได้อย่างไร และเรียกวิธีการแยกสารนีว้ ่าอะไร

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
ให้นักเรียนเปรียบเทียบ การแยกสารโดยการ

Compare &

การแยกสารโดยการ การแยกสารโดย
การแยกสาร คือ กระบวนการทำสารผสมให้บริสุทธิ ์ โดยอาศัยความแตกต่าง
ของสมบัติทัง้ ทางกายภาพและเคมีมาใช้เป็ นเกณฑ์ในการแยกสารผสม รวมทัง้
ต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพและความประหยัด ซึ่งในบทเรียนนีน
้ ักเรียนจะได้
เรียนรู้การแยกสารดังวิธีต่อไปนี ้
1. การแยกสารโดยการระเหยแห้งและตกผลึก
2. การแยกสารโดยการกลั่นอย่างง่าย
3. การแยกสารโดยการโครมาโทกราฟี แบบกระดาษ
4. การแยกสารโดยการสกัดด้วยตัวทำละลาย
ครูอาจเตรียมภาพหรือสารละลายของจริงที่มีช่ อ
ื ในตารางมาให้นักเรียนสังเกต
• การเตรียมสารละลายจุนสีหรือสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต 10% โดย
มวลต่อปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร สำหรับกิจกรรมตอนที่ 1 เตรียมได้
โดยละลายจุนสี 10 กรัมในน้ำ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร คนจนละลายหมดแล้ว
เติมน้ำให้ครบ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
• การควบคุมปริมาณจุนสีที่เติมลงไปในสารละลายที่อุณหภูมิห้อง ครูควรเน้น
ย้ำให้นักเรียน ค่อย ๆ เติมจุนสีครัง้ ละ 1 ช้อนเบอร์สอง คนจนละลายหมด
แล้วจึงเติมลงไปอีกจนไม่สามารถ ละลายได้
• กิจกรรมนีม
้ ีการให้ความร้อนแก่สารละลาย ควรใช้คีมคีบบีกเกอร์หรือใช้ผ้า
จับขณะร้อน ในการให้ความร้อนแก่สารละลาย ระวังอย่าให้สารละลายเดือด
และไม่ควรให้ความร้อนนาน เกินไป เนื่องจากตัวทำละลายจะระเหยออกไป
มาก
• ขณะที่ให้ความร้อน ให้สงั เกตว่าจุนสีที่เติมลงไปครัง้ แรกละลายได้หมด จาก
นัน
้ ให้เติมจุนสี ลงไปอีก 5 ช้อนเบอร์สอง คนจนละลายหมด แล้วจึงนำไป
กรอง
• ครูควรวางแผนล่วงหน้าสำหรับการทำกิจกรรมตอนที่ 2 ในกรณีที่ตัง้
สารละลายอิ่มตัวของ จุนสีไว้จนอุณหภูมิลดลงจนถึงอุณหภูมิห้องแล้วสารยังไม่
ตกผลึก ต้องตัง้ สารละลายอิ่มตัวนัน
้ ไว้ประมาณ 1 วัน
• ครูอาจให้นักเรียนบันทึกผลด้วยการวาดภาพผลึกของจุนสี ในกรณีที่เห็น
ลักษณะของผลึกไม่ ชัดเจน ครูให้นักเรียนใช้แว่นขยายเพื่อช่วยในการสังเกต
• หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เล่ม 2 ของ
สสวท.
ข้อเสนอแนะ ในการทำกิจกรรม
สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้
การเตรียมตัว ล่วงหน้าสำหรับครู
ตัวอย่างผลการทำกิจกรรม
ตอนที่ 1
ลักษณะของสารละลายจุนสี ผลการสังเกต ก่อนให้ความร้อน ของเหลวใส สี
ฟ้ า หลังให้ความร้อน ของเหลวในถ้วยระเหยหายไป มีของแข็งสีฟ้าอ่อน อยู่ใน
ถ้วยกระเบื้อง ตอนที่ 2 ลักษณะของสาร ผลการสังเกต จุนสี ของแข็ง เป็ นผง
ละเอียดสีฟ้า สารละลายจุนสีอิ่มตัว ของเหลวใส สีฟ้า หลังจากตัง้ สารลายไว้
พบว่ามี ของแข็งสีฟ้ารูปปริซึมสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนที่ก้นบีก เกอร์

เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม
ตอนที่ 1
1. สารละลายจุนสีประกอบด้วยสารใดบ้างที่เป็ นตัวละลายและตัวทำละลาย
แนวคำตอบ สารละลายจุนสีประกอบด้วยจุนสีเป็ นตัวละลายและน้ำเป็ นตัว
ทำละลาย
2. ก่อนให้ความร้อนแก่สารละลายจุนสี สารละลายจุนสีมีลักษณะอย่างไร
แนวคำตอบ ก่อนให้ความร้อนแก่สารละลายจุนสี สารละลายจุนสีเป็ น
ของเหลว สีฟ้า ใส
3. ภายหลังให้ความร้อนแก่สารละลายจุนสีจนแห้ง สารที่เหลืออยู่ในถ้วย
กระเบื้องมีลักษณะอย่างไรและ เกิดขึน
้ ได้อย่างไร
แนวคำตอบ ภายหลังให้ความร้อนแก่สารละลายจุนสีจนแห้ง สารที่เหลืออยู่
ในถ้วยกระเบื้องเป็ นของแข็ง สีฟ้าอ่อน เกิดขึน
้ เพราะน้ำซึ่งเป็ นตัวทำ
ละลายระเหยออกไปหมดเหลือแต่จุนสีซ่งึ เป็ นตัวละลาย

4. การแยกสารในกิจกรรมนีท
้ ำได้อย่างไร และเรียกวิธีการแยกสารนีว้ ่าอะไร
แนวคำตอบ วิธีการแยกสารที่ใช้ในกิจกรรมนีท
้ ำได้โดยให้ความร้อนแก่
สารละลายจุนสีจนแห้ง เพื่อแยก ตัวทำละลายที่เป็ นของเหลวระเหยไป
เหลือจุนสีซ่งึ เป็ นตัวละลายที่เป็ นของแข็งในถ้วยกระเบื้อง เรียกวิธี การแยก
สารนีว
้ ่า การระเหยแห้ง
5. จากกิจกรรมตอนที่ 1 สรุปได้ว่าอย่างไร
แนวคำตอบ จากกิจกรรมตอนที่ 1 สรุปได้ว่า การแยกองค์ประกอบของ
สารละลายจุนสีซ่งึ ประกอบด้วย ตัวทำละลายคือน้ำซึ่งเป็ นของเหลว ตัว
ละลายคือจุนสีซ่งึ เป็ นของแข็ง สามารถทำได้โดยให้ความร้อน ตัวทำละลาย
ซึ่งเป็ นของเหลวจะระเหยเป็ นไอออกไปจนหมด เหลือแต่ตัวละลายซึ่งเป็ น
ของแข็ง วิธีนีเ้ รียกว่า การระเหยแห้ง
ตอนที่ 2
1. เมื่อตัง้ สารละลายจุนสีไว้จนกระทั่งพบการเปลี่ยนแปลง สารละลายจุนสีมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะ เหตุใด แนวคำตอบ สารละลายจุนสีมีการ
เปลี่ยนแปลงโดยเกิดของแข็งสีฟ้ารูปปริซึมสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนที่ก้น บีก
เกอร์ เพราะเมื่อสารละลายจุนสีอิ่มตัวมีอุณหภูมิลดลง สภาพละลายได้ของ
จุนสีในน้ำลดลงจึงแยกออกมา
2. จุนสีก่อนการละลายและสารที่ได้จากการตัง้ สารละลายจุนสีไว้มีลักษณะ
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
แนวคำตอบ จุนสีก่อนการละลายและสารที่ได้จากการตัง้ สารละลายจุนสีไว้
มีลักษณะแตกต่างกัน คือ จุนสีก่อน การละลายเป็ นของแข็ง มีลักษณะเป็ น
ผงสีฟ้า แต่สารที่ได้จากการตัง้ สารละลายจุนสีไว้มีลักษณะเป็ นผลึก รูป
ปริซึมสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนขนาดเล็ก
3. การแยกสารในกิจกรรมนีท
้ ำได้อย่างไร และเรียกวิธีการแยกสารนีว้ ่าอะไร
แนวคำตอบ การแยกสารในกิจกรรมนีท
้ ำได้โดยละลายจุนสีในน้ำจนอิ่มตัว
ไม่สามารถละลายได้อีก ให้ความร้อน แก่สารละลายแล้วเติมจุนสีลงไปอีก
จากนัน
้ ลดอุณหภูมิของสารละลาย จุนสีจะแยกออกจากสารละลายและมี
การจัดเรียงตัวเป็ นผลึกซึ่งมีลักษณะเป็ นรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอนเฉพาะ
ตัว เรียกวิธีการแยกสารนีว
้ ่าการตก ผลึก
4. จากกิจกรรมตอนที่ 2 สรุปได้ว่าอย่างไร
์ าก
แนวคำตอบ จากกิจกรรมตอนที่ 2 สรุปได้ว่าการแยกจุนสีบริสุทธิจ
สารละลายจุนสีซ่งึ ประกอบด้วยของแข็ง ละลายในของเหลวสามารถทำได้
โดยการตกผลึก โดยละลายผงจุนสีในน้ำจนอิ่มตัว แล้วให้ความร้อนและ
เติม ผงจุนสีเพิ่ม จากนัน
้ ปล่อยให้อณ
ุ หภูมิของสารละลายลดลงช้า ๆ จุนสี
จะค่อย ๆ แยกออกจากสารละลาย เนื่องจากสภาพละลายได้ของจุนสีลดลง
เมื่ออุณหภูมิลดลง ได้ผลึกจุนสีที่มีลักษณะเป็ นรูปทรงเรขาคณิตที่ แน่นอน
เฉพาะตัว วิธีนีเ้ รียกว่าวิธีการตกผลึก
5. จากกิจกรรมทัง้ 2 ตอน สรุปได้ว่าอย่างไร
แนวคำตอบ จากกิจกรรมทัง้ 2 ตอนสรุปได้ว่าการแยกจุนสีออกจากน้ำใน
สารละลายจุนสี ทำได้ 2 วิธีคือวิธีการ ระเหยแห้ง โดยให้ความร้อนแก่
สารละลายจุนสี น้ำเป็ นตัวทำละลายซึ่งเป็ นของเหลวจะระเหยเป็ นไอออก
ไปจน หมด เหลือแต่จุนสีเป็ นตัวละลายซึ่งเป็ นของแข็ง และวิธีการตกผลึก
โดยทำให้สารละลายอิ่มตัวมีอุณหภูมิลดลง ช้า ๆ ตัวละลายจะค่อย ๆ แยก
์ ูง และมีการจัดเรียงอนุภาคใหม่ มี
ออกจากสารละลาย มีความบริสุทธิส
ลักษณะ เป็ นรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอนเฉพาะตัว
ความรู้เพิ่มเติมสำหรับครู
การทำนาเกลือ การทำนาเกลือสมุทรเป็ นการแยกเกลือโซเดียมคลอไรด์จากน้ำ
ทะเลซึง่ เป็ นสารผสมประกอบด้วยสาร หลายชนิด น้ำทะเลที่ผันมาตามคลอง
ส่งน้ำจะถูกส่งเข้านาประเทียบและนาตาก ใช้พลังงานความร้อนจาก ดวง
อาทิตย์ในการแยกน้ำออกจากน้ำทะเล ความร้อนทำให้น้ำระเหยออกไป
จำนวนหนึ่ง น้ำเกลือในนาเกลือ บริเวณนีจ
้ ึงมีควา
ยเข้มข้นของเกลือโซเดียมคลอไรด์สูงในระดับที่เหมาะสมจะแยกเกลือออกมา
ได้
กิจกรรมชุมนุม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564

ชื่อ..........................................................................................เลข
ที่..................
ชื่อ..........................................................................................เลข
ที่..................
ชื่อ..........................................................................................เลข
ที่..................
ชื่อ..........................................................................................เลข
ที่..................
ชื่อ..........................................................................................เลข
ที่..................
1. ให้นักเรียนสำรวจสิ่งของเหลือใช้และหาแนวทางในการนำสิ่งของมาใช้ให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
...........................................................................................................................
..............................................................
...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
2. ให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ค้นคว้าได้ เพื่อหาข้อสรุปในการสร้างชิน
้ งาน
3. ให้นักเรียนสรุปการค้นคว้าร่วมกัน สิ่งที่ต้องใช้และรูปแบบชิน
้ งานที่จะ
สร้างขึน

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
4. ให้นักเรียนกำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล
...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
.............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
5. ให้นักเรียนวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของชิน
้ งานที่จะสร้างขึน

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
.............................................................

6. นักเรียนวางแผนในการทำงานและออกแบบชิน
้ งาน
...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
...........................................................................................................................
..............................................................

...........................................................................................................................
..............................................................
ภาพชิน
้ งานที่จะสร้างขึน

ชื่อ...............................................................................................ชัน
้ ..................
.เลขที่........................

ให้นักเรียนวาดภาพการกลั่นน้ำมันดิบและ
การกลั่นลำดับส่วน คืออะไร มีหลักการอย่างไร พร้อมยกตัวอย่างการนำการก
ลั่นลำดับส่วนมาใช้ประโยชน์
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
...........................................................................

You might also like