You are on page 1of 30

1

พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 (ฉบับ


แก้ไขเพิ่มเติม 2558)
1. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการศาล...ยุติธรรม พ.ศ. 2543 ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 21 มิ.ย.2543 ใช้บงั คับเมื่อพ้น 60 วัน นับแต่
วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2543
2. ข้าราชการศาลยุติธรรม คือ ข้าราชการธุรการตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบข้าราชการฝ่ ายตุลาการ (มาตรา 4) ตามพ.ร.บ.ระเบียบ
ข้าราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ.2543 ข้าราชการศาลยุติธรรม
คือ ข้าราชการผู้มีอำนาจหน้าทีใ่ นทางธุรการซึ่งได้รบ
ั การบรรจุและแต่ง
ตัง้ ให้เป็ นข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาล
ยุติธรรม
3. ประธานศาลอุทธรณ์ หมายถึง อธิบดีผพ
ู้ พ
ิ ากษาศาลอุทธรณ์ตามกฎหมาย
ว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ ายตุลาการ
4. กรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรม (ก.ต.) คือ กรรมการตุลาการตามกฎหมาย
ว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ ายตุลาการ
5. ก.บ.ศ. คือ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
6. ก.ศ. คือ คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
7. สำนักงานศาลยุตธิ รรมเป็ นหน่วยงานแบบใด ตอบ เป็ นส่วนราชการทีเ่ ป็ น
หน่วยงานอิสระ มีฐานะเป็ นนิตบ
ิ ค
ุ คล
8. การแบ่งส่วนราชการภายในของสำนักงานศาลยุตธิ รรมและการกำหนด
อำนาจหน้าที่ของส่วนราชการนัน
้ เป็ นอำนาจของใคร และให้ทำอย่างไร
ตอบ เป็ นอำนาจของ ก.บ.ศ. ต้องทำเป็ นประกาศ ก.บ.ศ.
9. สำนักงานศาลยุตธิ รรม มีอำนาจหน้าทีเ่ กีย
่ วกับอะไร ตอบ มีอำนาจหน้าที่
เกีย
่ วกับงานธุรการของศาลยุตธิ รรม
2
10. งานส่งเสริมตุลาการและงานวิชาการ เป็ นอำนาจหน้าทีข
่ องใคร ตอบเป็ น
อำนาจหน้าทีข
่ องสำนักงานศาลยุตธิ รรม
11. องค์กรที่มีอำนาจในการกำหนดจำนวน และระดับของข้าราชการศาล
ยุติธรรม คือใคร และโดยความเห็นชอบของใคร ตอบ ก.ศ. โดยความ
เห็นชอบของประธานศาลฎีกา
12. ผู้บงั คับบัญชาของข้าราชการศาลยุตธิ รรม คือ ใคร ตอบ เลขาธิการ
สำนักงานศาลยุติธรรม
13. เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรม เป็ นข้าราชการตุลาการหรือ
ข้าราชการศาลยุตธิ รรม ตอบ เป็ นข้าราชการศาลยุติธรรม
14. เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม ขึน
้ ตรงต่อใคร? ตอบ ขึน
้ ตรงต่อ
ประธานศาลฎีกา
15. เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรมมีหน้าที?่ ตอบ ควบคุมดูแลโดยทัว
่ ไป
ซึ่งราชการของสำนักงานศาลยุตธ
ิ รรมให้เป็ นไปตามกฎหมายและ
ระเบียบของทางราชการ รวมทัง้ ระเบียบ ประกาศ และมติของ ก.บ.ศ.
16. ใครเป็ นผู้แทนในการดำเนินกิจการของสำนักงานศาลยุตธิ รรมที่
เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก ตอบ เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม เป็ น
ผู้แทนของสำนักงานศาลยุติธรรม
17. ผู้พิพากษาในศาลสามารถสั่งข้าราชการศาลยุติธรรมได้หรือไม่
ตอบ ได้ แต่คำสั่งนัน
้ ต้องเป็ นคำสั่งที่ สัง่ ในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วย
กฎหมายระเบียบของทางราชการ
18. คณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม (ก.บ.ศ.) ทัง้ หมด 14 แต่ไม่เกิน 16
(ไม่รวมประธาน) ประกอบด้วยใครบ้าง
ตอบ 1.) ประธานศาลฎีกา เป็ นประธานกรรมการบริหารศาล
ยุติธรรม
2.) กรรมการบริหารศาลยุติธรรม ซึ่งข้าราชการตุลาการเว้นแต่ผู้
3
ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้พิพากษา เป็ นผู้เลือกจากข้าราชการตุลาการใน
แต่ละชัน
้ ศาล ดังนี ้
2.1) ศาลฎีกา ให้เลือกจากข้าราชการตุลาการที่ดำรงตำแหน่งใน
ศาลฎีกา ในตำแหน่งที่ไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวน 4 คน
2.2) ศาลอุทธรณ์ ให้เลือกจากข้าราชการตุลาการที่ดำรงตำแหน่ง
ในศาลอุทธรณ์ หรือศาลอุทธรณ์ภาคในตำแหน่งที่ไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษา
ศาลอุทธรณ์ หรือผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ภาคจำนวน 4 คน
2.3) ศาลชัน
้ ต้น ให้เลือกจากข้าราชการตุลาการซึ่งมีอาวุโสสูงสุด
100 คนแรก ที่ดำรงตำแหน่งในศาลชัน
้ ต้น และซึ่งมิใช่ข้าราชการตุลาการ
ที่ดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาอาวุโส จำนวน 4 คน
3.) กรรมการบริหารศาลยุติธรรมผู้ทรงคุณวุฒิ
- ด้านการงบประมาณ ด้านการพัฒนาองค์กร หรือด้านการ
บริหารและการจัดการ ซึ่งประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรมและ
กรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม เป็ นผู้เลือกจากบุคคลซึ่งไม่เป็ นหรือเคยเป็ น
ข้าราชการตุลาการ หรือข้าราชการศาลยุตธิ รรม จำนวนไม่น้อยกว่า 2
คน แต่ไม่เกิน 4 คน
19. เลขานุการคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) หมายถึงผู้ใด
ตอบ เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็ นเลขานุการ
20. กรรมการบริหารศาลยุตธิ รรมผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านใดบ้าง
ตอบ ด้านงบประมาณ ด้านการพัฒนาองค์กร ด้านการบริหารและจัดการ
21. กรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
ตอบ 2 ปี แต่จะดำรงตำแหน่ง 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
22. กรรมการบริหารศาลยุติธรรมพ้นจากตำแหน่งเมื่อใด
ตอบ 1. ตาย 2. ลาออก
3. พ้นจากตำแหน่งข้าราชการตุลาการในกรณีที่เป็ นกรรมการบริหาร
4
ศาลยุติธรรม
4. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ในกรณีที่เป็ นกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิ
23. ในกรณีเป็ นที่สงสัยเกีย
่ วกับการพ้นจากตำแหน่ง ของกรรมการบริหาร
ศาลยุตธิ รรม ให้ผใู้ ดเป็ นผ้วน
ิ จ
ิ ฉัยชีข
้ าด
ตอบ ก.บ.ศ. (คณะกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม) เป็ นผูว้ ินิจฉัยชีข
้ าด
24. ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรมว่างลง ต้องทำอย่างไร
ตอบ - วาระที่เหลือต้องไม่นอ
้ ยกว่า 90 วัน
- เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็ นผู้ดำเนินการให้มีการเลือก
ก.บ.ศ. แทนตำแหน่งที่ว่างภายใน 30 วัน นับแต่วน
ั ที่ว่าง
- และผู้ได้รับเลือก อยู่ในตำแหน่งเท่ากับระยะที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตน
แทน
25. การประชุมของ ก.บ.ศ. ต้องมีกรรมการมาประชุมจำนวนเท่าใด จึง
จะถือว่าเป็ นองค์ประชุม
ตอบ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวน กรรมการทัง้ หมด
26. ในการประชุมของ ก.บ.ศ.ห้ามมิให้ ถ้ากรรการผู้ใดมีสว
่ นได้เสียใน
เรื่องที่พิจารณา ห้ามมิให้ผู้นน
ั ้ ร่วมประชุมหรือลงมติ ในเรื่องนัน
้ แต่
หากผู้นน
ั ้ ได้เข้าประชุมอยู่ก่อนแล้ว และการไม่มีสิทธิร่วมประชุมและลง
มตินน
ั ้ เป็ นการชั่วคราว ก็ให้นับผูน
้ น
ั ้ เป็ นองค์ประชุมในเรื่องนัน
้ ด้วย
27. หลักเกณฑ์การวินิจฉัยชีข
้ าดของที่ประชุม ก.บ.ศ. คือ
ตอบ ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลง
คะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึน

อีกเสียงหนึ่งเป็ นเสียงชีข
้ าด
28. ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการบริหารว่างลง และมีความจำเป็ นที่จะต้อง
ดำเนินการโดยรีบด่วน ต้องทำอย่างไร
5
ตอบ ให้กรรมการจำนวนเท่าที่มีอยู่ดำเนินการต่อไปได้
29. กรณีที่กรรมการบริหารศาลยุตธิ รรมเหลืออยู่มีจำนวนน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนกรรมการทัง้ หมด ให้ดำเนินการอย่างไร
ตอบ เลือกกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเพิ่มขึน
้ โดยเร็ว และใน
ระหว่างนัน
้ ก.บ.ศ. จะดำเนินการใดไม่ได้
30. ก.บ.ศ. มีอำนาจหน้าที่ในอย่างไร ?
ตอบ การกำกับดูแลการบริหารราชการศาลยุติธรรมในส่วนที่เกี่ยวกับงาน
บริหารราชการและงานธุรการของสำนักงานศาลยุตธิ รรม ให้เป็ นไปตาม
กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน และประเพณีปฏิบัติของทางราชการศาลยุติธรรม
โดยให้มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี ้
1) ออกระเบียบหรือประกาศ หรือมีมติเพื่อการบริหารราชการศาล
ยุติธรรม ในส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารราชการ งานธุรการของสำนักงานศาล
ยุติธรรมให้เป็ นไปตามนโยบายของประธานศาลฎีกา
มีอำนาจยับยัง้ การบริหารราชการของศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุตธิ รรมที่
ไม่เป็ นไปตามระเบียบ ประกาศ มติ
2)ให้ความเห็นชอบ
การจัดทำงบประมาณรายจ่าย ในการบริหารราชการศาลยุติธรรม
และสำนักงานศาลยุติธรรม
การบริหารจัดการพัสดุฯ งบประมาณฯ ของศาลยุติธรรมและ
สำนักงานศาลยุตธิ รรม
3) กำหนดวันทำงาน
วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี
การลาหยุดราชการของข้าราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรมและ
ลูกจ้างของสำนักงานศาลยุติธรรม
4) กำหนดให้มีตราสัญลักษณ์ เครื่องหมายใด
6
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ในการทำและใช้
5) แต่งตัง้ บุคคลหรือคณะบุคคลให้ทำการใดแทน
6) กำหนดเบีย
้ ประชุมหรือค่าตอบแทนให้ผู้ได้รับแต่งตัง้
7) กำกับดูแลการบริหารราชการศาลยุตธิ รรม ให้เป็ นไปตาม พ.ร.บ.
นีห
้ รือกฎหมายอื่น
8) ปฏิบัติการอื่นใดที่กฎหมายกำหนดให้เป็ นอำนาจของ ก.บ.ศ.
9) ให้ความเห็นชอบ ระเบียบประกาศ ก.ศ.
10) ก.บ.ศ. เสนอรายชื่อ เลขาธิการศาลยุติธรรม ต่อ ก.ต.
11) ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของ ก.ศ. ในการแต่งตัง้ รอง
เลขาธิการ
31. ก.ศ. คือ ตอบ คณะกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม
32. คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) มี ประกอบด้วย
ตอบ 1) ประธานศาลอุทธรณ์ เป็ นประธาน
- รองประธานศาลฎีกาซึ่งมีอาวุโสสูงสุด , เลขาธิการ ก.พ. ,
เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรม เป็ นกรรมการโดยตำแหน่ง
2) ข้าราชการตุลาการซึ่งได้รับแต่งตัง้ จากคณะกรรมการตุลาการศาล
ยุติธรรม (ก.ต.) ชัน
้ ศาลละ 1 คน
3) ข้าราชการศาลยุตธิ รรมผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส
ขึน
้ ไป ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษขึน
้ ไป ประเภทอำนวย
การ หรือประเภทบริหาร ซึ่งได้รับเลือกจากข้าราชการศาลยุตธิ รรมที่
ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานขึน
้ ไป ประเภทวิชาการ
ระดับชำนาญการขึน
้ ไป ประเภทอำนวยการ ระดับต้นขึน
้ ไป และ
ประเภทบริหาร ระดับต้นขึน
้ ไป จำนวน 5 คน และ
4) ผู้ทรงคุณวุฒิ
- ด้านการพัฒนาองค์กร
7
- ด้านการบริหารงานบุคคล
- หรือด้านการบริหารและการจัดการ ซึ่งไม่เคยเป็ นหรือเคย
เป็ นข้าราชการตุลาการหรือข้าราชการศาลยุตธิ รรม ซึ่ง
กรรมการ ตาม ข้อ 1) , 2) และ 3) เป็ นผู้เลือกจำนวน ไม่
เกิน 3 คน
33. ก.ศ. มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ตอบ 2 ปี แต่จะดำรงตำแหน่ง 2 วาระติดต่อกันไม่ได้
34. คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม พ้นจากตำแหน่งเมื่อใด
ตอบ 1. ตาย 2. ลาออก
3. พ้นจากตำแหน่งข้าราชการตุลาการในกรณีที่เป็ นกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรม
4. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ในกรณีที่เป็ นกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิ
35. ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม ว่างลง ต้องทำ
อย่างไร
ตอบ - วาระที่เหลือต้องไม่นอ
้ ยกว่า 90 วัน
- เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเป็ นผู้ดำเนินการให้มีการเลือก
ก.ศ. แทนตำแหน่งที่ว่างภายใน 30 วัน นับแต่วน
ั ที่ว่าง
- และผู้ได้รับเลือก อยู่ในตำแหน่งเท่ากับระยะที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตน
แทน
36. การประชุม ของ ก.ศ. ให้นำการประชุม ของ ก.บ.ศ. มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
37. คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.) มีอำนาจ
ตอบ ออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลและการ
อื่นของสำนักงานศาลยุติธรรม ในเรื่องดังต่อไปนี ้
8
1) การกำหนดคุณสมบัติ การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตัง้ การ
ทดลองปฏิบัตห
ิ น้าที่ราชการ การพัฒนา การย้าย การเลื่อนตำแหน่ง การ
พ้นจากตำแหน่ง การเลื่อนขัน
้ เงินเดือน การออกจากราชการ การสั่งพัก
ราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน วินย
ั การสอบสวน และการ
ลงโทษทางวินย
ั การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษสำหรับ
ข้าราชการศาลยุตธิ รรม
2) การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทนในตำแหน่งของ
ข้าราชการศาลยุตธิ รรม
3) การกำหนดเครื่องแบบและการแต่งกายของข้าราชการศาลยุตธิ รรม
4) การจ้างและการแต่งตัง้ บุคคลเพื่อเป็ นผู้เชี่ยวชาญหรือเป็ นผู้ชำนาญ
การเฉพาะด้าน อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของศาลยุติธรรม
รวมทัง้ กำหนดอัตราค่าตอบแทนการจ้างด้วย
5) การแต่งตัง้ บุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินกิจการใด ๆ ตามแต่จะ
มอบหมาย
6) การจัดสวัสดิการหรือการสงเคราะห์อ่ น
ื แก่ข้าราชการศาลยุติธรรม
7) การรักษาทะเบียนประวัติและควบคุมการเกษียณอายุของ
ข้าราชการศาลยุตธิ รรม
8) การกำหนดวิธีการและเงื่อนไขในการจ้างลูกจ้างของสำนักงานศาล
ยุติธรรม รวมทัง้ การกำหนดเครื่องแบบ การแต่งกาย และการจัด
สวัสดิการหรือการสงเคราะห์อ่ น
ื ของลูกจ้างของสำนักงานศาลยุตธิ รรม
9) การกำหนดกิจการอื่นอันจำเป็ นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงาน
บุคคล
38. ระเบียบหรือประกาศของ คณะกรรมการข้าราชการศาลยุตธิ รรม
(ก.ศ.) ให้ผใู้ ดเป็ นผู้ลงนาม และโดยความเห็นชอบของใคร ?
9
ตอบ ประธานกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมเป็ นผู้ลงนาม และเมื่อ
ได้รับความเห็นชอบจาก ก.บ.ศ. และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ให้ใช้บังคังได้
39. การบรรจุและแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม
ทำได้โดย
ตอบ 1)ให้ประธานศาลฎีกาเสนอชื่อต่อคณะกรรมการตุลาการศาล
ยุติธรรม เพื่อให้ความเห็นชอบ
2) เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
แล้ว ให้ประธานศาลฎีกาเป็ นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและดำเนินการเพื่อทรง
พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตัง้ ต่อไป
40. เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมมีวาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี
ั ที่ได้รับแต่งตัง้ เว้นแต่ ประธานศาลฎีกา โดย
ตอบ 2 ปี นับแต่วน
ความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) มีคำสั่งให้
พ้นจากตำแหน่งก่อนครบกำหนดระยะเวลาดังกล่าว
41. การบรรจุและแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการสำนักงานศาล
ยุติธรรมหรือตำแหน่งอื่นที่เทียบเท่า (มาตรา 22 (2))
1)ให้เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมเสนอรายชื่อต่อ ก.ศ. เพื่อให้
ความเห็นชอบ
2) ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบของ ก.ศ. นัน
้ ให้ฟังความเห็นของ
ก.บ.ศ. ประกอบการพิจารณาด้วย
3) เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก ก.ศ. แล้ว ให้ประธานศาลฎีกาเป็ นผู้มี
อำนาจสั่งบรรจุและดำเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตัง้
ต่อไป
10
42. การบรรจุและแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งอื่น นอกจาก (1) และ (2) ให้
เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรมเป็ นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตัง้
(มาตรา 22(3))
43. การแต่งตัง้ เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรมนัน
้ ให้แต่งตัง้ จากบุคคลซึ่ง
โอนมาจากข้าราชการตุลาการหรือเคยเป็ นข้าราชการตุลาการ (มาตรา
23)
44. ในกรณีที่เป็ นการแต่งตัง้ จากบุคคลซึ่งโอนมาจากข้าราชการตุลาการจะ
ต้องเสนอคณะกรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรม (ก.ต.) เพื่อให้ความเห็น
ชอบก่อน และเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตัง้ แล้ว ให้
ข้าราชการตุลาการผู้นน
ั ้ พ้นจากตำแหน่งข้าราชการตุลาการ (มาตรา 23)
45. การกำหนดตำแหน่งและการให้ได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง
และเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของข้าราชการศาลยุติธรรม ให้
นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพล เรือนในส่วนที่เกี่ยวกับ
ข้าราชการพลเรือนสามัญมาใช้บังคับโดยอนุโลม (มาตรา 24)
46. คำว่า “ก.พ.” ให้หมายถึง ก.ศ. (มาตรา 24)
47. คำว่า “กระทรวง” ให้หมายถึง สำนักงานศาลยุตธิ รรม (มาตรา 24)
48. คำว่า “ปลัดกระทรวง” ให้หมายถึง เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรม
(มาตรา 24)
49. อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจำตำแหน่ง และการให้ได้รับเงินประจำ
ตำแหน่งของข้าราชการศาลยุตธิ รรม ให้นำกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและ
เงินประจำตำแหน่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม(มาตรา 25)
50. ข้าราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรมอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพ
ชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ทัง้ นี ้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.บ.ศ.
กำหนด (มาตรา 27)
11
51. ในกรณีที่มีเหตุที่จะต้องจัดให้มห
ี รือปรับปรุงเงินเพิ่มค่าครองชีพตาม
มาตรา 27 วรรคหนึง่ ให้เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรมรายงานไปยัง
คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป
52. การโอนข้าราชการ
1) ข้าราชการศาลยุติธรรมไปบรรจุและแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่ง
ข้าราชการตามกฎหมายอื่น หรือ พนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่น
2) ข้าราชการตามกฎหมายอื่น หรือ พนักงานขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นบรรจุและแต่งตัง้ ให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการศาลยุติธรรม
***อาจกระทำได้ ถ้าเจ้าตัวสมัครใจโดยผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตัง้
ทำความตกลงกับเจ้าสังกัด และได้ปฏิบัติตามระเบียบที่ ก.ศ. กำหนด
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ข้าราชการ หรือคณะกรรมการ
พนักงานส่วนท้องถิ่นประเภทนัน
้ ๆ แล้วแต่กรณี (มาตรา 28)
53. การโอนข้าราชการการเมืองและข้าราชการที่อยู่ในระหว่างทดลอง
ปฏิบัติหน้าที่ราชการมาเป็ นข้าราชการศาลยุตธิ รรม ตามพระราชบัญญัติ
นีจ
้ ะกระทำมิได้ (มาตรา 28)
54. ข้าราชการตุลาการซึ่งโอนไปเป็ นข้าราชการศาลยุตธิ รรมได้รับเงิน
เดือนและเงินประจำตำแหน่งตามอัตราตามตำแหน่งของข้าราชการศาล
ยุติธรรม (มาตรา 29)
55. ข้าราชการศาลยุตธิ รรมมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญตามกฎหมายว่า
ด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการเช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือน (มาตรา
30)
56. ให้ข้าราชการศาลยุตธิ รรมเป็ นข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุน
บำเหน็จบำนาญข้าราชการ(มาตรา 30)
12
57. สำนักงานศาลยุตธิ รรม เป็ น หน่วยรับตรวจ ตามกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน (มาตรา 31)
58. เมื่อสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินได้ทำการตรวจสอบรับรองบัญชีและ
การเงินทุกประเภทของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรมแล้ว ให้
เสนอผลการสอบบัญชีต่อสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี
โดยไม่ชักช้า (มาตรา 31)
59. การเสนองบประมาณ (มาตรา 32)
1) สำนักงานศาลยุติธรรมเสนองบประมาณรายจ่ายต่อคณะรัฐมนตรี
เพื่อจัดสรรเป็ นเงินอุดหนุนศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุตธิ รรมไว้ใน
ร่าง พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือร่าง พรบ. งบประมาณ
รายจ่ายเพิ่มเติมแล้วแต่กรณี
2) คณะรัฐมนตรีอาจทำความเห็นเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณของ
ศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุตธิ รรมไว้ในรายงานการเสนอร่าง พรบ.
งบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือร่าง พรบ. งบประมาณรายจ่าย
เพิ่มเติมด้วยก็ได้
3) ในการพิจารณาร่าง พรบ. ดังกล่าว คณะรัฐมนตรี สภาผู้แทน
ราษฎร วุฒิสภา หรือคระกรรมาธิการที่เกี่ยวข้องอาจขอให้เลขาธิการ
สำนักงานศาลยุตธิ รรมหรือผู้ซึ่งเลขาธิการ สำนักงานศาลยุตธิ รรมมอบ
หมายเข้าชีแ
้ จงเพื่อประกอบการพิจารณาได้
60. ตามกฎหมายอื่นเฉพาะที่เกี่ยวกับการบริหารงานศาลยุตธิ รรมที่มีอยู่ใน
วันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ คำต่อไปนีใ้ ห้หมายถึง (มาตรา 33)
- คำว่า “กระทรวงยุติธรรม” หมายถึง “สำนักงานศาลยุติธรรม”
- คำว่า “รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม” หมายถึง “ประธานศาล
ฎีกา”
13
- คำว่า “ปลัดกระทรวงยุติธรรม” หมายถึง “เลขาธิการสำนักศาล
ยุติธรรม”
61. สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ
สำนักงานศาลยุตธิ รรม (มาตรา 36)
62. ในระหว่างทีย
่ ังไม่มีระเบียบ ประกาศ หรือคำสัง่ เพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี ้ ให้นำพระราชฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ
ประกาศหรือคำสั่ง ที่ใช้บงั คับอยูใ่ นวันที่พระราชบัญญัตินป
ี ้ ระกาศในราช
กิจจานุเบกษามาใช้บังคับโดยอนุโลม (มาตรา 39)
หมายเหตุ ...เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ โดยที่
มาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ศาลยุติธรรม
มีหน่วยธุรการของศาลยุตธิ รรมที่เป็ นอิสระ โดยมีเลขาธิการสำนักงานศาล
ยุติธรรมเป็ นผู้บังคับบัญชาขึน
้ ตรงต่อประธานศาลฎีกา และการแต่งตัง้
เลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรม ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะ
กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมและให้สำนักงานศาลยุตธิ รรมมีอิสระในการ
บริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดำเนินการอื่น ทัง้ นี ้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ สมควรดำเนินการให้เป็ นไปตามบทบัญญัติดังกล่าว จึง
จำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
่ นราชการภายในแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม
การแบ่งสว
1. กลุ่มในส่วนกลาง
2. กลุ่มศาล
1.กลุ่มในส่วนกลาง แบ่งเป็ น 22 หน่วยงาน
(1) สำนักประธานศาลฎีกา
(2) สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
(3) สำนักคณะกรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรม
(4) สำนักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม
14
(5) สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุตธิ รรม
ั และพัฒนารพีพัฒนศักดิ ์
(6) สถาบันวิจย
(7) สำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม
(8) สำนักการคลัง
(9) สำนักการเจ้าหน้าที่
(10) สำนักการต่างประเทศ
(11) สำนักกิจการคดี
(12) สำนักตรวจสอบภายใน
(13) สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
(14) สำนักบริหารกลาง
(15) สำนักบริหารงานออกแบบและก่อสร้าง
(16) สำนักบริหารทรัพย์สิน
(17) สำนักแผนงานและงบประมาณ
(18) สำนักส่งเสริมงานตุลาการ
(19) สำนักอนุญาโตตุลาการ
(20) กองสารนิเทศและประชาสัมพันธ์
(21) ศูนย์วิทยบริการศาลยุตธิ รรม
(22) สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยชีข
้ าดอำนาจหน้าที่ระหว่าง
ศาล
2. กลุ่มศาล
1. สำนักศาลยุตธิ รรมประจำภาค
2. สำนักอำนวยการประจำศาล
3. สำนักงานประจำศาล
การกำหนดจำนวนรองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รอง
ประธานศาลอุทธรณ์ภาค ดังนี ้
15
1. รองประธานศาลฎีกา จำนวน 6 อัตรา
2. รองประธานศาลอุทธรณ์ จำนวน 3 อัตรา
3. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 1 จำนวน 3 อัตรา
4. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 2 จำนวน 3 อัตรา
5. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 3 จำนวน 3 อัตรา
6. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 จำนวน 3 อัตรา
7. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 5 จำนวน 3 อัตรา
8. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 6 จำนวน 3 อัตรา
9. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 7 จำนวน 3 อัตรา
10. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 8 จำนวน 3 อัตรา
11. รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค 9 จำนวน 3 อัตรา
* ประธานศาลฎีกา จำนวน 1 คน
* รองประธานศาลฎีกา มากกว่า 1 คน ไม่เกิน 3 คน
* ศาลจังหวัด / ศาลแขวง ให้มีผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ศาลละ 1 คน
* ไม่มีหวั หน้าให้ผู้พิพากษาอาวุโสปฏิบต
ั ิราชการแทนตามลำดับอาวุโส
* ถ้าไม่มีอาวุโสให้ประธานศาลฎีกาสั่งให้ผู้พิพากษาคนใดคนหนึ่งแทน
* พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ใช้บังคับ 1 เมษายน 2535
* พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ใช้บังคับ 26 มกราคม 2551
มีนายกรัฐมนตรีเป็ นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ.
* ตำแหน่งข้าราชการศาลยุติธรรม(ธุรการ)
1. ทั่วไป
2. วิชาการ
3. บริหาร
* ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท
1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ
16
2. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
* ประเภทของข้าราชการพลเรือนสามัญ มี 4 ประเภท ดังนี ้
1. ตำแหน่งประเภททั่วไป แบ่งได้เป็ น
(ก) ระดับปฏิบัตงิ าน
(ข) ระดับชำนาญงาน
(ค) ระดับอาวุโส
(ง) ระดับทักษะพิเศษ
2. ตำแหน่งประเภทวิชาการ แบ่งได้เป็ น
(ก) ระดับปฏิบัติการ
(ข) ระดับชำนาญการ
(ค) ระดับชำนาญการพิเศษ
(ง) ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ
(จ) ระดับทรงคุณวุฒิ
3. ตำแหน่งประเภทอำนวยการ
(ก) ระดับต้น
(ข) ระดับสูง
4. ตำแหน่งประเภทบริหาร
(ก) ระดับต้น
(ค) ระดับสูง
* ข้าราชการพลเรือนต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี
- คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ก.พ.
- คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ก.พ.ค.
* โรคต้องห้าม
- โรคเรื้อน ระยะติดต่อหรือปรากฏอาการ สังคมรังเกียจ
- วัณโรคในระยะอันตราย
17
- โรคเท้าช้าง
- โรคติดยาเสพติดให้โทษ
- โรคพิษสุราเรื้อรัง
* โทษทางวินย

1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน ไม่รา้ ยแรง
3. ลดขัน
้ เงินเดือน
4. ปลดออก
5. ไล่ออก ร้ายแรง
* หมายอาญา มี 5 ประเภท
1. หมายจับ (สีขาว)
2. หมายค้น (สีขาว)
3. หมายขัง แบ่งออกได้ดงั นี ้
- หมายขังระหว่างสอบสวน (สีฟ้า)
- หมายขังระหว่างพิจารณา/ไต่สวนมูลฟ้ อง (สีเขียว)
4. หมายปล่อย (สีส้ม)
5. หมายจำคุก แบ่งออกได้ดงั นี ้
- หมายจำคุกและกักขังระหว่างอุทธรณ์ฎีกา หมายกักขังระหว่าง
อุทธรณ์ฎีกา หรือหมายจำคุกระหว่างอุทธรณ์ฎีกา (สีเหลือง)
- หมายจำคุกและกักขังเมื่อคดีถึงที่สุด หมายกักขังเมื่อคดีถึงที่สุด หรือหมาย
จำคุกเมื่อคดีถึงที่สุด (สีแดง)
* ศาลเป็ นผู้ออกหมายทุกประเภท
* จรรยาบรรณ
ละทิง้ หน้าที่ราชการเงิน 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
* การยื่นใบลาออก
18
- ต้องยื่นล่วงหน้า 30 วัน
- ผู้บงั คับบัญชายับยัง้ การลาออกได้ไม่เกิน 90 วัน นับแต่วันที่ขอลาออ
* ข้าราชการระดับ ซี 10 ขึน
้ ไปต้องนำชื่อขึน
้ ทูลเกล้าฯ
- กระทรวงมี 20 กระทรวง
รัฐธรรมนูญ ปี 2550
* ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ มี 3 ประเภท ได้แก่
1. ข้าราชการตุลาการ
2. ดะโต๊ะยุตธิ รรม
3. ข้าราชการศาลยุตธิ รรม
* คณะองค์มนตรีมี 19 คน
* ส.ส.มีวาระ 4 ปี
* หมดวาระเลือกใหม่ ภายใน 45 วัน
* ยุบสภา เลือกใหม่ภายใน 60 วัน
* คณะรัฐมนตรีมี 36 คน (รวมนายกรัฐมนตรี)
* สภาผู้แทนราษฎร์ ส.ส. 500 คน (ปาตีล
้ ิส 100 คน) แบ่งเขต เขตละ
100 คน 400 คน
* วุฒิสภา ส.ว. 200 คน วาระ 6 ปี ครบวาระเลือกภายใน 30 วัน
ระเบียบงานสารบรรณ
* ระเบียบงานสารบรรณ .ศ. 2526 บังคับ 1 มิถุนายน 2526
* ปลัดนายกรัฐมนตรีเป็ นผู้รักษาการ ดูแล แก้ไข เพิ่มเติม ระเบียบ
งานสารบรรณ ทุกหน่วยงาน ( 20 กระทรวง) ต้องปฏิบัติตาม
ระเบียบสารบรรณนี ้
* หนังสือ หมายถึง หนังสือราชการ (กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ
* หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็ นหลักฐานทางราชการ
* หนังสือราชการมี 6 ชนิด คือ
19
1. หนังสือภายนอก (ใช้กระดาษตราครุฑ)
2. หนังสือภายใน (ใช้กระดาษบันทึกข้อความ)
3. หนังสือประทับตรา (ใช้กระดาษตราครุฑ) ใช้ประทับตราแทน
ลายมือชื่อของหัวหน้าส่วนราชการ/ ระดับกรมขึน
้ ไป
* หนังสือสั่งการ มี 3 ชนิด
1. คำสัง่ ใช้กระดาษตราครุฑ โดยชอบด้วยกฎหมาย
2. ระเบียบ ใช้กระดาษตราครุฑ อาศัยกฎหมายหรือไม่ก็ได้
3. ข้อบังคับ ใช้กระดาษตราครุฑ โดยชอบด้วยกฎหมาย
* หนังสือประชาสัมพันธ์ มี 3 ชนิด
1. ประกาศ ใช้กระดาษตราครุฑ
2. แถลงการณ์ ใช้กระดาษตราครุฑ
3. ข่าว ไม่ใช้กระดาษตราครุฑ
* หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึน
้ หรือรับไว้ในทางราชการ มี 4 ชนิด
1. หนังสือรับรอง ใช้กระดาษครุฑ
2. รายงานการประชุม ไม่ใช้กระดาษครุฑ
3. บันทึก ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
4. หนังสืออื่น ๆ ภาพถ่าย ฟิ ลม์ แผ่นซีดี
* หนังสือที่ต้องปฏิบัติเร็วกว่าปกติ แบ่งเป็ น 3 ประเภท
1. ด่วนที่สุด คือ ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติทันทีที่ได้รับหนังสือ (ตัวสีแดง)
2. ด่วนมาก คือ ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
3. ด่วน คือ ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัตใิ ห้เร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
* หนังสือชัน
้ ความลับของทางราชการ แบ่งออกเป็ น 4 ชัน
้ คือ
1. ลับที่สุด TOP SECRET
2. ลับมาก SECRET
3. ลับ CONFIDE NTIAL.
20
4. ปกปิ ด RESTRICED (ยกเว้นไปแล้ว)
* การเก็บหนังสือ แบ่งเป็ น 3 ลักษณะคือ
1. การเก็บระหว่างปฏิบัติ
2. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
3. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
* การเก็บหนังสือที่มีอายุครบ 25 ปี ให้ทำบัญชีส่งมอบให้กอง
จดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากรภายใน 31 มกราคม ของปี ถัดไป
ทุกปี ปฏิทิน
* การทำลายหนังสือ ภายใน 60 วัน หลังจากวันสิน
้ ปี ปฏิทิน
* การทำสำเนาทำได้ 3 วิธี
1. ถอดจากต้นฉบับโดยตรง (ใช้คาร์บอน)
2. คัดจากต้นฉบับหรือลอกจากต้นฉบับ
3. ถ่ายจากต้นฉบับ (ใช้เครื่องถ่าย)
(รับรองสำเนาถูกต้อง)
* หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีผู้รับเป็ นจำนวนมาก มีใจความเหมือนกัน
ใช้พยัญชนะ ว. นำหนังสือส่ง
* หนังสือมีไปถึง ประธานองค์มนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา
วุฒิสภา ประธานศาลฎีกา (ใช้แทนตัวเองด้วย ดิฉัน กระผม
ข้าพเจ้า) ส่วนถึงใครให้ใช้ คำว่าท่าน
* คำขึน
้ ต้นใช้คำว่า กราบเรียน คำลงท้ายใช้คำว่า ขอแสดงความนับถือ
อย่างยิง่
* พระมี 4 ชัน

1. สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ใช้คำว่าขอประธานกราบทูล ควรมิควรแล้ว
แต่จะโปรด
2. สมเด็จพระสังฆราช ใช้คำว่ากราบทูล ควรมิควรแล้วแต่จะโปร
21
3. สมเด็จพระราชาคณะ ใช้คำว่านมัสการ นมัสการด้วยความ
เคารพยิ่ง
4. พระภิกษุสงค์ทั่วไป ใช้คำว่านมัสการ ขอนมัสการด้วยความ
เคารพ
- บุคคลทั่วไป ผู้วา่ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล นายอำเภอ ใช้คำว่าเรียน
ขอแสดงความนับถือ
* การเก็บหนังสือมี 3 ประเภท
- ระหว่างปฏิบัติ
- เก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
- เก็บไว้เพื่อการตรวจสอบ
* การเก็บหนังสือทัว่ ไปเก็บไม่น้อยกว่า 10 ปี
* หนังสือทั่วไปธรรมดาสามัญ ไม่น้อยกว่า 1 ปี
* หนังสือที่ได้ปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว และมีคู่สำเนาค้นได้จากที่อ่ น
ื เก็บได
ไม่นอ
้ ยกว่า 5 ปี
* ทุกปี ปฏิทินให้ส่วนราชการส่งหนังสือที่มีอายุครบ 25 ปี ไปให้กอง
จดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ภาในวันที่ 31 มกราคม ของปี
ถัดไป
* การทำลาย ต้องทำลายภายใน 60 วัน หลังจากสิน
้ ปี ปฏิทิน
* การทำลายหนังสือ ให้เจ้าหน้าที่ ลงบัญชีหนังสือที่จะทำลาย เสนอต่อ
หัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแต่งตัง้ คณะกรรมการ (3 คน) ทำลายหนังสือ
* มาตรฐาน ตรา แบบพิมพ์ ซอง
- มาตรฐานกระดาษ มี 3 ขนาด
ขนาด เอ 4 = 210 มล. x 297 มล.
ขนาด เอ 5 = 148 มล. x 210 มล.
ขนาด เอ 8 = 52 มล. x 74 มล.
22
* มาตรฐานกระดาษปอนด์ขาว หนัก 60 กรัม ต่อตาราง มี 3 ขนาด
ขนาด ซี 5 ใช้บรรจุหนังสือกระดาษครุฑ พับ 2
ขนาด ซี 6 ใช้บรรจุหนังสือกระดาษครุฑ พับ 4
ขนาด DL ใช้บรรจุหนังสือกระดาษครุฑ พับ 3
* มาตรฐานของซอง มี 4 ขนาด (สีขาวและสีน้ำตาล นำหนัก 80 กรัม /
ตารางเมตร)
ขนาด C 4 = 229 มล. x 324 มล.
ขนาด C 5 = 162 มล. x 229 มล.
ขนาด C 6 = 114 มล. x 162 มล.
ขนาด DL = 110 มล. x 220 มล.
ซอง ขนาด C 4 (ขยายข้าง น้ำหนัก 120 กรัม ต่อตารางเมตร)
* ข้าราชการระดับซี 2 ขึน
้ ไป รับรองสำเนาถูกต้องได้
* ครุฑมี 2 ขนาด
- ขนาด 3 ซม.
- ขนาด 1.5 ซม.
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
* ขังแทนค่าปรับวันละ 500 บาท
* ถ้ามีโทษปรับแล้วจำเลย(ไม่รวมนิติบุคคล) ไม่มีเงินชำระ จำเลยยื่นคำร้องข
ทำงานบริการสังคมได้
* ลหุโทษ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท
ค่าธรรมเนียมศาลใหม่มีดังนี ้
1. คดีมีทุนทรัพย์อน
ั อาจคำนวณเป็ นเงินได้ ให้คิดค่าขึน
้ ศาล ดังนี ้
-ทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง ไม่เกิน 300,000 บาท ร้อยละ 2 แต่ไม่เกิน 1,000
บาท(คดีศาลแขวง)
23
-ทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง เกิน 300,000 แต่ไม่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 2
บาท แต่เสียไม่เกิน 200,000 บาท ส่วนทุนทรัพย์ที่เรียกร้องในส่วนที่เกิน 50
ล้านบาทแรก ให้เสียในอัตราร้อยละ 0.1 บาท
2.คำร้องขอให้ศาลบังคับตามคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการในประเทศหรือ
คำร้องขอขอให้เพิกถอนคำชีข
้ าดอนุญาโตตุลาการในประเทศ ไม่เกิน 50
ล้านบาท ร้อยละ 0.5 บาท แต่ไม่เกิน 50,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาท
ร้อยละ 0.1
3. คำร้องขอให้บังคับตามคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ หรือให้
เพิกถอนคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ ไม่เกิน 50 ล้านบาท
ร้อยละ 1 แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 0.1
4. ฟ้ องขอให้บังคับจำนองหรือบังคับเอาทรัพย์สินจำนองหลุด ไม่เกิน 50
ล้านบาท ร้อยละ 1 แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาทขึน
้ ไป
ร้อยละ 0.1
5. คดีขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ที่ไม่อาจคำนวณเป็ นเงินได้ รวมทัง้ คดีไม่มีข้อ
พิพาท เสียเรื่องละ 200 บาท
6. คดีขอให้ชำระค่าเสียหาย ค่าอุปการะเลีย
้ งดู ค่าเลีย
้ งชีพ เงินปี เงินเดือน
หรือที่จ่ายมีกำหนดระยะเวลาในอนาคต นอกจากดอกเบีย
้ ค่าเช่า (ค่าขึน

ศาลในอนาคต) เสียค่าขึน
้ ศาล 100 บาท
7. ค่าคำร้องขอให้สืบพยานล่วงหน้าในกรณียงั ไม่มีคดีอยู่ในศาล เสีย 100
บาท
8. ค่ารับรองเอกสาร โดยเจ้าพนักงานศาล(ทุกชัน
้ ศาล) หรือเจ้าพนักงาน
บังคับคดี ฉบับละ 50 บาท (แต่ถา้ ฟ้ องก่อนวันที่ 11 พ.ค. 2551 ฉบับละ 20
บาท)
9. ใบสำคัญเพื่อแสดงว่าคดีถึงที่สุด ฉบับละ 50 บาท(ทุกชัน
้ ศาล) (แต่ถา้
ฟ้ องก่อนวันที่ 11 พ.ค.2551 ฉบับละ 15 บาท)
24
10. คำร้องอื่นๆ ค่าคำขอ ค่าเอกเอกสารเป็ นพยาน ค่าใบแต่ง
ทนายความ(กฎหมายไม่กล่าวถึง) จึงได้รับการยกเลิก คือไม่ต้องเสีย
อื่นๆ
* ผู้พิพากษาอาวุโสมีอายุตงั ้ แต่ 61-70 ปี
* ผู้ช่วยผู้พิพากษาต้องผ่านการศึกษาอบรมจากสำนักงานศาลยุติธรรม
1 ปี
* เป็ นผู้พิพากษาประจำศาลอย่างน้อย 3 ปี ถึงจะเลื่อนขึน
้ เป็ นผู้
พิพากษาศาลชัน
้ ต้นได้
* วุฒิสภา มีมติให้ถอดถอนข้าราชการตุลาการพ้นจากตำแหน่งได้
* คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) ทัง้ หมดมี 15 คน
* เงินเดือนข้าราชการตุลาการมี 5 ชัน

* ประธานศาลฎีกาเงินเดือนชัน
้ 5
* รองประธานศาลฎีกา ผู้พิพากษาศาลฎีกา ปรานศาลอุทธรณ์และ
ประธานศาลอุทธรณ์ภาค เงินเดือนขัน
้ 4
* อธิบดีผู้พิพากษาศาลชัน
้ ต้น อธิบดีภาค ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล เงิน
เดือนชัน
้ 3
* ผู้พิพากษาศาลชัน
้ ต้นเงินเดือน ชัน
้ 2-3
* ผู้พิพากษาประจำศาล เงินเดือน ชัน
้ 1
* ประธานศาลฎีกามีอำนาจสั่งข้าราชการตุลาการไปช่วยทำงานชั่วคราว
ในตำแหน่งที่ไม่ต่ำกว่าที่ดำรงอยู่ ไม่เกิน 6 เดือน ถ้าเกิน 6 เดือน
ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ก.ต. ก่อน
* การสั่งไปช่วยงานชั่วคราว ต้องได้รับความยินยอมจากข้าราชการผู้นน
ั้
* ข้าราชการตุลาการโอนมาเป็ นข้าราชการศาลยุติธรรมได้ เมื่อเจ้าตัว
ยินยอมและ ก.ต. เห็นชอบ
25
* ดะโต๊ะยุตธิ รรม มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปี ต้องนับถือศาสนามุสลิม มี
ความรู้ภาษาไทยสอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่า ม.3 เป็ นผู้วน
ิ ิจฉัยชีข
้ าดข้อ
กฎหมายอิสลามเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก
ระเบียบการลา
การลาแบ่งออกเป็ น 11 ประเภท ดังต่อไปนี ้
(1) การลาป่ วย
(2) การลาคลอดบุตร (รวมทัง้ หมด 90 วัน)
(3) การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ให้มีสิทธิลาไปช่วยเหลือ
ภริยาที่คลอดบุตรครัง้ หนึ่งติดต่อกัน
ได้ไม่เกิน ๑๕ วันทำการ
(4) การลากิจส่วนตัว
(5) การลาพักผ่อน
(6) การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
(7) การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล
(8) การลาไปศึกษา ฝึ กอบรม หรือปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน
(9) การลาไปปฏิบัตงิ านในองค์การระหว่างประเทศ
(10) การลาติดตามคู่สมรส
(11) การลาไปฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
* ข้าราชการศาลยุตธิ รรมซึ่งประสงค์จะลาป่ วยเพื่อรักษาตัว ให้เสนอหรือ
จัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจอนุญาตก่อนหรือใน
วันที่ลา เว้นแต่ในกรณีจำเป็ นจะเสนอหรือจัดส่งใบลาในวันแรกที่มาปฏิบัติ
ราชการก็ได้
* การลาป่ วยตัง้ แต่ ๓๐ วันขึน
้ ไป ต้องมีใบรับรองของแพทย์ซึ่งเป็ นผู้ที่ได้ขน
ึ้
ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับใบลาด้วย
26
* การลาป่ วยไม่ถึง ๓๐ วัน ไม่ว่าจะเป็ นการลาครัง้ เดียวหรือหลายครัง้
ติดต่อกันถ้าผู้มีอำนาจอนุญาตเห็นสมควร จะสั่งให้มีใบรับรองของแพทย์
ตามวรรคสามประกอบใบลา หรือสั่งให้ผู้ลาไปรับการตรวจจากแพทย์ของ
ทางราชการเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้
* หัวหน้าฝ่ าย หัวหน้าส่วน หัวหน้ากลุ่มงาน มีอำนาจอนุญาตการลา
ป่ วย และลากิจส่วนตัว ลาป่ วย 30 วัน ลากิจ 15 วัน แต่ไม่มีอำนาจ
ลาคลอดบุตรและลาพักผ่อน
* ข้าราชการศาลยุตธิ รรมทุกตำแหน่งให้สำนักงานประจำศาล หากจะ
ลาป่ วยเกิน 30 วัน ลากิจเกิน 15 วัน หรือลาคลอดบุตร หรือลา
พักผ่อน ต้องขออนุญาต ผอ.สำนักงานศาลฯ
* ข้าราชการศาลยุตธิ รรมมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปี หนึ่งได้ 10 วัน
ทำการ
* สะสมวันลาพักผ่อนได้ไม่เกิน 20 วันทำการ ยกเว้น กรณี รับ
ราชการติดต่อกันมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 10 ปี สะสมได้ไม่เกิน 30
วันทำการ
* การลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจน์ ต้องยื่นใบลาก่อนเดินทาง
ไม่นอ
้ ยกว่า 60 วัน และกลับมารายงานตัว ภายใน 5 วัน นับแต่
วันที่ลาสิกขาหรือวันที่เดินทางกลับประเทศไทย
* การลาติดตามคู่สมรส ลาได้ไม่เกิน 2 ปี กรณีจำเป็ น อาจอนุญาต
ได้อีก 2 ปี รวมแล้วไม่เกิน 4 ปี ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออกจาก
ราชการ

ระเบียบเกี่ยวกับการเงินและพัสดุ
* การเงินมี 4 ประเภท ใหญ่ ๆ
1. เงินงบประมาณ
27
2. เงินรายได้แผ่นดิน
3. เงินนอกงบประมาณ
4. เงินทดรองราชการ

* เงินรายได้แผ่นดินของศาล
1. เงินค่าธรรมเนียมและค่าปรับนำส่งคลัง เดือนละ 2 ครัง้
2. เงินกลางค้างจ่ายเกิน 5 ปี
3. เงินดอกเบีย
้ อันเกิดจากเงินกลาง 10% ของยอดคงเหลือ ณ
สิน
้ มีนาคม , กันยายน
* เงินงบประมาณของศาล
1. งบกลาง
- เงินสวัสดิการรักษาพยาบาล
- เงินสวัสดิการการศึกษาบุตร
- เงินสวัสดิการการช่วยเหลือบุตร
2. งบบุคลากร
- เงินเดือน
- ค่าจ้างประจำ
- ค่าจ้างชั่วคราว
3. งบดำเนินการ
- ค่าตอบแทน
- ใช้สอยและวัสดุ
- ค่าจ้างชั่วคราว
4. งบลงทุน
- ค่าครุภัณฑ์
- ที่ดน
ิ และสิ่งก่อสร้าง
28
* การซื้อหรือการจ้างมี 5 วิธี คือ
1. วิธีตกลงราคา
2. วิธีสอบราคา
3. วิธีประกวดราคา
4. วิธีพิเศษ
5. วิธีกรณีพิเศษ
* การจำหน่ายพัสดุมี 4 วิธี
1. การขาย
2. การแลกเปลี่ยน
3. การโอน
4. การแปรสภาพหรือการทำลาย
***************************
ความรู้ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
* บุคคลที่ไม่ต้องสาบานก่อนเบิกความเป็ นพยานต่อศาล
1. บุคคลที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี หรือ หย่อนความรู้สึกผิดและ
ชอบ
2. พระภิกษุและสามเณรในพุทธศาสนา
3. บุคคลซึ่งคู่ความทัง้ สองฝ่ ายตกลงกันว่าไม่ต้องสาบาน
* บุคคลที่มีอำนาจฟ้ องคดีอาญาต่อศาล
1. พนักงานอัยการ
2. ผู้เสียหาย

* การตายผิดธรรมชาติมี
1. การฆ่าตัวตาย
2. ถูกผู้อ่ น
ื กระทำให้ตาย
29
3. ถูกสัตว์ทำร้ายให้ตาย
4. ตายโดยอุบต
ั ิเหตุ
5. ตายโดยยังมิได้ปรากฏเหตุ
* โทษสำหรับลงแก่ผู้กระทำผิดมี
1. ประหารชีวิต
2. จำคุก
3. กักขัง
4. ปรับ
5. ริบทรัพย์

ภาษาไทย
- สระในภาษาบาลี มี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
- สระในภาษาสันสกฤตมีทงั ้ หมด 14 ตัว คือ สระภาษาบาลี 8
ตัว + เพิ่มอีก 6 ตัว คือสระ ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา
- ภาษาบาลีมีพยัญชนะ 33 ตัว
- พยัญชนะสันสกฤต มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว + 2
ตัว คือ ศ, ษ
- พยัญชนะมี 44 รูป 21 เสียง
- วรรณยุกต์มี 5 รูป 4 เสียง
- สระมี 32 เสียง 32 รูป
- ภาษาไทยคือคำโดด มีความหมายในตัว
- คำประสมคือ คำ 2 คำ นำมารวมกัน กลายเป็ นอีกความ
หมาย เช่น ไฟกับฟ้ า เป็ น ไฟฟ้ า ไม้-ขีด-ไฟ รวมกันเป็ น
ไม้ขีดไฟ
- คำสันธาน คือ คำเชื่อม และ ถึง ได้ จึง แล้ว เพื่อ
30
- คำซ้อน เช่น เอาเป็ นเอาตาย คือคำที่ตรงข้ามกันมารวมกันเป็ น
คำใหม่
ชิงไหวชิงพริบ ร่วมทุกข์ร่วมสุข มิดีมิร้าย
- คำเป็ นคำตาย คำเป็ น ผันวรรณยุกต์งา่ ย
คำตายผันยาก
- อุปมา-อุปไมย คือ การเปรียบเทียบ
- คำบุพบท มีหน้าคำนามเพื่อให้มีใจความสมบูรณ์ เช่น กับ
แก่ แต่ ต่อ

You might also like