You are on page 1of 20

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

การพัฒนาสื่อการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสี่อดิจิทัล
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ


มาตรฐานที่ ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐานที่ ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ
โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
1 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/1 - ทฤษฎีกาเนิดเอกภพที่ยอมรับในปัจจุบัน การกาเนิดและ การกาเนิดเอกภพ - PowerPoint ครูนพล อาจฤทธิ์
อธิบายการกาเนิดและ คือทฤษฎีบิกแบง ระบุว่าเอกภพเริ่มต้นจาก วิวัฒนาการของเอก
2 การเปลี่ยนแปลงพลังงาน บิกแบงที่เอกภพมีขนาดเล็กมาก และมี ภพ วิวัฒนาการของเอกภพ - PowerPoint
สสาร ขนาด และ อุณหภูมิสูงมากซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเวลา
อุณหภูมิของเอกภพหลัง และวิวฒั นาการของเอกภพ โดยหลังเกิดบิ
เกิดบิกแบงในช่วงเวลา กแบง เอกภพเกิดการขยายตัวอย่าง
ต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการ รวดเร็ว มีอุณหภูมิลดลง มีสสารคงอยู่ใน
ของเอกภพ รูปอนุภาคและปฏิยานุภาคหลายชนิดและ
มีวิวัฒนาการต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมี
เนบิวลา กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ
เป็นสมาชิกบางส่วนของเอกภพ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
3 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/2 - หลักฐานสาคัญที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง หลักฐานที่สนับสนุน หลักฐานที่สนับสนุน ทฤษฏีบิ - PowerPoint
อธิบายหลักฐานที่ คือการขยายตัวของเอกภพซึ่งอธิบายด้วย ทฤษฏีบิกแบง กแบง
4 สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง กฎฮับเบิลโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ - PowerPoint
จากความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็วและระยะทางของกาแล็กซีที่
ความเร็วกับระยะทาง เคลื่อนที่หา่ งออกจากโลก และหลักฐานอีก
ของกาแล็กซี รวมทั้ง ประการคือ การค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังที่
ข้อมูลการค้นพบ กระจายตัวอย่างสม่าเสมอทุกทิศทางและ
ไมโครเวฟพื้นหลังจาก สอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศมี
อวกาศ ค่าประมาณ 2.73 เคลวิน
5 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/2 - กาแล็กซี ประกอบด้วย ดาวฤกษ์จานวน กาแล็กซี และ กาแล็กซี่และส่วนประกอบ - PowerPoint
อธิบายโครงสร้างและ หลายแสนล้านดวง ซึ่งอยู่กันเป็นระบบของ ส่วนประกอบ
6 องค์ประกอบของ ดาวฤกษ์ นอกจากนี้ ยังประกอบด้วยเทห์ รูปร่างของกาแล็กซี รูปร่างของกาแล็กซี - PowerPoint
กาแล็กซีทางช้างเผือก ฟ้าอื่น เช่น เนบิวลา และสสารระหว่างดาว
และระบุตาแหน่งของ โดยองค์ประกอบต่างๆ ภายในของ
ระบบสุริยะพร้อมอธิบาย กาแล็กซีอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วง
เชื่อมโยงกับการ กาแล็กซีมีรูปร่างแตกต่างกัน โดยระบบ
สังเกตเห็นทางช้างเผือก สุริยะ อยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือกซึ่งเป็น
ของคนบนโลก กาแล็กซีกังหันแบบมีคาน มีโครงสร้างคือ
นิวเคลียส จาน และ ฮาโล ดาวฤกษ์จานวน
มากอยู่ในบริเวณนิวเคลียสและจาน โดยมี
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
ระบบสุริยะอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของ
กาแล็กซีทางช้างเผือกประมาณ 30,000 ปี
แสง ซึ่งทางช้างเผือกที่สังเกตเห็นใน
ท้องฟ้าเป็นบริเวณหนึ่งของกาแล็กซีทาง
ช้างเผือกในมุมมองของคนบนโลก แถบฝ้า
สีขาวจางๆของ ทางช้างเผือกคือดาวฤกษ์ที่
อยู่อย่างหนาแน่นในกาแล็กซีทางช้างเผือก
7 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/5 - ความส่องสว่างของดาวฤกษ์เป็นพลังงาน ดาวฤกษ์ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ - PowerPoint ครูศราวุฒิ ขันคาหมื่น
ระบบปัจจัยที่ส่งผลต่อ จากดาวฤกษ์ที่ปลดปล่อยออกมาในเวลา 1 - ใบกิจกรรมการ
ความส่องสว่างของดาว วินาทีต่อหน่วยพื้นที่ ณ ตาแหน่งของผู้ เรียนรู้
ฤกษ์ และอธิบาย สังเกตแต่เนื่องจากตาของมนุษย์ไม่
8 โชติมาตรของดาวฤกษ์ - PowerPoint
ความสัมพันธ์ระหว่าง ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความส่อง
ความส่องสว่าง กับโชติ สว่างที่มีค่าน้อยๆ จึงกาหนดค่าการ
มาตรของดาวฤกษ์ เปรียบเทียบความส่องสว่างของดาวฤกษ์
ด้วยค่า โชติมาตร ซึ่งเป็นการแสดงระดับ
ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ ณ ตาแหน่ง
ของผู้สังเกต
9 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/6 - PowerPoint
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
10 อธิบายความสัมพันธ์ - สีของดาวฤกษ์สัมพันธ์กับอุณหภูมิผิว และ สี อุณหภูมิผิว และชนิด - ใบกิจกรรมการ
ระหว่างสี อุณหภูมิผิว สเปกตรัมของดาวฤกษ์ ซึ่งนักดาราศาสตร์ สเปกตรัมของดาวฤกษ์ เรียนรู้
และสเปกตรัมของดาว ใช้สเปกตรัมในการจาแนกชนิดของดาว
ฤกษ์ ฤกษ์
11 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/4 - ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยู่รวมกันเป็นระบบดาว กาเนิดดาวฤกษ์ - PowerPoint
อธิบายกระบวนการเกิด ฤกษ์ คือดาวฤกษ์ที่อยู่รวมกันตั้งแต่ 2 ดวง
ดาวฤกษ์ โดยแสดงการ ขึ้นไปดาวฤกษ์เป็นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่
เปลี่ยนแปลงความดัน เกิดจากการยุบตัวของกลุ่มสสารใน
อุณหภูมิ ขนาด จากดาว เนบิวลาภายใต้แรงโน้มถ่วงทาให้บางส่วน
ฤกษ์ก่อนเกิดจนเป็นดาว ของเนบิวลามีขนาดเล็กลงความดันและ
ฤกษ์ อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเกิดเป็นดาวฤกษ์ ก่อนเกิด
เมื่ออุณหภูมิที่แก่นสูงขึ้นจนเกิดปฏิกิริยา
เทอร์มอนิวเคลียร์ดาวฤกษ์ก่อนเกิดจะ
กลายเป็นดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อยู่ในสภาพ
สมดุลระหว่างแรงดันกับแรงโน้มถ่วงซึ่ง
เรียกว่า สมดุลอุทกสถิต จึงทาให้ดาวฤกษ์
มีเสถียรภาพและปลดปล่อยพลังงานเป็น
เวลานานตลอดช่วงชีวิตของดาวฤกษ์
- ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยา
หลักของกระบวนการสร้างพลังงานของ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
ดาวฤกษ์ที่แก่นของดาวฤกษ์ทาให้เกิดการ
หลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนเป็น
นิวเคลียสฮีเลียมแล้วก่อให้เกิดพลังงาน
อย่างต่อเนื่อง
12 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/7 - มวลของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กับมวลของดาว วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ - PowerPoint
อธิบายลาดับวิวัฒนาการ ฤกษ์ก่อนเกิดดาวฤกษ์ที่มีมวลมากจะผลิต - ใบกิจกรรมการ
ของดาวฤกษ์ที่สัมพันธ์กับ และใช้ พลังงานมากจึงมีอายุสั้นกว่าดาว เรียนรู้
มวลตั้งต้น และวิเคราะห์ ฤกษ์ที่มีมวลน้อย
การเปลี่ยนแปลงสมบัติ - ดาวฤกษ์มีการวิวัฒนาการที่แตกต่างกัน
บางประการของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและจุดจบของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่
กับมวลตั้งต้นของดาวฤกษ์ส่วนใหญ่เทียบ
กับจานวนเท่าของมวลดวงอาทิตย์
13 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/8 - ระบบสุริยะเกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่ม ระบบสุริยะ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ - PowerPoint ครูฉัตรชัย สัมฤทธิ์ศุภผล
อธิบายกระบวนการเกิด ฝุ่นและแก๊สที่เรียกว่า เนบิวลาสุริยะ โดย - ใบกิจกรรมการ
ระบบสุริยะ และการแบ่ง ฝุน่ และแก๊สประมาณร้อยละ 99.8 ของ เรียนรู้
เขตบริวารของดวง มวล ได้รวมตัวเป็นดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นก้อน
14 การแบ่งเขตบริวารของดวง - PowerPoint
อาทิตย์ และลักษณะของ แก๊สร้อน หรือพลาสมา สสารส่วนที่เหลือ
อาทิตย์
ดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการ รวมตัวเป็นดาวเคราะห์และบริวารอื่น ๆ
ดารงชีวิต ของดวงอาทิตย์ ดังนั้นจึงแบ่งเขตบริวาร
ของดวงอาทิตย์ตามลักษณะการเกิดและ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
องค์ประกอบ ได้แก่ ดาวเคราะห์ชั้นใน
ดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ชั้นนอก และ
ดงดาวหาง
15 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/8 - โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่มี ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อ - PowerPoint
อธิบายกระบวนการเกิด สิ่งมีชีวิตเพราะโคจรรอบดวงอาทิตย์ใน ต่อการดารงชีวิต - ใบกิจกรรมการ
ระบบสุริยะ และการแบ่ง ระยะทางที่เหมาะสมอยู่ในเขตที่เอื้อต่อ เรียนรู้
เขตบริวารของดวง การมีสิ่งมีชีวิต มีอุณหภูมิเหมาะสมและ
อาทิตย์ และลักษณะของ สามารถเกิดน้าที่ยังคงสถานะเป็นของเหลว
ดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการ ได้ ปัจจุบันมีการค้นพบดาวเคราะห์ที่อยู่
ดารงชีวิต นอกระบบสุริยะจานวนมาก และมีดาว
เคราะห์บางดวงที่อยู่ในเขตที่เอื้อต่อการมี
สิ่งมีชีวิตคล้ายโลก
16 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/9 - ดวงอาทิตย์มีโครงสร้างภายในเป็นแก่นเขต โครงสร้างของดวงอาทิตย์ - PowerPoint
อธิบายโครงสร้างของดวง การแผ่รังสี และเขตการพาความร้อน และ
อาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ มีชั้นบรรยากาศอยู่เหนือเขตพาความร้อน
พายุสุริยะ และสืบค้น ซึ่งแบ่งเป็น 3 ชั้น คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์ ชั้น
ข้อมูล วิเคราะห์การ โครโมสเฟียร์ และคอโรนา ในชั้น
นาเสนอปรากฎการณ์ บรรยากาศของดวงอาทิตย์มีปรากฎการณ์
หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง สาคัญ เช่น จุดมืดของดวงอาทิตย์ การลุก
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
กับผลของลมสุริยะ และ จ้า ที่ทาให้เกิดลมสุริยะ และพายุสุริยะซึ่ง
พายุสุริยะที่มีต่อโลก ส่งผลต่อโลก
รวมทั้งประเทศไทย
17 - ลมสุริยะ เกิดจากการแพร่กระจายของ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ - PowerPoint
อนุภาคจากชั้นคอโรนา ในชั้นบรรยากาศ และผลที่มีต่อโลก รวมทั้ง - ใบกิจกรรมการ
ของดวงอาทิตย์มีปรากฎการณ์สาคัญ เช่น ประเทศไทย เรียนรู้
จุดมืดดวงอาทิตย์ การลุกจ้า ที่ทาให้เกิด
ลมสุริยะ และพายุสุริยะซึ่งส่งผลต่อโลก
- พายุสุริยะ เกิดจากการปลดปล่อยอนุภาค
มีประจุพลังงานสูงจานวนมหาศาล มักเกิด
บ่อยครั้งในช่วงที่มีการลุกจ้า และในช่วงที่
มีจุดมืดดวงอาทิตย์จานวนมาก และใน
บางครั้งมีการพ่นก้อนมวลคอโรนา พายุ
สุริยะอาจส่งผลต่อสนามแม่เหล็กโลก จึง
อาจรบกวนระบบการส่งกระแสไฟฟ้าและ
การศื่อสาร รวมทั้งอาจส่งผลต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ของดาวเทียม นอกจากนั้น
มักทาให้เกิดปรากฎการณ์แสงเหนือ แสง
ใต้ที่สังเกตได้ชัดเจน
18 สาระที่ 3 ว3.1 ม.6/10 - นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างกล้องโทรทรรศน์ เทคโนโลยีอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ - Power point ครูวศกร เพ็ชรช่วย
เพื่อศึกษา แหล่งกาเนิดของรังสีหรือ และการประยุกต์ใช้
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
สืบค้นข้อมูล อธิบายการ อนุภาคในอวกาศในช่วงความยาวคลื่นต่าง
สารวจอวกาศโดยใช้ ๆ ได้แก่คลื่นวิทยุไมโครเวฟ อินฟราเรด
กล้องโทรทรรศน์ในช่วง แสงอัลตราไวโอเลต และรังสีเอ็กซ์
ความยาวคลื่นต่างๆ
19 - ยานอวกาศ คือ ยานพาหนะที่นามนุษย์ ยานอวกาศ จรวด และสถานี - Power point
ดาวเทียม ยานอวกาศ
หรืออุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ขึ้นไปสู่ อวกาศ
สถานีอวกาศ และ
อวกาศ เพื่อสารวจหรือเดินทางไปยังดาว
นาเสนอแนวคิดการนา
ดวงอืน่ ส่วนสถานีอวกาศ คือ
ความรู้ทางด้าน
ห้องปฏิบัติการลอยฟ้า ที่โคจรรอบโลก
เทคโนโลยีอวกาศมา
ใช้ในการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ใน
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา
สาขาต่าง ๆ ในสภาพไร้น้าหนัก
วันหรือในอนาคต
20 - ดาวเทียม คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ ดาวเทียม และการประยุกต์ใช้ - Power point
วัตถุท้องฟ้าและนามาประยุกต์ใช้ในด้าน เทคโนโลยีอวกาศ
ต่างๆเช่น การสื่อสารโทรคมนาคม การ
ระบุตาแหน่งบนโลก การสารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติอุตุนิยมวิทยา โดย
ดาวเทียมมีหลายประเภทสามารถแบ่งได้
ตามเกณฑ์วงโคจรและการใช้งาน มนุษย์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศในการศึกษา เพื่อขยาย
ขอบเขตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และใน
ขณะเดียวกันมนุษย์ได้นาเทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
มาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น วัสดุ
ศาสตร์อาหาร การแพทย์
21 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/1 - การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลหลายด้าน โครงสร้างโลก ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา - PowerPoint ครูมนตรี ประเสริฐฤทธิ์
อธิบายการแบ่งชั้นและ เช่นองค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่ โครงสร้างโลก ครูกุลนาถ โชติสุดเสน่ห์
สมบัติของโครงสร้างโลก องค์ประกอบ ทางเคมีของอุกกาบาตข้อมูล
พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลที่ คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลกจึง
สนับสนุน สามารถแบ่งชั้นโครงสร้าง โลกได้ 2 แบบ
คือ โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทาง
เคมี แบ่งได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก
เนื้อโลกและแก่นโลกและโครงสร้างโลก
ตามสมบัติเชิงกลแบ่งได้เป็น 5 ชั้น ได้แก่
ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค แก่น
โลกชั้นนอก และแก่นโลกชั้นใน
22 - โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตาม - PowerPoint
แบ่งได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อ องค์ประกอบทางเคมึ
โลก และแก่นโลก
23 - โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกลแบ่งได้เป็น การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตาม - PowerPoint
5 ชั้น ได้แก่ ธรณีภาค ฐานธรณีภาค สมบัติเชิงกล
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
มัชฌิมภาค แก่นโลกชั้นนอก และแก่นโลก
ชั้นใน
24 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/2 - แผ่นธรณีต่าง ๆ เป็นส่วนประกอบของ การแปรสัณฐานของ แนวคิดของทฤษฏีทวีปเลื่อน - PowerPoint
อธิบายหลักฐานทาง ธรณีภาคการเปลี่ยนแปลงขนาดและ แผ่นธรณี และหลักฐานสนับสนุน
ธรณีวิทยาที่สนับสนุน ตาแหน่งตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน การ
25 แนวคิดของทฤษฏีการแผ่ - PowerPoint
การเคลื่อนที่ของแผ่น เคลื่อนที่ของแผ่นธรณีดังกล่าว อธิบายได้
ขยายพื้นสมุทรและหลักฐาน
ธรณี ตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานซึ่งมี รากฐาน
สนับสนุน
มาจากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎี การแผ่
ขยายพื้นสมุทรโดยมีหลักฐานที่สนับสนุน
ได้แก่รูปร่างของของทวีปที่สามารถ
เชื่อมต่อกันได้ความคล้ายคลึงกันของกลุ่ม
หินและแนวเทือกเขาซากดึกดาบรรพ์
ร่องรอยการเคลื่อนที่ของ ตะกอนธาร
น้าแข็งภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาลอายุหิน
ของพื้นมหาสมุทรรวมทั้งการค้นพบ สัน
เขากลางสมุทร และร่องลึกก้นสมุทร
26 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/3 - การพาความร้อนของแมกมาภายในโลกทา การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี - PowerPoint
ระบุสาเหตุและอธิบาย ให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีตาม - แผ่นเปลือกโลก
รูปแบบแนวรอยต่อของ ทฤษฎีธรณี แปรสัณฐานซึ่ง - แผ่นธรณี
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
27 แผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับ นักวิทยาศาสตร์ได้สารวจพบหลักฐานทาง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี - PowerPoint
การเคลื่อนที่ของแผ่น ธรณีวิทยาได้แก่ธรณีสัณฐานและธรณี - แนวรอยต่อของแผ่นธรณี
ธรณีพร้อมยกตัวอย่าง โครงสร้างที่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่น และธรณีสัณฐาน
หลักฐานทางธรณีวิทยาที่ ธรณี เช่นร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟ
28 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี - PowerPoint
พบ รูปโค้งแนวภูเขาไฟ แนวเทือกเขาหุบเขา
- ธรณีสัณฐานและธรณี
ทรุด และสันเขากลางสมุทร รอยเลื่อน
โครงสร้างที่พบบนโลก
นอกจากนี้การเกิดธรณีพิบัติภัยที่บริเวณ
แนวรอยต่อ ของแผ่นธรณีเช่นแผ่นดินไหว
ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ซึ่งหลักฐานดังกล่าว
สัมพันธ์กับรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่น
ธรณีนักวิทยาศาสตร์จึงสรุปได้ว่าแนว
รอยต่อของแผนธรณี มี ๓ รูปแบบได้แก่
แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณี
เคลื่อนที่เข้าหากัน แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่
ผ่านกัน ในแนวราบ
29 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/4 - ภูเขาไฟระเบิดเกิดจากการแทรกดันของ ธรณีพิบัติภัย ภูเขาไฟ - PowerPoint
อธิบายสาเหตุ แมกมา ขึ้นมาตามส่วนเปราะบาง หรือ - โครงสร้างของภูเขาไฟ
กระบวนการเกิดภูเขาไฟ รอยแตกบนเปลือกโลกมักพบหนาแน่น - ตาแหน่งที่พบภูเขาไฟ
ระเบิดรวมทั้งสืบค้น บริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นธรณี ทาให้
30 ภูเขาไฟ - PowerPoint
ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่เสี่ยงภัย ผลจาก
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
ออกแบบและนาเสนอ การระเบิดของภูเขาไฟมีทั้งประโยชน์และ - ผลจากการระเบิดของ
แนวทางการเฝ้าระวังและ โทษจึงต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวัง ภูเขาไฟ
การปฏิบัติตน ให้ และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
ปลอดภัย
31 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/5 - แผ่นดินไหวเกิดจากการปลดปล่อย แผ่นดินไหว - PowerPoint
อธิบายสาเหตุ พลังงานที่ สะสมไว้ของเปลือกโลกในรูป - การเกิดแผ่นดินไหว คลื่น
กระบวนการเกิดขนาด ของคลื่นไหวสะเทือนแผ่นดินไหวมีขนาด ไหวสะเทือน
และ ความรุนแรงและผล และความรุนแรงแตกต่างกันมักเกิดขึ้น
32 แผ่นดินไหว - PowerPoint
จากแผ่นดินไหวรวมทั้ง บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีและพื้นที่
- ขนาดและความรุนแรงของ
สืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ภายใต้อิทธิพลของการเคลื่อนของแผ่น
แผ่นดินไหว
ออกแบบและนาเสนอ ธรณีทาให้บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่เสี่ยง
- พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
แนวทางการเฝ้าระวังและ ภัยแผ่นดินไหวซึ่งส่งผลให้สิ่งก่อสร้าง
การปฏิบัติตน ให้ เสียหายเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
ปลอดภัย จึงต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวังและ
การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
33 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/6 - สึนามิ คือคลื่นน้าที่เกิดจากการแทนที่มวล สึนามิ - PowerPoint
อธิบายสาเหตุ น้าในปริมาณมหาศาลส่วนมากจะเกิดใน - ความแตกต่างของคลื่นสึนา
กระบวนการเกิดและผล ทะเลหรือ มหาสมุทรโดยคลื่นมี มิกับคลื่นปกติ
จากสึนามิ รวมทั้งสืบค้น ลักษณะเฉพาะคือ ความยาวคลื่นมากและ - สาเหตุของการเกิดคลื่น
ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง เมือ่ อยู่กลาง สึนามิ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
34 ออกแบบและนาเสนอ มหาสมุทรจะมีความสูงคลื่นน้อย และอาจ สึนามิ - PowerPoint
แนวทางการเฝ้าระวังและ เพิ่มความสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อคลื่น - พื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิของโลก
การ ปฏิบัติตนให้ เคลื่อนที่ผ่านบริเวณน้าตื้น จึงทาให้พื้นที่ และประเทศไทย
ปลอดภัย บริเวณ ชายฝั่งบางบริเวณเป็นพื้นที่เสี่ยง
ภัย สึนามิก่อให้เกิดอันตรายแก่มนุษย์และ
สิ่งก่อสร้างในบริเวณชายหาดนั้น จึงต้อง
ศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวังและการ
ปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
35 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/4-6 - การศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวังและการ การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก - PowerPoint
สืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย ธรณีพิบัติภัย
ออกแบบและนาเสนอ
แนวทางการเฝ้าระวังและ
การปฏิบัติตนให้
ปลอดภัยจากธรณีพิบัติ
ภัย
36 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/7 - พื้นผิวโลกแต่ละบริเวณได้รับพลังงานจาก ลมฟ้าอากาศและ ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการรับ - PowerPoint ครูอภันตรี ไชยเสนา
อธิบายปัจจัยสาคัญที่มี ดวงอาทิตย์ในปริมาณที่แตกต่างกัน ภูมิอากาศ รังสีดวงอาทิตย์ของพื้นผิวโลก
ผลต่อการได้รับพลังงาน เนื่องจากปัจจัยสาคัญหลายประการ เช่น
จากดวงอาทิตย์แตกต่าง สัณฐานและการเอียงของแกนโลก
ลักษณะของพื้นผิว ละอองลอยและเมฆ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
กันในแต่ละบริเวณของ ทาให้แต่ละบริเวณบนโลกมีอุณหภูมิไม่
โลก เท่ากัน ส่งผลให้มีความกดอากาศแตกต่าง
กันและเกิดการถ่ายโอนพลังงานระหว่าง
กัน
37 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/8 - ผลมาจากความแตกต่างของความกด ความแตกต่างของความกด - PowerPoint
อธิบายการหมุนเวียนของ อากาศการหมุนเวียนของอากาศเกิดขึ้น อากาศกับการหมุนเวียนของ
อากาศที่เป็นผลมาจาก จากความกดอากาศที่แตกต่างกันระหว่าง อากาศ
ความแตกต่างของความ สองบริเวณ โดยอากาศเคลื่อนที่จาก
กดอากาศ บริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณ
ที่มีความกดอากาศต่า ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจน
ในการเคลื่อนที่ของอากาศในแนวราบและ
เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของอากาศใน
แนวดิ่งจะพบว่าอากาศเหนือบริเวณความ
กดอากาศต่าจะมีการยกตัวขึ้น ขณะที่
อากาศเหนือบริเวณความกดอากาศสูงจะ
จมตวัลงโดยการเคลื่อนที่ของอากาศทั้งใน
แนวราบและแนวดิ่งนี้ ทาให้เกิดเป็นการ
หมุนเวียนของอากาศ
38 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/9 - การหมนุรอบตวัเองของโลกทาให้เกิดแรง การหมุนรอบตัวเองของโลก - PowerPoint
คอริออลิส ส่งผลให้ทิศทางการเคลื่อนที่ กับการหมุนเวียนของอากาศ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
อธิบายทิศทางการ ของอากาศเบนไป โดยอากาศที่เคลื่อนที่ใน
เคลื่อนที่ของอากาศที่ บริเวณซีกโลกเหนือจะเบนไปทางขวาจาก
เป็นผลมาจากการ ทิศทางเดิม ส่วนบริเวณซีกโลกใต้จะเบน
หมุนรอบตัวเองของโลก ไปทางซ้ายจากทิศทางเดิม

39 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/10 - โลกมีความกดอากาศแตกต่างกันในแต่ละ การหมุนเวียนของอากาศบน - PowerPoint


อธิบายการหมุนเวียนของ บริเวณ รวมทั้งอิทธิพลจากการหมุนรอบ โลก
อากาศตามเขต ละติจูด ตัวเองของโลก ทาให้อากาศในแต่ละซีก - การแบ่งเขตการหมุนเวียน
และผลที่มีต่อภูมิอากาศ โลกเกิดการหมุนเวียนของอากาศตามเขต ของอากาศตามเขตละติจูด
ละติจูด แบ่งออกเป็น 3 แถบ โดยแต่ละ
แถบมีภูมิอากาศแตกต่างกัน ได้แก่
40 การหมุนเวียนของอากาศบน - PowerPoint
การหมุนเวียนแถบขั้วโลกมีภูมิอากาศแบบ
โลก
หนาวเย็น การหมุนเวียนแถบละติจูดกลาง
- การหมุนเวียนของอากาศ
มีภูมิอากาศแบบอบอุ่น และการหมุนเวียน
ตามเขตละติจูด
แถบเขตร้อนมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
- นอกจากนี้บริเวณรอยต่อของการ
หมุนเวียนอากาศแต่ละแถบละติจูด จะมี
ลักษณะลมฟ้าอากาศที่แตกต่างกัน เช่น
บริเวณใกล้ศูนย์สูตรมีปริมาณหยาดน้าฟ้า
เฉลี่ยสูงกว่าบริเวณอื่น บริเวณละติจูด 30
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
องศา มีอากาศแห้งแล้ง ส่วนบริเวณ
ละติจูด 60 องศา อากาศมีความแปรปรวน
สูง
41 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/11 - การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้าใน การหมุนเวียนของน้าผิวหน้า - PowerPoint
อธิบายปัจจัยที่ทาให้เกิด มหาสมุทรได้รับอิทธิพลจากการหมุนเวียน มหาสมุทร
การหมุนเวียนของน้า ของอากาศในแต่ละแถบละติจูดเป็นปัจจัย - การหมุนเวียนของ
ผิวหน้าในมหาสมุทร และ หลักทาให้บริเวณ ซีกโลกเหนือมีการ กระแสน้าในมหาสมุทร
รูปแบบการหมนุเวียน หมุนเวียนของกระแสน้ผิ า วหน้าในทิศทาง - กระแสน้าอุ่นและ
ของน้าผิวหน้าใน ตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกาใน ซีก กระแสน้าเย็นกับ
มหาสมุทร โลกใต้ ซึ่งกระแสน้าผิวหน้าในมหาสมุทร มี ภูมิอากาศ
ทั้งกระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเย็น - น้าผุด-น้าจม
42 การหมุนเวียนของน้าผิวหน้า - PowerPoint
มหาสมุทร
- ประโยชน์ของการ
หมุนเวียนน้าในมหาสมุทร
43 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/12 - การหมุนเวียนอากาศและน้าในมหาสมุทร ปรากฏการณ์เอลนีโญและ - PowerPoint
อธิบายผลของการ ส่งผลต่อภูมิอากาศ ลมฟ้าอากาศสิ่งมีชีวิต ลานีญา
หมุนเวียนของอากาศ และสิ่งแวดล้อม เช่น กระแสน้าอุ่นกัลฟ์
44 ผลกระทบจากปรากฏการณ์ - PowerPoint
และน้าผิวหน้าใน สตรีมที่ทาให้บางประเทศในทวีปยุโรปไม่
เอลนีโญและลานีญา
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
มหาสมุทรที่มีต่อลักษณะ หนาวเย็นเกินไป และเมื่อการหมุนเวียน
ภูมิอากาศ ลมฟ้าอากาศ อากาศ และน้าในมหาสมุทรแปรปรวน ทา
สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพลมฟ้าอากาศ
เช่น ปรากฏการณ์เอลนีโญ และลานีญา
ซึ่งเกิดจากความแปรปรวนของลมค้าและ
ส่งผลต่อประเทศที่อยู่บริเวณ มหาสมุทร
แปซิฟิก
45 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/13 - โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ โดย กระบวนการที่ทาให้เกิดสมดุล - PowerPoint ครูสุพัตรา เฉลิมเผ่า
อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ ปริมาณ พลังงานเฉลี่ยที่โลกได้รับเท่ากับ พลังงานของโลก
การเปลี่ยนแปลง พลังงานเฉลี่ยที่โลกปลดปล่อยกลับสู่
46 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ - PowerPoint
ภูมิอากาศของโลก อวกาศทาให้เกิดสมดุล พลังงานของโลก
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
พร้อมทั้งนาเสนอแนว ส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก ในแต่ละปี
47 ปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรม ค่อนข้างคงทีแ่ ละมีลักษณะภูมิอากาศที่ไม่ ผลกระทบจากการ - PowerPoint
ของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลง หากสมดุลพลังงานของโลก เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจะทาให้อุณหภูมิ การรับมือ
โลก เฉลี่ยของโลกและภูมิอากาศเกิดการ - ผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากปัจจัยหลาย เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
48 ประการทั้งปัจจัยที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ผลกระทบจากการ - PowerPoint
และการกระทาของมนุษย์ เช่น แก๊สเรือน เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและ
กระจกลักษณะผิวโลก และละอองลอย การรับมือ
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
- มนุษย์มีส่วนช่วยในการชะลอการ - การรับมือจากผลกระทบ
เปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลกได้โดยการลด จากการเปลี่ยนแปลง
กิจกรรมที่ทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ
สมดุลพลังงาน เช่น ลดการปลดปล่อยแก๊ส
เรือนกระจกและละอองลอย
49 สาระที่ 3 ว3.2 ม.6/14 - แผนที่อากาศผิวพื้นแสดงข้อมูลการตรวจ ข้อมูลและสารสนเทศทาง - PowerPoint ครูสุเมธ สงวนสุข
แปลความหมาย อากาศในรูปแบบสัญลักษณ์หรือตัวเลข อุตุนิยมวิทยา
สัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศ เช่น บริเวณความกดอากาศสูง หย่อม - แผนที่อากาศผิวพื้น
ที่สาคัญจากแผนที่อากาศ ความกดอากาศต่า พายุหมุนเขตร้อน ร่อง  สัญลักษณ์แสดงข้อมูล
และนาข้อมูลสารสนเทศ ความกดอากาศต่า การแปลความหมาย ประกอบลมฟ้าอากาศ
ต่างๆ มาวางแผนการ สัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศทาให้ทราบ จากสถานีตรวจอากาศ
ดาเนินชีวิตให้สอดคล้อง ลักษณะลมฟ้าอากาศ ณ บริเวณหนึ่ง ผิวพื้น
กับสภาพลมฟ้าอากาศ การแปลความหมายสัญลักษณ์ที่ปรากฏ
50 ข้อมูลและสารสนเทศทาง - PowerPoint
บนแผนที่อากาศร่วมกับข้อมูลสารสนเทศ
อุตุนิยมวิทยา
ต่างๆ เช่น โปรแกรมประยุกต์เกี่ยวกับการ
- แผนที่อากาศผิวพื้น
พยากรณ์อากาศ เรดาร์ตรวจอากาศ
ภาพถ่ายดาวเทียม สามารถนามาวางแผน  การอ่านสัญลักษณ์
การดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลม แสดงข้อมูลประกอบลม
ฟ้าอากาศ เช่น การเลือกช่วงเวลาในการ ฟ้าอากาศจากสถานี
ตรวจอากาศผิวพื้น
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
51 เพาะปลูกให้สอดคล้องกับฤดูกาล ข้อมูลและสารสนเทศทาง - PowerPoint
การเตรียมพร้อมรับมือสภาพอากาศ อุตุนิยมวิทยา
แปรปรวน - แผนที่อากาศผิวพื้นแนว
ปะทะอากาศ
52 ข้อมูลและสารสนเทศทาง - PowerPoint
อุตุนิยมวิทยา
- แผนที่อากาศผิวพื้นหย่อม
ความกดอากาศ และพายุ
53 ข้อมูลและสารสนเทศทาง - PowerPoint
อุตุนิยมวิทยา
- ข้อมูลสารสนเทศทาง
อุตุนิยมวิทยา
 เรดาห์
 ดาวเทียม
54 การใช้ประโยชน์จากข้อมูล - PowerPoint
สารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา
- การวางแผนเตรียมความ
พร้อมเพื่อลดการสูญเสียที่
มาตรฐานการเรียนรู้
คาบที่ สาระการเรียนรู้แกนกลาง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้ ครูผู้สอน
และตัวชี้วัด
เกิดจากภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ

You might also like