You are on page 1of 72

ระบบการตรวจซอมบํารุง บ.ล.

๒ก (BT-67)
ร.ต.บุญรัตน ตินตะโมระ

One of the best Air Forces in ASEAN.


คําสั่งกรมชางอากาศ
(เฉพาะ)
เทคนิคที่ ๐๐-๒๐ก-๑
ระบบการซอมบํารุงอากาศยาน
กรมชางอากาศ
วัตถุประสงค
เพื่อใหเขาใจและปฏิบัตติ ามคําสัง่ คําสัง่ กรมชางอากาศ (เฉพาะ)
เทคนิคที่ ๐๐-๒๐ก-๑ ระบบการซอมบํารุงอากาศยาน ไดอยางถูกตอง
หัวขอบรรยาย
1. ระบบสัญลักษณ
2. แบบพิมพประจําอากาศยาน
3. ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.2 ก
4. แจงความวิทยาการ ชอ.
ระบบสัญลักษณ
วัตถุประสงค
เพื่อประหยัดเวลาและสะดวกแกการสังเกต ใหใชสญ
ั ลักษณเพื่อแสดงสภาพอากาศยานตามความ
เหมาะสมทีจ่ ะทําการบิน,การบริการ และการตรวจซอม
• ประกอบดวย
: กากบาทแดง
: ขีดแดง
: ทแยงแดง
กากบาทแดง X
บ. มีสภาพไม่ ปลอดภัย
ที่จะทําการบิน

เมื่อได้ รับแจ้ งความ


วิทยาการให้ ปฏิบัติ
ก่ อนที่จะนําไปบิน
กากบาทแดง X (ตอ)
เมื่อพบข้ อขัดข้ องจาก
น.ซ่ อมบํารุ ง รายงาน
อุปกรณ์ ฯลฯ ที่อาจเกิด
ผบช.ของหน่ วยทราบ
ขึน้ กับ บ.แบบเดียวกัน

สั่งงดบินกับ บ.แบบเดียวกันในฝูงบิน

รายงานข้ อบกพร่ องดังกล่ าวให้ ชอ. ทราบ

ชอ. พิจารณาตัดสินใจกับเครื่ องที่สังกัด


อยู่ท่ อี ่ ืนๆ พร้ อมทัง้ เร่ งหาข้ อแก้ ไข
โดยเร็วที่สุด
ขีดแดง
การปฏิบัตทิ ่ ยี ังไม่ เรี ยบร้ อยหรื อ
เกินเวลาที่ให้ ปฏิบัติ และยังไม่
ปฏิบัติ

บ. บินเที่ยวเดียวเพื่อกลับมาซ่ อม อุปกรณ์ ถูกยืดอายุการ


ONE TIME FLIGHT ใช้ งาน / รั บรองจาก ชอ.

ครบเปลี่ยนอุปกรณ์ TCI การบินทดสอบ

ได้ รับคําสั่งเทคนิค แต่ ยังไม่ ต้องปฏิบัตใิ นทันที


เมื่อครบกําหนดแล้ วยังไม่ ปฏิบัติ ให้ ลงสัญลักษณ์ ขีดแดง
ทแยงแดง /
อากาศยานไม่ อยู่ในสภาพที่น่า
พอใจ ซึ่งอาจทําให้ ประสิทธิภาพ
การบินลดลง หรื อส่ งผลกระทบถึง
ความปลอดภัยด้ วย

จนท.ช่ าง ตรวจพบ
ได้ รับคําสั่งเทคนิค แต่ ยังไม่ ต้องปฏิบัตใิ นทันที ข้ อบกพร่ องหรื อสภาพที่
ไม่ น่าพอใจของ บ.

เมื่อเกินกําหนดเวลาให้ ปฏิบัติ ต้ องเปลี่ยนสัญลักษณ์ เป็ น ขีดแดง


และจะใช้ ทาํ การบินไม่ ได้
(เว้ นแต่ มีความจําเป็ นเร่ งด่ วน ก็ต้องได้ รับอนุญาตให้ บนิ ได้ ในสภาพนี)้
การแกไขสัญลักษณหลังจากไดบนั ทึกลงไปแลว
• สัญลักษณทเี่ ขียนขึน้ ยอมแสดงความคิดเห็นของผูท ไี่ ดรับผิดชอบโดยเฉพาะวา ไดทําการตรวจพบ
ขอบกพรองอันมีสภาพตามสัญลักษณทไี่ ดเขียนลงไวนนั้ ฉะนั้นผูอนื่ ยอมไมมสี ทิ ธิท์ จี่ ะเปลีย่ นสัญลักษณ
ซึ่งมีผูลงไวแลวนัน้ โดยพลการ
• หากผูหนึง่ ผูใ ดเห็นสภาพทีแ่ ทจริงของอากาศยานนั้นของอากาศยานนัน้ วามีสภาพรายแรงนอยกวา
หรือมากกวาสัญลักษณทไี่ ดแลวและนั้นมิใชนายทหารซอมบํารุงผูร ับผิดชอบแลว ผูนั้นจะตองนําเรือ่ ง
เสนอตอนายทหารซอมบํารุงผูร ับผิดชอบหรือผูบ งั คับหนวยบินนัน้ เห็นวาควรแกไขสัญลักษณ
• การแกสญ ั ลักษณ กระทําโดยการบันทึกขอความลงในแบบพิมพและลงชื่อยอทับสัญลักษณเดิมเพื่อ
แสดงความรับผิดชอบในการแกไขสัญลักษณนั้น ตอไปใหทาํ การลงสัญลักษณใหมและยกขอบกพรอง
เกามาลงในชองถัดไป เพื่อเปนการแกไขสภาพเดิมใหสมบูรณ
สัญลักษณเลขระบบ
สัญลักษณ์เลขระบบงานสําหรับอากาศยาน
๐๑ เตรี ยมพร้ อมและบริ การตลอดจนการจอด ลากจูง ๑๑ โครงสร้ าง ๓๑ ใบพัดไฟฟ้า
บริ หาร ฯลฯ ๑๒ ลําตัวและห้ องนักบิน ๓๒ ใบพัดไฮดรอลิก
๐๒ ทําความสะอาดอากาศยาน ตลอดจนล้ าง ป้องกัน ๑๓ ฐาน ๓๓ ใบพัดไฟฟ้าและไฮดรอลิก
การผุกร่อน ๑๔ ส่วนบังคับการบิน ๓๔ ใบพัด Mechanical and fix pitch
๐๓ การตรวจตามกําหนดเวลาแบบต่าง ๆ ตลอดจน ๑๕ ระบบโรเตอร์ เฮลิคอปเตอร์ ๓๙ การป้องกันนํ ้าแข็งและนํ ้าฝน
การอัดไข ยึดแน่นและการ ปรับชุดกลไลต่าง ๆ ๑๖ ระบบสละอากาศยาน ๔๑ เครื่ องปรับอุณหภูมิ ปรับความดัน และ
๐๔ การตรวจพิเศษ ตลอดจนงานย่อยที่กล่าวใน ๑๗ การช่วยชีวิต ควบคุมนํ ้าแข็ง
ประเภท ๐๓ ๑๘ ระบบถ่ายทอดและช่วยการขึ ้นลงทางดิง่ ๔๒ เครื่ องกําเนิดกําลังไฟฟ้ากระแสตรง
๐๕ อากาศยาน เครื่ องยนต์ และบริ ภณั ฑ์ที่เกี่ยวข้องอยู่ หรื อระยะสัน้ ๔๓ เครื่ องกําเนิดกําลังไฟฟ้ากระแสสลับ
ระหว่างการเก็บรักษาตลอดจนกระทัง่ งานเกี่ยวกับการ ๑๙ การติดเครื่ องยนต์ ๔๔ ระบบส่องสว่าง
ปฏิบตั ิระหว่างการเก็บรักษา ตลอดจนการเอาออกมา ๒๑ เครื่ องยนต์ลกู สูบ ๔๕ เครื่ องกําเนิดกําลังไฮดรอลิกและลม
จากการ เก็บรักษา ๒๒ เครื่ องยนต์ Turbo prop / Turbo shaft ๔๖ ระบบเชื ้อเพลิง
๐๖ นิรภัยภาคพื้นตลอดจนการ DISARM ระบบสละ ๒๓ เครื่ องยนต์ Turbo Jet / Turbo fan ๔๗ ระบบออกซิเจน
อากาศยานด้วยเก้าอี้ดีดและ Canopy อุปกรณ์ที่มี ๒๔ แครื่ องยนต์ชว่ ยกําลังภายนอก
ส่ วนประกอบของวัตถุระเบิด รวมถึงการถอดประกอบ ๒๕ เครื่ องยนต์จรวด
ขั้วแบตตอรี่ ๒๖ ระบบขับใบพัดเฮลิคอปเตอร์
แบบพิมพประจําอากาศยาน
อากาศยานของกองทัพ
กลาวโดยทัว่ ไป
• แบบพิมพประจําอากาศยาน คือชุดแบบพิมพทจี่ ะตองมีประจําอยูก บั อากาศยานทุกเครือ่ ง
ใชบันทึกเกีย่ วกับการซอมบํารุงอากาศยาน เครื่องยนต และบริภัณฑทตี่ ิดตัง้ บนอากาศยาน
• การเคลื่อนยายกําลังหรือบินเดินทางจะตองนําแบบพิมพประจําอากาศยานติดไปดวยเสมอ
แบบพิมพประจําอากาศยาน
• รายงานการบิน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๑)
• ประวัติการตรวจซอม (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๒)
• ขอบกพรองซึ่งจะทําการแกไขภายหลัง (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๓)
• รายการทั่วไปของอากาศยาน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๔)
• รายการพัสดุอุปกรณ (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๕)
• สรุปการใชอากาศยาน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๖)
แบบพิมพทั่วไป
• ประวัติบริภณ ั ฑอากาศยาน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๗)
• ประวัติการปฏิบัติตามแจงความเทคนิค (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๘)
• ประวัตทิ คี่ วรบันทึก (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๙)
ความรับผิดชอบ
• กรมชางอากาศ จะตองบันทึกขอมูลตาง ๆ ลงในแบบพิมพ
• หัวหนาชางหรือชางประจําอากาศยาน ตองจัดใหแบบพิมพทเี่ กีย่ วของใหเพียงพอตอการใชงาน
• น.ซอมบํารุงรับผิดชอบตรวจสอบความเรียบรอยกอน release
• เก็บรวบรวมแบบพิมพประวัติการซอมทีถ่ อดออกมาและเก็บไว 3 เดือน กอนพิจารณาทําลาย และ
บันทึกในระบบฐานขอมูล
• แบบพิมพทวั่ ไปเก็บไว 6 เดือน เปนอยางนอย จึงจะพิจารณาทําลายได
การลงเวลาในแบบพิมพ
• ๑-๒ นาทีเทากับ .๐ ชม. (1.20) (2.)
• ๓-๘ นาที เทากับ .๑ ชม. 1.15 + 1.35 = 2.50
• ๙-๑๔ นาที เทากับ .๒ ชม. 1.3 + 1.6 = 2.9
• ๑๕-๒๐ นาที เทากับ .๓ ชม.
• ๒๑-๒๖ นาที เทากับ .๔ ชม. 35 = .6 5 = .1
• ๒๗-๓๓ นาทีเทากับ .๕ ชม. 40 = .7 10 = .2
• ๓๔-๓๙ นาทีเทากับ .๖ ชม. 45 = .7 15 = .3
• ๔๐-๔๕ นาทีเทากับ .๗ ชม. 50 = .8 20 = .3
• ๔๖-๕๑ นาทีเทากับ .๘ ชม. 55 = .9 25 = .4
• ๕๒-๕๗ นาทีเทากับ .๙ ชม. 60 = 1.0 30 = .5
• ๕๘-๕๙ นาทีเทากับ ๑ ชม.
รายงานการบิน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๑)

• ใชบันทึกรายการตาง ๆ สําหรับการบิน
– แบบอากาศยาน
– หมายเลขอากาศยาน
– ชางประจําอากาศยาน ชื่อยอ นามสกุลเต็ม
– หนวยบิน
– ที่ตั้ง
– รายงานการบิน
– เวลา
น.ต. เด็ด ดวงดี พ.4 คบ ดอนเมือง 1215
ศบ พิษณุโลก 1100

- 1 - - - 1.15
ประวัตกิ ารตรวจซอม (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๒)
• ประวัติการตรวจซอมใชบนั ทึกสถานภาพอากาศยาน การตรวจบริการ ขอขัดของและการแกไขขอขัดของทีพ่ บ โดย
กําหนดเลขทีใ่ ชเปนสัญลักษณประกอบ
– แบบอากาศยาน
– หมายเลขอากาศยาน
– ชางประจําอากาศยาน
– หนวยบิน
– ที่ตั้ง
– สภาพอากาศยานในวันนี้
– อนุญาตใหบินไดในสภาพนี้
– การบริการเชือ้ เพลิง หลอลืน่ ออกซิเจน
– เวลาอากาศยานและเครื่องยนต
1 1
2 พ.ย.66 พ.อ.อ.ก. การดี ฝูง.461 บน.46 ดอนเมือง บ.ล.2 ก 8/47
บน.46 ลําเลียง
ฝูง.461 5250 5400
ใช้ ในราชการ NO.2
X ร.อ. ก. ยงยศ
ร.อ. ส. สุปินะ
ส ร.อ. ส. สุปินะ ระดับโรงงาน 2 พ.ค.67

เฉพาะ บ. ที่มี

1 Jp-8 1000 2850

Eng Ground Run 1.5


แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๒ ประวัติการตรวจซอม / ใบสั่งงาน
3 พ.ย. 66
วันที่ …..../......../......... ตนสังกัด(ORG) ฝูง. 461 บ.แบบ (MDS) บ.ล.2 ก หมายเลข ทอ 8/47 หนา….........ของ...........หนา
สัญญ ๒๔ หมายเลขงาน ๒๖ ประเภทชาง ๒๙
การแกไข / การปฏิบัติ/ T.O.Reference ๒๘ พัสดุที่ใช ๓๑
ระบบ ๒๕ หมายเหตุของนักบินและชาง ๒๗ ชม. คน ๓๐

ส JCN. 660303-0847-0001
Preflight Insp.
ตาม Flight Manual เรียบรอย
ช่ าง บ.

A/C Preflight Insp.


03 1.00
ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.
JCN.

ผูบันทึก JCN 660303-0847-0001


ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.
JCN.

ปี /เดือน/วัน ลําดับที่ใบสั่งงาน
หมายเลข ทอ.
ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.
แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๒ ประวัติการตรวจซอม / ใบสั่งงาน
4 พ.ย. 66
วันที่ …..../......../......... ตนสังกัด(ORG) ฝูง. 461 บ.แบบ (MDS) บ.ล.2 ก หมายเลข ทอ 8/47 หนา….........ของ...........หนา
สัญญ ๒๔ หมายเลขงาน ๒๖ ประเภทชาง ๒๙
การแกไข / การปฏิบัติ/ T.O.Reference ๒๘ พัสดุที่ใช ๓๑
ระบบ ๒๕ หมายเหตุของนักบินและชาง ๒๗ ชม. คน ๓๐

ส JCN. 660304-0847-0001
Replace Tire ปฏิบัติตาม
ช่ าง บ.
P/N ……..
Tire worn out of limit MM. 32-41-01
13 2.00
ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.
JCN.

ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.


JCN.

ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.


แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๒ ประวัติการตรวจซอม / ใบสั่งงาน
4 พ.ย. 66
วันที่ …..../......../......... ตนสังกัด(ORG) ฝูง. 461 บ.แบบ (MDS) บ.ล.2 ก หมายเลข ทอ 8/47 หนา….........ของ...........หนา
สัญญ ๒๔ หมายเลขงาน ๒๖ ประเภทชาง ๒๙
การแกไข / การปฏิบัติ/ T.O.Reference ๒๘ พัสดุที่ใช ๓๑
ระบบ ๒๕ หมายเหตุของนักบินและชาง ๒๗ ชม. คน ๓๐

ส JCN. 660304-0847-0002

ยกไป 221-3
ช่ าง บ.
P/N ……..
Rivet loose 1EA
11 2.00
ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.
JCN.

ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.


JCN.

ผูบันทึก ว.ด.ป ผูปฏิบัติ ว.ด.ป. ผูตรวจ ว.ด.ป.


ขอบกพรองซึ่งจะทําการแกไขภายหลัง (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๓)

• ขอบกพรองทีจ่ ะทําการแกไขภายหลัง ใชบันทึกรายการขอบกพรองหรือขอขัดของ ที่


สามารถจะทําการแกไขภายหลังไดโดยไมมีปญ  หาเกีย่ วกับความปลอดภัยในการบิน การ
ซอมบํารุงบางรายการทีย่ งั ขาดพัสดุหรือรอไปปฏิบตั พิ รอมกับการตรวจตามกําหนดทีจ่ ะ
มาถึงในโอกาสตอไป
• ยกมาจากประวัตกิ ารตรวจซอม ทอ.ชอ.๒๒๑-๒
บ.ล.2ก 8/47

1.ใหลงแบบของอากาศยาน
2. ใหลงหมายเลข ทอ. ของอากาศยาน
11

3. ลงระบบของขอบกพรองที่มีอยูในแบบพิมพ
ทอ.ชอ. 221-2 ซึ่งไดลอกมา 4.ลงสัญลักษณของ
ขอบกพรองที่มีอยูในแบบพิมพ ทอ.ชอ. 221-2 ซึ่ง
ไดลอกมา
4 พ.ย.66 Revet loose tail cone 1 EA รอของเปลี่ยน

5. ลงวันที่พบขอบกพรอง รายละเอียดของขอบกพรอง
และสาเหตุที่ตองทําใหการแกไขตองลาชาไป
บ.ตินตะโมโตะ

6.ใหลงชื่อยอและชื่อสกุลเต็มของเจาหนาที่ตรวจ
หรือนายทหารซอมบํารุงผูรับผิดชอบ
4 พ.ย.66 9 พ.ย.66

ลง วัน เดือน ป ที่ทําการลอกออกจาก 221-2


และลอกลง 221-2 เมื่อใด
เมื่อลอกขอความจากแบบพิมพนไี้ ปไวในแบบพิมพอนื่ แลว
ใหขีดเสนตรงยาวเพือ่ ฆาขอความเดิม (ตั้งแตชอ ง 3 ถึงชอง 8)
พรอมทั้งลงชือ่ ยอทับสัญลักษณ ในชอง 4 ดวย
รายการทั่วไปของอากาศยาน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๔)

• ใชบันทึกรายการทัว่ ไปของอากาศยาน เชนความจุเชื้อเพลิง หลอลื่น และ


กําหนดการตรวจระยะเวลาของอากาศยาน เครื่องยนต และบริภณ ั ฑตา ง ๆ ของ
อากาศยานรวมทัง้ เครือ่ งยนต ตามทีค่ มู ือกําหนด ใหทําการบันทึก
รายการพัสดุอปุ กรณ (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๕)

• รายการอุปกรณ ใชบันทึกประวัตขิ องอุปกรณ หรือ บริภัณฑตา ง ๆ ของอากาศยาน และ


เครื่องยนตซงึ่ จะตองเปลีย่ นตามกําหนด
• Time change items (TCI) พัสดุครบเปลีย่ นตามระยะเวลา
สรุปการใชอากาศยาน (แบบพิมพ ทอ.ชอ.๒๒๑-๖)

• สรุปการใชอากาศยาน ใชบันทึกเวลาทีใ่ ชอากาศยานในชวงเวลาทีผ่ า นมาตามลําดับ


ตลอดจนจํานวนครั้ง – ประเภทการลงสนาม
ทอ.ชอ.๒๒๗ ประวัตบิ ริภณ
ั ฑอากาศยาน
ทอ.ชอ.๒๒๗ ประวัตบิ ริภณ
ั ฑอากาศยาน

มีสงิ่ ใดที่ควรบันทึกให้ ใส่ไป


เพื่อประโยชน์ตอ่ ผู้อา่ น
ทอ.ชอ.๒๒๘ ประวัติการปฏิบตั ติ ามแจงความเทคนิค

ใชบันทึกคําสั่งทางเทคนิค ที่มีความเกีย่ วของจะตองปฏิบัตกิ บั อากาศ


ยาน เครื่องยนต หรือ บริภัณฑตางๆ ตามแจงความวิทยาการกรมชาง
อากาศ เมื่อไดรับคําสั่งเทคนิคแลวจะตองบันทึกเปนหลักฐานไวทกุ ครัง้

38
ทอ.ชอ.228 ประวัติการปฏิบัตติ ามแจงความเทคนิค
เครื่ องบิน บ.ล.๒ ก 8/47

12 ก.ย.60 92/60 ให้ ทํา Dynamic Balance ใบพัด บ.ล.2 ก 13 ก.ค.65


ฝกช.ฝูง 461

พ.อ.อ.ก กุ้งเสือ

ร.อ.ป. ปลากบ

39
ทอ.ชอ.๒๒๙ ประวัติที่ควรบันทึก
ใชบันทึกประวัตกิ ารซอมของบริภณ ั ฑ รวมทัง้ อากาศยานและเครือ่ งยนต
หรือเหตุการณอนื่ ๆ ที่พจิ ารณาแลวเห็นวาสมควรบันทึกไวเปนหลักฐาน
แบบพิมพ์ ทอ. ชอ. ๒๒๙ ประวัติที�ควรบันทึก หน้า ของ
ชื่อบริภัณฑ์ แบบและผู้ผลิต เลขลําดับ ตรวจรับเมื่อ
วันที่ บันทึกข้อความ หน่วย

40
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก
คู่มือซ่ อมบํารุ งอากาศยาน
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)

เอกสารเทคนิคใน ทอ. มี 2 สาย (ระบบ)


- กองทัพอากาศสหรัฐ ( USAF Technical Order )
- บริษัทพาณิชย ( Commercial Technical Order )
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
เอกสารเทคนิคสาย USAF
จะแบงออกเปน 5 ชนิด
1. Technical Manual = 1C-47-3, 1C-47-36
2. Methods and Procedures T.O.
3. Index Types T.O.
4. Time Compliance Technical Order – TCTO
5. Abbreviated T.O.
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)

เอกสารเทคนิคสายบริษทั ดานการบินพาณิชย (Commercial Technical Order)


Air Transport Association of America Specification No.100 (ATA100) เปนระบบตัวเลขทีถ่ กู
กําหนดขึน้ โดย Air Transport Association ในป 1956 และก็กลายเปนมาตรฐานสากลในการอางอิง
เลขระบบทีใ่ ชในเอกสารดานการบินมาโดยตลอด
โดยจะแบงหมวดหมูของระบบ (system) หลักๆ ออกเปน 5 กลุม
Aircraft General, Airframe Systems, Structures, Propellers and Power Plant .
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Aircraft Systems Power Plant
ATA Number ATA Chapter name ATA Number ATA Chapter name Groups of Characters
ATA 20 Standard Practices- Airframe ATA 71 Power Plant
ATA 21 Air Conditioning ATA 72 Engine Aircraft General 00 - 18
Engine - Turbine/Turboprop, Ducted
ATA 22 Auto Flight
ATA 72T Fan/Unducted Fan
Airframe Systems 20 - 50
ATA 23 Communication
ATA 24 Electrical Power
ATA 72R Engine - Reciprocating Structures 51 - 57
ATA 73 Engine - Fuel And Control
ATA 25 Equipment /Furnishings ATA 74 Ignition Propellers 60 - 67
ATA 26 Fire Protection ATA 75 Bleed Air Power Plant 70 - 85
ATA 27 Flight Controls ATA 76 Engine Controls
ATA 28 Fuel ATA 77 Engine Indicating
ATA 29 Hydraulic Power ATA 78 Exhaust
ATA 30 Ice And Rain Protection ATA 79 Oil
ATA 31 Indicating / Recording System ATA 80 Starting
ATA 32 Landing Gear
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Identification Code
ATA จะกําหนดตัวเลขเปน 6 ตัวเลข แบงออกเปน 3 กลุม (Elements)

First Element
/ System 32 – 40 – 02 Third Element
/ Unit

Second Element
/ Sub-System
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)

Air Transport Association of America Specification No.100 (ATA100)


เมื่อบริษทั ตางๆ นําระบบ ATA มาใช จึงกําหนดใหเปนชื่อหัวขอตาม Code ดังกลาวโดยเรียกชื่อ
ดังตอไปนี้
• System …… Chapter
• Sub-system …… Section
• Unit / …… Subject
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Chapter

กําหนดตามระบบของ ATA ตัวอยางเชน


05 - Time Limits/Maintenance checks
29 - Hydraulic Power
32 - Landing Gear
76 - Engine Controls
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Section
กําหนดตาม Sub –System ของระบบ ATA
29 HYDRAULIC POWER
-00 General
-10 Main
-20 Auxiliary
-30 Indicating
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Subject
• ไมมีกําหนดไวใน ATA โดยใหบริษทั
กําหนดหัวขอขึน้ เอง แตตองอยูใ น
ขอบขายของ Sub-System
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
SB
เอกสารเทคนิคทีม่ ีความเรงดวนหรือตองแกไขบางอยาง ซึ่งหากคงรอการ Revision อาจจะทําให
อากาศยานหรืออุปกรณเสียหายชํารุดได จึงมีเอกสารอีก 2 แบบ คือ
Service Bulletin – เอกสารทีส่ ง มาเพื่อใหดําเนินการแกไข ดัดแปลง ตรวจ ฯลฯ เพื่อปองกันการชํารุด
เสียหาย หรือเปนขอมูลทีท่ นั สมัยของบริภณ
ั ฑ-อุปกรณทตี่ ดิ ตัง้ อยูก บั อากาศยาน เพื่อใหผใู ชงาน
พิจารณาดัดแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของอุปกรณ
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
SB
ลักษณะความจําเปนทีม่ ี Service Bulletins
• Mandatory - ขอบังคับ
• Recommendation - คําแนะนํา
• Option - ทางเลือก
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
SL / SIL
เอกสารเทคนิคทีม่ ีความเรงดวนหรือตองแกไขบางอยาง ซึ่งหากคงรอการ Revision อาจจะทําให
อากาศยานหรืออุปกรณเสียหายชํารุดได จึงมีเอกสารอีก 2 แบบ คือ
Service Letter – เอกสารทีส่ ง มาเพื่อใหดาํ เนินการแกไข ตรวจ ฯลฯ เล็กนอย เพื่อใหประสิทธิภาพของ
เครื่องยนต บริภัณฑ-อุปกรณ ใชงานไดดหี รือเต็มประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
SL / SIL
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
การแกไขเอกสาร
• Revision
• Temporary Revision
• Appendixes
• Rescission
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
ADs
An Airworthiness Directive (commonly abbreviated as AD) is a notification to owners
and operators of certified aircraft that a known safety deficiency with a particular
model of aircraft, engine, avionics or other system exists and must be corrected.
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Tips
ระบบเอกสารเทคนิค บ.ล.๒ ก (BT-67)
Tips
แจงความวิทยาการ ชอ.ที่เกี่ยวกับ บ.ล.๒ก (BT-67)

One of the best Air Forces in ASEAN. 59


ระดับการซอมบํารุง

• ระดับหนวย = ฝายการชาง

• ระดับกลาง = แผนกชางอากาศ

• ระดับโรงงาน = กองซอมอากาศยาน ๑ (กซอ.๑ ชอ.) , กซอ.๒ , กซย.ฯลฯ

One of the best Air Forces in ASEAN. 60


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
 แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ ใชคํายอวา วท.ชอ.ที่ ... /...
 วท.ชอ.ทีเ่ กีย่ วกับการซอมบํารุง บ.ล.๒ ก (ในการอบรมครัง้ นี)้ ที่ตองปฏิบตั ิตามมีดงั ตอไปนี้
• 12/52 - ใหตรวจ Wing Flap Mechanism ของ บ.ล.2 ก
• 92/60 - กําหนดวงรอบการตรวจ Dynamic Balance ใบพัดของ บ.ล.2 ก
• 35/60 - กําหนดวงรอบการตรวจ Lever Engine Control Quadrant
• 6/62 - ระบบการตรวจซอมบํารุง บ.ล.2 ก (BT-67)
• 40/62 - การตรวจพิเศษใหกับ บ.ล.2 ก ซึ่งผานการใชงานในสภาวะ Overweight, Turbulent Air, Hard Landing
• 49/62 - การตรวจ บ.ที่ใชสนับสนุนโครงการฝนหลวงสําหรับ บ.ล.2 ก
• 77/63 - การตรวจชุดพวงหางใหกับ บ.ล.2 ก

One of the best Air Forces in ASEAN. 61


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ

One of the best Air Forces in ASEAN. 62


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
วท.ชอ.ที่ 6/62 คือ เอกสารในเรือ่ งระบบการซอมบํารุง บ.ล.๒ ก โดยเฉพาะ
ประกอบไปดวย :
-.การซอมบํารุงอากาศยาน เครื่องยนต ใบพัดตามวงรอบ
-.การตรวจ Fuel Pump จุด Drain Port
-.การถอด Fuel Pump มาตรวจสภาพการเกิดสนิม
-.การตรวจ Hot Section Inspection
-.กําหนดการถอดเปลี่ยนเครื่องยนต
-.การตรวจพิเศษ
-.การตรวจซอมใหญระดับโรงงาน

One of the best Air Forces in ASEAN. 63


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
ใน วท.ชอ. 6/62 กําหนดสิ่งปฏิบัติไวดงั นี้
1.การตรวจกอนบิน (Preflight Inspection) คือ การตรวจกอนทําการบินเทีย่ วแรกของแตละวัน
ฝายการชาง ฝูง.461ฯ เปนผูรับผิดชอบการตรวจ

One of the best Air Forces in ASEAN. 64


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
ใน วท.ชอ. 6/62 กําหนดสิ่งปฏิบัติไวดงั นี้
2. การตรวจตามระยะเวลา (Periodic Inspection) คือ การกําหนดระยะเวลาการเขาตรวจเปน ชม.บิน
2.1 โดยมีกําหนดการตรวจ ทุกๆ 150 ชม. โดยมีเอกสารใบรายการตรวจ (Inspection Sheet)
แบงออกเปน
Number One - No.1 Inspection
Number Two - No.2 Inspection
Number Three - No.3 Inspection

แผนกชางอากาศ ฯ เปนผูรับผิดชอบการตรวจ
One of the best Air Forces in ASEAN. 65
แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
ใน วท.ชอ. 6/62 กําหนดสิ่งปฏิบัติไวดงั นี้
2.2 การตรวจ Fuel Pump – ใหทําการตรวจทุก 150 ชม. ที่จุด Drain Port
2.3 การถอด Fuel Pump เพื่อตรวจสภาพการเกิดสนิมโดยเฉพาะดานบริเวณ AGB ทุกๆ 1,800 ชม.
2.4 การตรวจ Hot Section Inspection ( HSI ) ทุก 2,000 ชม. กซย.ชอ.เปนผูร บั ผิดชอบ
2.5 การกําหนดอายุซอมใหญ Overhaul ของเครื่องยนต PT6A-67R ที่ 6,000 ชม.

One of the best Air Forces in ASEAN. 66


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
ใน วท.ชอ. 6/62 กําหนดสิ่งปฏิบัติไวดงั นี้
3. การตรวจพิเศษ คือ การตรวจรอบราวโดยไมทาํ ลายวัสดุ (NDI) ทุกๆ 1 ป
3.1 ชุดแพนหาง
3.2 ชุดปก
3.3 ชุดลําตัว
3.4 ชุดฐาน

แผนกวิจยั และตรวจทดลอง กวก.ชอ. เปนผูรับผิดชอบการตรวจ

One of the best Air Forces in ASEAN. 67


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
ใน วท.ชอ. 6/62 กําหนดสิ่งปฏิบัติไวดงั นี้
4. การตรวจซอมระดับโรงงาน (PDM) ใหทาํ การตรวจทุกๆ 4 ป
กรมชางอากาศ เปนผูรับผิดชอบการตรวจ --- (จางเหมาบริการ บริษัท อุตสาหกรรมการบิน จํากัด)

5. กําหนดใหมกี ารรายงานพัสดุทคี่ วบคุมอายุการใชงาน (TCI) ลวงหนาตามกําหนดใน วท.ชอ.118 /43


One of the best Air Forces in ASEAN. 68
แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ
• กําหนดอายุการใชงานอุปกรณของ บ.ล.2 ก (BT-67)
- อุปกรณที่ควบคุมอายุการใชงาน หรือ Time Change Items (TCI) : 14 รายการ
ชื่อ หมายเลขพัสดุ P/N อายุการใชงาน TBO ชื่อ หมายเลขพัสดุ P/N อายุการใชงาน TBO
ENGINE - PT6A-67R 3039500 6,000 OVERSPEED GOVERNOR 210963 6,500
PROPELLER HC-B5MA-3 / 3M 3,000 or 60 Mths PROPELLER GOVERNOR 8210-409 2,500
Comp. Bleed Valve 3114575-01 At Engine O/H STARTER GENERATOR 300SGL-126Q-1 1,000
HYDRAULIC PUMP 65 WE 01046 3,500 FIRE EXT.BOTTLE 472479 - 1 5 YEARS
MAIN FUEL PUMP 1C15 - 7 10,000 SQUIB M876296 - 3 10 YEARS
ST-BY FUEL PUMP 1C15 - 7 10,000 FUEL CONTROL UNIT 8063-027 At Engine O/H
AUX. TRANSFER PUMP 3B7 - 4 6,000 FUEL PUMP ASSY. 825601-5 At Engine O/H

One of the best Air Forces in ASEAN. 69


แจงความวิทยาการกรมชางอากาศ 92/60
กําหนดวงรอบการตรวจ Dynamic Balance ใบพัดของ บ.ล.2 ก (BT-67)
- กําหนดการปฏิบัตเิ มือ่ :
• ติดตั้ง ย.และใบพัด
• บ.เขารับการตรวจซอมโครงสรางระดับโรงงาน PDM
• ใหทําการตรวจฯ ซ้ําทุก 12 เดือนนับจากการตรวจครั้งสุดทาย
• หากตรวจพบความผิดปกติของใบพัด ใหแจง นกข.ดําเนินการแกไขทันที

One of the best Air Forces in ASEAN. 70


การแกไขตรวจซอม บ.ล.2 ก

น.จัด บ. วิเคราะห วางแผนงาน


บันทึก ชม.ใชงาน
- ลงชื่อเรียบรอย วางแผน
แจง จนท.ปดงาน แจง จนท.เปดงาน
ระบบ LMIS ระบบ LMIS
เบิกเครื่องมือ
บันทึกการแกไข มีรายการพัสดุ ?
ตรวจสอบการ
/ ตรวจซอม แกไข / ตรวจ ไมมี
ทํางาน
- ลงชื่อเรียบรอย เบิกพัสดุ

เรียบรอย ตรวจสอบพัสดุ

One of the best Air Forces in ASEAN. 71


ตอบข้ อซักถาม

You might also like