You are on page 1of 4

การปฏิบัติการเคมี 203119

การทดลองท 9 เรอง เซลล์ไฟฟ้าเคมี: อิเล็กโทรลิซิส

สมาชิก : กนกรส ระณะ รหสั 651110257 ั ่ี 1


ลําดบท
กนกวรรณ จองแหลง รหสั 651110258 ั ่ี 2
ลําดบท
กฤตย
ิ า ศร ีถาวร รหสั 651110259 ั ่ี 3
ลําดบท
ั ่ท
วนท ี ําการทดลอง : 7 กนยายน
ั 2565

หลกการ
ั : อเิ ลก็ โทรลซ ิ ิ ส คือ เซลล์ ไฟฟ้าเคมีท่ เี ปล่ย ี นพลงงานไฟฟ
ั ้ าเป็นพลงงานเคมี
ั เกิดจาก การผานกระแสไฟฟ
่ ้ าเข้าไปในเซลล์ แลวเกิ
้ ด
ปฏก ิ ิร ิยาเคมีขน ิ ิร ิยาที่ เกิดขน
้ ึ ปฏก ้ ึ เป็นปฏก ิ ิร ิยาร ีดอกซ์ เช่น เซลล์ แยกนาดวยไฟฟ
้ ้ า การชุ บโลหะดวยไฟฟ
้ ้า
การใช้ปฏกิ ิร ิยาเคมีทําให้เกิดกระแสไฟฟ้าหร ือการใช้กระแสไฟฟ้าทําให้เกิดการเปล่ย
ี นแปลงทางเคมีเกิดไดในเซลล์
้ ไฟฟ้าเคมี
(Electrochemical cell)
เซลล์ อเิ ลก
็ โทรไลต์ ประกอบดวย.้
1. ข้วั ไฟฟ้า (Electrode) คือ แผนต ั าที่ จ่ มในสารละลายอ
่ วนํ ุ เิ ลก ้ ่อก ับเซลล์ ไฟฟ้าหร ือแบตเตอร่ ี แบงเป
็ โทรไลต์ แลวต ่ ็ น ข้วั แอโนด (Anode) และ
ข้วั แคโทด (Cathode)
2. สารละลายอเิ ลก ็ โทรไลต์ คือ สารละลายที่ นําไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนบวกและไอออนลบ
ไอออนบวกวงไปร
่ิ บอ ็ ตรอนที่ ข้วั ลบ เกิดปฏก
ั เิ ลก ิ ิร ิยาร ีด ักชนั จงึ เร ียกข้วั ลบว่า แคโทด
และเร ียกไอออนบวกว่า แคตไอออน (cation) ไอออนลบ วงไปให
่ิ ็ ตรอนที่ ข้วั บวก
้อเิ ลก
เกิดปฏกิ ิร ิยาออกซิ เดชนั เร ียกว่า แอโนด และเร ียก ไอออนลบว่า แอนไอออน (Anion)
3. เครองกํ่ื าเนดิ กระแสตรง (D.C.) เช่น เซลล์ ไฟฟ้า หร ือ แบตเตอร่ ี

การทําอเิ ลก
็ โทรลซ
ิ ิ ส ทําไดตามว
้ ธีิ ด ังนี้
1) การควบคุมเซลล์ ไฟฟ้าให้มีศกย์
ั ไฟฟ้าคงที่
การควบคุมศกย์ ั ไฟฟ้าให้คงที่ เป็นส่ ิ งที่ จําเป็นมากในการทําอเิ ลก็ โทรลซ ิ ิ ส หากการทดลองให้ศกย์ ั ไฟฟ้าแก่เซลล์ มากเกินไฟจะทําให้ไอออนอืน ่ ๆ ที่ ไมต ่ อง

การในปฏกิ ิร ิยาเข้ามาเกาะที่ ข้วั ได้ การให้ศกย์ ั ไฟฟ้าที่ เพย
ี งพอน้ นั จะทําให้เกิดปฏก
ิ ร ิยาร ีด ักชนั โดยคํานวณไดตามทฤษฎ
้ ห
ี าค่ าศ กย์
ั ไ ฟฟ้ าที่ ท า
ํ ให้ ไอออน
ของโลหะเกิดร ีด ักชนกลสยเป
ั ็ นโลหะเกาะที่ ข้วั ได้
ตวอย
ั างเช
่ ่ น การทํ า อ เ
ิ ลก็ โทรล ซ ้ ึ ที่ ข้วั ท้ งั สอง ด ังนี้
ิ ิร ิยาที่ เกิดขน
ิ ิ สทองแดงไอออน เกิดปฏก

แคโทด Cu2+ + 2e >


Cu(s) E0 = 0.34 โวลต์
แอโนด 1/2 O2+ H+ + 2e H2O E0 = 1.23 โวลต์
ปฏก
ิ ิร ิยารวม Cu2+ + H2O I
Cu(s) + 1/2 O2(g) + 2H+ E0cell = 0.34 - 1.23 = -0.92 โวลต์
ตองให
้ ้ศกย์
ั ไฟฟ้าจากภายนอกแก่เซลล์ อยางน ่ ้อยเท่าก ับจํานวน 0.92 โวลต์ จงึ จะทําให้เกิดปฏก
ิ ิร ิยาได้ ในทางปฏบ
ิ ัติตองให
้ ้มีกระแส ไฟฟ้าไหลผาน

ในเซลล์ ให้มากกว่าที่ คํานวณไดทางทฤษฎ
้ ี
กราฟแสดงความสม
ั พนธ์ ั ไฟฟ้าของกราฟที่ ไดจากการทดลองจะแตกต
ั ระหว่างกระแสก ับศกย์ ้ างจากที่
่ คํานวณตามทฤษฎ ี ด ังนี้
2) การควบคุมกระแสไฟฟ้าให้คงที่
กฎการแยกสารดวยไฟฟ ้ ้ าของฟาราเดย์ กลาวไว ่ ้ว่า "ปร ิมาณไฟฟ้าที่ ผานเข
่ ้าในเซลล์ เป็นสด ั ส่วนโดยตรงก ับปร ิมาณการเปล่ย ี นแปลงสมมูลของสารที่
็ อื นาหน ักของสารที่เกิดขน
้ ึ ที่ ข้วั ไฟฟ้าของเซลล์ น้ นั " กค
เกิดขน ้ ึ หร ือหายไปท่ ข
ี ้วั ไฟฟ้าเป็นอตราส
ั ่ วนโดยตรงก ับปร ิมาณไฟฟ้าที่ ผานเข
่ ้าไปในสารละลายน้ นั
ซ่ ึ งสามารถเขยนอยู
ี ในรู ้ ังนี้
่ ปสมการไดด
Q = F x No.equivalents

Q = ปร ิมาณประจุไฟฟ้าที่ ถูกพาเข้าสู่เซลล์ มีหน่วยเป็น C


F = เป็นค่าคงที่ ของฟาราเดย์ มีค่าเท่าก ับ 96,485 คูลอมบ์ (C) หร ือ 6.022 x 10 อเิ ลก
็ ตรอน

เมือ
่ การไหลของกระแส (i) คงที่ ท ี่ 1 แอมแปร์ (A) ในเวลา (t) 1 วนาที
ิ (s) จะไดว้ ่ า

Q = i x t

อุปกรณ์ :
1) Erlenmeyer Flask พร้อมจุกยาง
2) บีกเกอร์ ขนาด 250 cm
3) บวิ เร ็ต ขนาด 50 cm
4) ลวดทองแดง
5) ลวดนโิ ครม โดยมีหลอดแก้วหุ้ม
่ื ่ ายไฟฟ้ากระแสตรง
6) เครองจ
7) แอมป์มเิ ตอร์

8) นาฬกาจ ับเวลา
9) ขาต้ งั และclamp

สารเคม ี :
กรดซล
ั ฟิวร ิก 1 M

วธิ ก
ี ารทดลอง :

1) นําลวดทองแดงมาขดด
ั วยกระดาษทราย
้ แลวนํ
้ าไปช่ งั บ ันทึกนาหน ัก
2) นําลวดทองแดงมาด ัดโคง้ แลวสอดเข
้ ้าที่ ห่วงแก้วข้างลวดนโิ ครม โดยลวดทองแดงอยูในระด
่ ับเดียวก ับลวดนิโครม
3) ตวงสารละลาย H₂S₄ 1M 75 mL จากน้ นั เตม
ิ นา 75 ml ในบีกเกอร์
4) ประกอบชุ ดอเิ ลก
็ โทรไลซิส
5) เปิด stopcock ของบวิ เร ็ต ดูดสารละลายกรดซล
ั ฟิวร ิก ทางปลาย จนปร ิมาณ 25 ml
6) คีบลวดทองแดง(สายสีดํา) และลวดนโิ ครม(สายสีแดง) แลวปร
้ บปุ
ั ่ ม จนอ่านค่ามเิ ตอร์ ได้ 100 mA (ท้ งั การทดลองให้ปรบค
ั ่าอยูที่
่ 100 mA)
พร้อมก ับจ ับเวลา
* จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ ลวดนิโครม หากเกิดที่ ลวดทองแดงให้เปลย ี่ นข้วั ไฟฟ้าท ันที
7) เมือ
่ เกิดก๊าซไฮโดรเจน 20 - 25 ml ให้หยุดนาฬกา ิ บ ันทึกเวลา
8) นําลวดทองแดงออกมาเชด ็ ให แห
้ ้ ง จากนน
้ั นํ า ไปทํ า การช่ งหาน
ั าหน ัก บ ันทึกผล

9) ทําการทดลองซาอก
ี ครง้ ั โดยใช้ลวดทองแดงเส้นเดม
ิ แตช
่ ่ งน
ั าหน ักใหม ่ และเตร ียมสารละลายใหม ่ แตให
่ ้มเิ ตอร์ อ่านค่าที่ 200 mA

ผลทดลอง :
อณุหภูมิ 28•2 C° ความด ันบรรยากาศ 730•28 mmHg มวลอะตอม Cu=63.5

ข้อมูลจากการทําอเิ ลก
็ โทรลซ
ิ ิส ครง้ ั ที่ 1 ครง้ ั ที่ 2

กระแสไฟฟ้าคงที่ ท่ ใี ช้ (mA) 100 200


เวลาที่ ใช้ (วนาที
ิ ) 31.54 15.04

นาหน ักของลวดทองแดงก่อนการทดลอง (กรม)


ั 2.934 2.854

นาหน ักของลวดทองแดงหลงการทดลอง
ั (กรม)
ั 2.854 2.790
นาหน ักของลวดทองแดงที่หายไป (กรม)
ั 0.08 0.064
28.6 3.6
ระด ับนาในบวิ เร ็ตก่อนการทดลอง (cm³)
25.5 0.5
ระด ับนาในบวิ เร ็ตหลงการทดลอง
ั (cm³)
ปร ิมาณก๊าซไฮโดรเจนที่ เกิดขน้ึ (cm³) 25 25
วเคราะห์
ิ การทดลอง : นําข้อมูลผลการทดลอง มาคํานวณหามวลอะตอมของทองแดง ด ังนี้
แอโนด Cu → Cu²⁺ + 2e⁻
แคโทด 2H⁺ + 2e⁻ → H₂
ปฏก
ิ ิร ิยารวม Cu + 2H⁺ → Cu²⁺ + H₂
คํานวณจากปร ิมาณไฟฟ้าที่ ใช้ แอโนด : Cu → Cu²⁺ + 2e⁻
ครง้ ั ที่ 1 จาก ปร ิมาณไฟฟ้า 1 ฟาราเดย์ = 1x96,500 คูลอมบ์
Q = It ปร ิมาณไฟฟ้า 2x96500 คูลอมบ์ ทําให้Cuละลาย 1 โมล
Q = (0.1)(31.54)x60 ทองแดง 1 โมล หน ัก = mCu x2x96500
Q = 189.24 คูลอมบ์
Q

มวลอะตอมCu =0.08x2x96500 = 81.6


189.24

ครง้ ั ที่ 2
Q = It จาก ปร ิมาณไฟฟ้า 1 ฟาราเดย์ = 1x96,500 คูลอมบ์

Q = (0.2)(15.04)x60 ปร ิมาณไฟฟ้า 2x96500 คูลอมบ์ ทําให้Cu ละลาย 1 โมล

Q = 180.48 คูลอมบ์
ทองแดง 1 โมล หน ัก = mCu x2x96500
Q
มวลอะตอมCu =0.064x2x96500 = 68.4
180.48

มวลอะตอมทองแดงเฉล่ย
ี = 75
% ความผด
ิ พลาดเฉล่ย
ี = 75 - 63.5 x100 = 18.11 %
63.5

คํานวณจากปร ิมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่ เกิดขน


้ึ แคโทด : 2H⁺ + 2e⁻ → H₂
จากปฏก
ิ ิร ิยารวม Cu + 2H⁺ → Cu²⁺ + H₂
เกิดแก๊ส H2 1 mol ทองแดงจะละลายไป 1 mol

เกิดแก๊ส H2 22414 cm ทองแดงจะละลายไป 1 mol


3

หา VH₂ที่ STP
P1V1 = P2V2
T1 T2
(760 mmHg)V(H2)STP = (Pa mmHg)(VH2)
273 K Tห้อง
6

4.98x10
V(H2)STP = 273x730.28x25 =
3

= 21.77 cm 5
760x301.2 2.29x10

ถ้าเกิด H2 22414 cm ที่ STP


ทองแดงละลายไป 1 mol

ครง้ ั ท่ ี 1 ครง้ ั ท่ ี 2
มวลอะตอมของCu = mCu x 22414 x 760 x Tห้อง มวลอะตอมของCu = mCu x 22414 x 760 x Tห้อง
273 x 730.28 x V(H2) 273 x 730.28 x V(H2)
= 0.08 x22414 x 760 x 301.2 = 0.064x22414 x 760 x 301.2
273 x 730.28 x 25 273 x 730.28 x 25
= 82.4 = 65.9

มวลอะตอมทองแดงเฉล่ย
ี = 74.2
% ความผด
ิ พลาดเฉล่ย
ี = 74.2 - 63.5 x100 = 16.85 %

แอโนด Cu → Cu²⁺ + 2e⁻ E0 = 0.34 โวลต์


แคโทด 2H⁺ + 2e⁻ → H₂ E0 = 0.00 โวลต์
E0cell = E0 cathod - E0 anode
E0cell = 0.00 - 0.34 = - 0.34 V
ด ังน้ นั ตองใช
้ ้ ศ ักย์ ไฟฟ้าอยางน
่ ้อย 0.34 V เพือ
่ ให้เกิดปฏก
ิ ิร ิยา
สรุ ปผลการทดลอง :
จากการทดลองการทําอเิ ลก
็ โทรลซิ ิ ส โดยทําการทดลองครง้ ั ที่ 1 โดยกระแสไฟฟ้าคงที่ 100 mA ช่ งน
ั าหน ักลวดทองแดงหลงการทดลองได
ั ้ 2.854 กรมั
้ าหน ักของลวดทองแดงที่ห
ไดน ี ายไปเท่าก ับ 0.08 กรมั และทําการทดลองครง้ ั ที่ 2 กระแสไฟฟ้าคงที่ 200 mA ช่ งน
ั าหน ักลวดทองแดงได้ 2.790 กรมั
้ าหน ักของลวดทองแดงที่หายไปเท่าก ับ 0.064 กรมั
ไดน
่ นําไปคํานวณหามวลอะตอมของทองแดงจากปร ิมาณไฟฟ้า การทดลองท้ งั 2 ไดว้ ่ า การทดลองครง้ ั ที่ 1 ไดมวลอะตอมทองแดง
เมือ ้ 81.6 และครง้ ั ที่ 2
ได้ 68.4 เมือ่ นําท้ งั สองมาหามวลเฉล่ย
ี จะไดเท
้ ่ าก ับ 75 และมี
เ ปอร์ เซ็ น ความผดิ พลาด 18.11% ซ่ึ ง มี
ค วามคลาดเคลอ่ ื น ผลมาจากการทดลองคร ง้ ั ที่ 1
ที่ ไดค้ ่ามวลอะตอมคลาดเคลอ่ื นจากค่ามวลอะตอมตามทฤษฎไี ปมาก แตการทกลองที่
่ 2 มีค่าใกลเคี
้ ยงก ับมวลอะตอมทองแดง ตามทฤษฎ ี
เมือ ่ คํานวณค่ามวลอะตอมจากการเกิดแก๊สไฮโดรเจน ไดว้ ่ า จากการทดลองที่ 1 ไดมวลอะตอม
้ = 82.4 และครง้ ั ที่ 2 = 65.9
นํามาหามวลเฉล่ย
ี = 74.2 เปอร์ เซ็นต์ ความผด
ิ พลาดเฉล่ย
ี = 16.85 %
สรุ ปไดว้ ่ าการหาค่ามวลอะตอมโดยการคํานวณจากปร ิมาณไฟฟ้ามีค่าความผด ิ พลาดมากกว่าการคํานวณหาจากปร ิมาณแก๊สไฮโดรเจนที่ เพม
่ ิ ขน
้ ึ แตการ

คํานวณจากปร ิมาณแก๊สไฮโดรเจนที่ เพม่ ิ ขน ่ ๆ ที่ เกี่ ยวข้องดวยมากกว
ั จ ัยอืน
้ ึ มีปจ ้ ่ า

You might also like