You are on page 1of 12

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 43

รายวิชา ค22131 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565


หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง (5) เรื่อง การดาเนินการของจานวนจริง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 วันที่สอน วันศุกร์ที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 08.30 - 09.20 น. คาบเรียนที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 วันที่สอน วันศุกร์ที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 10.20 - 11.10 น. คาบเรียนที่ 3
อาจารย์นิเทศก์สถานศึกษา 1) อาจารย์มานพ พินิจพันธ์ 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขณิษฐ คาทอน
อาจารย์นิเทศก์คณะครุศาสตร์ อาจารย์ธาดาพนิตสดี ศุกลวิริยะกุล
นิสิตฝึกปฏิบัติการวิชาชีพ นางสาวปาณิสรา กันสุทธิ เลขประจาตัว 624 118 4627
สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการ
ของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ
และนาไปใช้
ค 1.1 ม.2/2 เข้าใจจานวนจริงและความสัมพันธ์ของจานวนจริง และใช้สมบัติของ
จานวนจริงในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ
1. อธิบายความสัมพันธ์ของผลลัพธ์จากการดาเนินการของจานวนจริงได้
ด้านทักษะและกระบวนการ นักเรียนสามารถ
1. ระบุได้ว่าผลลัพธ์ของการดาเนินการของจานวนสองจานวนเป็นจานวนประเภทใด
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียน
1. เข้าเรียนตรงเวลา
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3. สาระสาคัญ
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของจานวน
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของจานวน
การพิจารณาการดาเนินการของจานวนตรรกยะและอตรรกกยะ
1. จานวนตรรกยะ กับ จานวนตรรกยะ
จานวนตรรกยะ + จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ
จานวนตรรกยะ × จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ
2. จานวนตรรกยะ กับ จานวนอตรรกยะ
จานวนตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ = จานวนอตรรกยะ
จานวนตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ
3. จานวนอตรรกยะ กับ จานวนอตรรกยะ
จานวนอตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ
จานวนอตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ

4. สาระการเรียนรู้
ตัวอย่างที่ 1 ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ (ในหนังสือแบบฝึกของโรงเรียนหน้าที่ 3 ข้อที่3.)
1. 1.414 เป็นจานวนตรรกยะ __________

2. 3.154154… เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
3. 5.421785… เป็นจานวนอตรรกยะ __________

4. π เป็นจานวนอตรรกยะ __________

5. 0 เป็นจานวนตรรกยะ __________

22
6. เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
7
7. √5 เป็นจานวนอตรรกยะ __________

8. มีจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด __________

9. มีจานวนเต็มลบที่น้อยที่สุด __________
X

ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาการดาเนินการระหว่างจานวนตรรกยะกับจานวนตรรกยะต่อไปนี้
1. 10 + 14.5 = 24.5 เป็นจานวนตรรกยะ
2. 10 - 14.5 = 10 + (-14.5) = -4.5 เป็นจานวนตรรกยะ
3. 8 + 2.4̇ = 10.4̇ เป็นจานวนตรรกยะ
2 3 2×4 3×3 8 9 17
4. 3 + 4 = 3 × 4 + 4 × 3 = 12 + 12 = 12 เป็นจานวนตรรกยะ
5. 3 × 1.8 = 5.4 เป็นจานวนตรรกยะ
8 1
6. = 8 x ( 2) =4 เป็นจานวนตรรกยะ
2
-2 -8
7. 4 × = เป็นจานวนตรรกยะ
11 11
6 8 8
8. × = =8 เป็นจานวนตรรกยะ
2 3 1

ข้อสรุป
จานวนตรรกยะ + จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ

จานวนตรรกยะ × จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ

ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาการดาเนินการระหว่างจานวนตรรกยะกับจานวนอตรรกยะต่อไปนี้
1. 1 + √2 = 1.0000… + 1.4142…
= 2.4142… เป็นจานวนอตรรกยะ
7
2. +π = 3.50000… + 3.14159…
2
= 6.64159… เป็นจานวนอตรรกยะ
3. 2 × √5 = 2 × 2.236 …
= 4.472… เป็นจานวนอตรรกยะ
4. 0 × π =0 เป็นจานวนตรรกยะ

ข้อสรุป
จานวนตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ = จานวนอตรรกยะ

จานวนตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้ง จานวนตรรกยะ และ จานวนอตรรกยะ

ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาการดาเนินการระหว่างจานวนอตรรกยะกับจานวนอตรรกยะต่อไปนี้
1. √2 + √2 = 2√ 2 เป็นจานวนอตรรกยะ
2. √2 + (−√2) = √2 - √2 =0 เป็นจานวนตรรกยะ
3. √2 × √3 = √6 = 2.449... เป็นจานวนอตรรกยะ
4. √2 × √2 =2 เป็นจานวนตรรกยะ
ข้อสรุป

จานวนอตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้ง จานวนตรรกยะ และ จานวนอตรรกยะ

จานวนอตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้ง จานวนตรรกยะ และ จานวนอตรรกยะ


ตัวอย่างที่ 5 ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ (ในหนังสือแบบฝึกของโรงเรียนหน้าที่ 13 ข้อที่3.)
1. ผลคูณของจานวนตรรกยะกับจานวนอตรรกยะ เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
2 3 4 8
2. 1 3 + ( 9 8 × 5 7 ) ÷ 5 เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
3. ผลคูณของจานวนอตรรกยะ เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
a
4. จานวนตรรกยะ คือจานวนที่สามารถเขียนในรูป b ได้ __________

5. กาลังสองของจานวนอตรรกยะ เป็นจานวนตรรกยะ __________
X
6. ผลบวกของจานวนอตรรกยะ เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
7. มีจานวนเต็มบางจานวน เป็นจานวนอตรรกยะ __________
X
8. มีจานวนเต็มบวกที่มากที่สุด ที่น้อยกว่า 5 __________

9. √2 + π สามารถเขียนบนเส้นจานวนได้ __________

10. 0.8̇ 4̇ + 0.1̇ 2̇ เป็นจานวนตรรกยะ __________

11. 0.121121112… เป็นจานวนตรรกยะ __________
X

5. กระบวนการเรียนรู้
ขั้นนา (5 นาที)
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับความหมายของจานวนจริงและแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของจานวน
ขั้นสอน (30 นาที)
1. ครูยกตัวอย่างที่ 1 ซึ่งเป็นตัวอย่างจานวนจานวนประเภทต่าง ๆ ร่วมอภิปรายกับนักเรียน โดยใช้
คาถามถามว่า ประโยคในข้อนี้เป็นจริงหรือเท็จ โดยสุ่มเรียกนักเรียนในการตอบคาถาม
2. ครูยกตัวอย่างที่ 2 ซึ่งเป็นการดาเนินการระหว่างจานวนตรรกยะกับจานวนตรรกยะ โดยใช้
คาถามนานักเรียนว่า ผลลัพธ์ของแต่ละข้อเป็นจานวนตรรกยะหรือจานวนอตรรกยะ โดยสุ่มเรียก
นักเรียนในการตอบคาถาม จากนั้นครูให้นักเรียนสังเกตจนได้ข้อสรุปว่า
“1. จานวนตรรกยะ + จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ
2. จานวนตรรกยะ × จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ”
3. ครูยกตัวอย่างที่ 3 เป็นการดาเนินการระหว่างจานวนตรรกยะกับจานวนอตรรกยะ โดยใช้คาถาม
นานักเรียนว่า ผลลัพธ์ของแต่ละข้อเป็นจานวนตรรกยะหรือจานวนอตรรกยะ โดยสุ่มเรียก
นักเรียนในการตอบคาถาม จากนั้นครูให้นักเรียนสังเกตจนได้ข้อสรุปว่า
“ 1. จานวนตรรกยะ + จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ
2. จานวนตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ”
4. ครูยกตัวอย่างที่ 4 เป็นการดาเนินการระหว่างจานวนอตรรกยะกับจานวนอตรรกยะ โดยใช้
คาถามนานักเรียนว่า ผลลัพธ์ของแต่ละข้อเป็นจานวนตรรกยะหรือจานวนอตรรกยะ โดยสุ่มเรียก
นักเรียนในการตอบคาถาม จากนั้นครูให้นักเรียนสังเกตจนได้ข้อสรุปว่า
“1. จานวนอตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ
2. จานวนอตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ”
5. ครูยกตัวอย่างที่ 5 ซึ่งเป็นตัวอย่างจานวนจานวนประเภทต่าง ๆ ร่วมอภิปรายกับนักเรียน โดยใช้
คาถามถามว่า ประโยคในข้อนี้เป็นจริงหรือเท็จ โดยสุ่มเรียกนักเรียนในการตอบคาถาม
ขั้นสรุป (5 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับการดาเนินการของจานวนตรรกยะและอตรรกยะ ว่า
1. จานวนตรรกยะ กับ จานวนตรรกยะ
จานวนตรรกยะ + จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ
จานวนตรรกยะ × จานวนตรรกยะ = จานวนตรรกยะ
2. จานวนตรรกยะ กับ จานวนอตรรกยะ
จานวนตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ = จานวนอตรรกยะ
จานวนตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ
3. จานวนอตรรกยะ กับ จานวนอตรรกยะ
จานวนอตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ
จานวนอตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งจานวนตรรกยะและอตรรกยะ

6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค22131 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง
2. สื่อประกอบการเรียนการสอน PowerPoint เรื่อง การดาเนินการของจานวนจริง
7. การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน


ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ
1. อธิบายความสัมพันธ์ของ - สังเกตจากการ - คาถามในชั้นเรียน - นักเรียนมากกว่า
ผลลัพธ์จากการดาเนินการ ตอบคาถามในชั้น 70% สามารถ
ของจานวนจริงได้ เรียน อธิบาย
ความสัมพันธ์ได้
ด้านทักษะและกระบวนการ นักเรียนสามารถ
1. ระบุได้ว่าผลลัพธ์ของการ - สังเกตจากการ - คาถามในชั้นเรียน - นักเรียนมากกว่า
ดาเนินการของจานวนสอง ตอบคาถามในชั้น 70% สามารถระบุ
จานวนเป็นจานวนประเภทใด เรียน ชนิดของจานวน
ของผลลัพธ์ได้
ถูกต้อง
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียน
1. เข้าเรียนตรงเวลา - สังเกตจากการ - แบบประเมิน - มีคะแนนระดับ
ร่วมกิจกรรมในชั้น พฤติกรรมผู้เรียน คุณภาพอยู่ในระดับ
เรียน ดีขึ้นไป ถือว่าผ่าน
2. ใฝ่เรียนรู้ - สังเกตจากการ - แบบประเมิน - มีคะแนนระดับ
ร่วมกิจกรรมในชั้น พฤติกรรมผู้เรียน คุณภาพอยู่ในระดับ
เรียน ดีขนึ้ ไป ถือว่าผ่าน
3. มีส่วนร่วมในชั้นเรียน - สังเกตจากการ - แบบประเมิน - มีคะแนนระดับ
ร่วมกิจกรรมในชั้น พฤติกรรมผู้เรียน คุณภาพอยู่ในระดับ
เรียน ดีขึ้นไป ถือว่าผ่าน
แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน
รหัสวิชา ค22131 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

ระดับคะแนน
มากที่สุด = 5 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้มากว่า 80%
มาก = 4 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ 71 - 80%
ปานกลาง = 3 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ 61 - 70%
น้อย = 2 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ 51 - 60%
น้อยที่สุด = 1 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ต่ากว่า 50%

ข้อที่ หัวข้อการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน


5 4 3 2 1
1 เข้าเรียนตรงเวลา
2 ใฝ่เรียนรู้
3 มีส่วนร่วมในชั้นเรียน
รวมคะแนน

ระดับคะแนน
คะแนน 13 – 15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10 – 12 หมายถึง ดี
คะแนน 7 – 9 หมายถึง พอใช้
คะแนน 3 – 6 หมายถึง ปรับปรุง

สรุปการประเมินผล
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน
รหัสวิชา ค22131 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

ระดับคะแนน
มากที่สุด = 5 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้มากว่า 80%
มาก = 4 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ 71 - 80%
ปานกลาง = 3 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ 61 - 70%
น้อย = 2 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ 51 - 60%
น้อยที่สุด = 1 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ต่ากว่า 50%

ข้อที่ หัวข้อการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน


5 4 3 2 1
1 เข้าเรียนตรงเวลา
2 ใฝ่เรียนรู้
3 มีส่วนร่วมในชั้นเรียน
รวมคะแนน

ระดับคะแนน
คะแนน 13 – 15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10 – 12 หมายถึง ดี
คะแนน 7 – 9 หมายถึง พอใช้
คะแนน 3 – 6 หมายถึง ปรับปรุง

สรุปการประเมินผล
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
ชื่อ-นามสกุล.......................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การดาเนินการของจานวนตรรกยะและอตรรกยะ


ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาการดาเนินการระหว่างจานวนตรรกยะกับจานวนตรรกยะต่อไปนี้
1. 10 + 14.5 =_______________________________ เป็นจานวน_________________
2. 10 - 14.5 =_______________________________ เป็นจานวน_________________
3. 8 + 2.4̇ =_______________________________ เป็นจานวน_________________
2 3
4. 3 + 4 =_______________________________ เป็นจานวน_________________
5. 3 × 1.8 =_______________________________ เป็นจานวน_________________
8
6. =_______________________________ เป็นจานวน_________________
2
-2
7. 4 × =_______________________________ เป็นจานวน_________________
11
6 8
8. ×
2 3
=_______________________________ เป็นจานวน_________________
ข้อสรุป
จานวนตรรกยะ + จานวนตรรกยะ = _____________________

จานวนตรรกยะ × จานวนตรรกยะ = _____________________

ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาการดาเนินการระหว่างจานวนตรรกยะกับจานวนอตรรกยะต่อไปนี้
1) 1 + √2 = ______________________________
= ______________________________ เป็นจานวน_________________
7
2) +π = ______________________________
2
= ______________________________ เป็นจานวน_________________
3) 2 × √5 = ______________________________
= ______________________________ เป็นจานวน_________________
4) 0 × π = ______________________________ เป็นจานวน_________________

ข้อสรุป

จานวนตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ = __________________________

จานวนตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ เป็นได้ทั้ง__________________________________________


ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาการดาเนินการระหว่างจานวนอตรรกยะกับจานวนอตรรกยะต่อไปนี้
1) √2 + √2 = _______________________________ เป็นจานวน__________________
2) √2 + (−√2) =_______________________________ เป็นจานวน__________________
3) √2 × √3 =_______________________________ เป็นจานวน__________________
4) √2 × √2 =_______________________________ เป็นจานวน__________________

จานวนอตรรกยะ + จานวนอตรรกยะ เป็นได้ทั้ง_________________________________________

จานวนอตรรกยะ × จานวนอตรรกยะ เป็นได้ทั้ง_________________________________________


000
สื่อประกอบการเรียนการสอน PowerPoint เรื่อง การดาเนินการของจานวนจริง

You might also like