You are on page 1of 38

คำชี้แจงในการใช้ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 1

รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


-----------------------------------------------------------------
1. แบบทดสอบนี้จัดทำตามจุดเน้นและผลการเรียนรู้ รายวิชา
เพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง
2. เนื้อหาในการจัดทำแบบทดสอบชุดนี้ คือ
จุดเน้นที่ 1 ผลการเรียนรู้ที่ 1-2-3
จุดเน้นที่ 2 ผลการเรียนรู้ที่ 4-5
จุดเน้นที่ 5 ผลการเรียนรู้ที่ 10
3. แบบทดสอบชุดนี้แบ่งออกเป็ น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็ น
แบบเลือกตอบ 50 ข้อ
และตอนที่ 2 เป็ นแบบเติมคำตอบ 10 ข้อ
4. ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ควรใช้แบบทดสอบแบบเลือก
ตอบ ไม่เกิน 40 ข้อ
5. หากมีการคัดเลือกและเปลี่ยนแปลงจำนวนข้อ ต้อง
จุดเน้นและผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

จุดเน้น
1. ความเป็ นไทย
2. รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
3. ความเป็ นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็ นประมุข
4. ความปรองดองสมานฉันท์
5. ความมีวินัยในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตนและชักชวนผู้อื่นให้มีมารยาทไทย
2. มีส่วนร่วมและชักชวนผู้อื่นให้อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม
3. มีส่วนร่วมในการขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและ
ภูมิปั ญญาไทย
4. เห็นคุณค่าและแนะนำผู้อื่นให้แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นใน
ศาสนาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
5. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงานและหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
6. ปฏิบัติตนและแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ
ของห้องเรียนและโรงเรียน
7. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ
ในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน
8. ยอมรับความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมในประเทศไทยและอยู่
ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติและ
พึ่งพาซึ่งกันและกัน
9. วิเคราะห์ปั ญหาความขัดแย้งในประเทศไทยและเสนอแนวทางการแก้
ปั ญหาโดยสันติวิธี
10. ปฏิบัติตนเป็ นผู้มีวินัยในตนเอง

ตารางวิเคราะห์ข้อสอบรายวิชาเพิ่มเติม
หน้าที่พลเมือง

ตอนที่ 1 ชนิดเลือกตอบ

จุด ผล ข้อที่ หมายเหตุ


เน้น การ
เรียนรู้
1 ข้อที่ 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12,13, คุณครู

1 14,15,16 สามารถ
ข้อที่ 17,18,19,20, 21,22 คัดเลือกได้

2
ป.5 ไม่เกิน
ข้อที่ 23,24,25,26,27,28,29,30,31,32,3
40 ข้อ
3 3
ข้อที่ 34, 35,3637,38,39,40,41,42
4
2
ข้อที่ 43,44,45
5
5 ข้อที่ 46,47,48,49,50
10
รวมทั้งหมด 50

ตอนที่ 2 ชนิดเติมคำตอบ 10 ข้อ ข้อ 1-10


สัดส่วนการจัดทำข้อสอบ ตอนที่ 1 คัดเลือกมา ข้อ คิดเป็ น
80 %
ตอนที่ 2 มี 10 ข้อ คิดเป็ น
20 %
ตรา

แบบทดสอบประจำภาคเรียนที่ รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่
1 พลเมือง
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา …………
โรงเรียน .....................................................................................
.................................................
คะแนนเต็ม 60 คะแนน เวลา 60 นาที
ชื่อ ............................................. นามสกุล
....................................................เลขที่...................
ตอนที่ 1 จำนวน 50 ข้อ คะแนนเต็ม 50 คะแนน (ข้อละ 1
คะแนน)
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ✕ ทับตัวอักษรหน้าคำ
ตอบที่ถูกต้อง
จุดเน้นที่ 1 ความเป็ นไทย
1. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคำว่า “มารยาทไทย” ได้ถูกต้อง
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. การทักทายโดยการจับมือ
ข. การแต่งกายตามความพอใจ
ค. การพูดจาเสียงดัง ตลกสนุกสนาน
ง. กิริยาวาจาที่สุภาพเรียบร้อยที่คนไทยพึงปฏิบัติ
2. คำว่า “มารยาท” เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด (ผลการเรียนรู้ที่
1)
ก. ศักดิ์ฐานะ
ข. ชาติตระกูล
ค. ความประพฤติ
ง. หน้าที่การงาน
3. การกราบบุคคล แตกต่างกับการกราบพระพุทธพระธรรมและ
พระสงฆ์ในเรื่องใด
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. จำนวนครั้ง ท่าที่นั่ง
ข. ท่าที่นั่ง ลักษณะฝ่ ามือ
ค. ลักษณะของฝ่ ามือ ท่านั่ง จำนวนครั้ง
ง. ตำแหน่งที่กราบ ลักษณะฝ่ ามือ จำนวนครั้ง
4. การกราบพระรัตนตรัยข้อใดถูกต้อง (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. กราบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง
ข. กราบเบญจางคประดิษฐ์ 1 ครั้ง
ค. นั่งพับเพียบกราบ 1 ครั้ง ไม่แบมือ
ง. นั่งพับเพียบกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง
5. ข้อใดคือลักษณะการทำความเคารพด้วยการไหว้บุคคลทั่วไป
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผาก
ข. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างคิ้ว
ค. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดปลายคาง
ง. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างจมูก

6. กรณีที่กราบพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐ์ไม่ได้ควรไหว้
แบบใดจึงจะถูกต้อง
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผาก
ข. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างคิ้ว
ค. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดปลายคาง
ง. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างจมูก
7. ข้อใดกล่าวถึงการกราบผู้ใหญ่ ผู้อาวุโสหรือผู้มีพระคุณได้ถูกต้อง
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. นั่งพับเพียบ กราบ 1 ครั้งแบมือ
ข. นั่งพับเพียบ กราบ 1 ครั้งไม่แบมือ
ค. นั่งพับเพียบ กราบ 3 ครั้งแบมือ
ง. นั่งพับเพียบ กราบ 3 ครั้งไม่แบมือ
8. ข้อใดไม่จัดเป็ นมารยาทชาวพุทธในการแสดงความเคารพ
ก. การคำนับ
ข. การกราบไหว้
ค. การวันทยาหัตถ์
ง. การจับมือทักทายกัน
9. เมื่อพบพระสงฆ์เดินผ่านมา นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 1)
ก. โค้งคำนับ
ข. ถอนสายบัว
ค. ประนมมือไหว้
ง. กราบเบญจางคประดิษฐ์
10. การหมอบกราบใช้แสดงความเคารพบุคคลใด (ผลการเรียนรู้ที่
1)
ก. ผู้เคารพนับถือ
ข. พระมหากษัตริย์
ค. สมเด็จพระสังฆราช
ง. ผู้มีพระคุณและผู้อาวุโส
11. การถวายความเคารพแบบสากลที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ คือ
ข้อใด (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. ชาย ยืนตรง หญิง ไหว้
ข. ชาย ยืนตรง หญิง ถอนสายบัว
ค. ชาย คำนับ หญิง ถอนสายบัว
ง. ชายและหญิงยืนตรงแล้วไหว้

12. เมื่อนักเรียนพบกับผู้ใหญ่ นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร (ผลการ


เรียนรู้ที่ 1)
ก. ยืนตรงแล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
ข. จับมือแล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
ค. โค้งคำนับแล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
ง. ยกมือไหว้แล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
13. เมื่อมีผู้มาขอพบคุณพ่อคุณแม่ แต่ท่านไม่อยู่บ้านนักเรียนควร
ปฏิบัติอย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. กล่าวทักทายแล้วเชิญให้กลับ
ข. เชิญเข้ามาในบ้านแล้วรับเรื่องกิจธุระไว้
ค. เชิญเข้ามานั่งรอในบ้าน แล้วนำน้ำดื่มมาต้อนรับ
ง. กล่าวคำขอโทษและขอชื่อ เบอร์โทรศัพท์เพื่อติดต่อกลับ
14. ข้อใดเป็ นมารยาทในการต้อนรับแขกผู้มาเยือนที่ไม่ถูกต้อง (ผล
การเรียนรู้ที่ 1)
ก. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ข. พูดคุยและเล่นส่งเสียงดัง
ค. เดินออกไปส่งเมื่อแขกลากลับ
ง. กล่าวคำต้อนรับด้วยถ้อยคำที่สุภาพ
15. ข้อใดปฏิบัติตนตามกาลเทศะ ได้ถูกต้อง (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. กระโดดดีใจเมื่อผู้ใหญ่ให้ของ
ข. นุ่งกางเกงขาสั้นสีดำไปงานศพ
ค. นั่งพับเพียบขณะนั่งต่อหน้าผู้ใหญ่
ง. หยอกล้อกันระหว่างรับประทานอาหาร
16. การปฏิบัติตนตามมารยาทไทย มีประโยชน์อย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 1)
ก. แสดงถึงฐานะทางสังคม
ข. แสดงถึงระดับการศึกษาที่สูง
ค. เป็ นการสืบทอดวัฒนธรรมของไทย
ง. แสดงถึงความรักชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
17. ข้อใดคือทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. ดิน น้ำ
ข. น้ำ ถังแก๊ส
ค. แร่ธาตุ รถยนต์
ง. ป่ าไม้ ทางรถไฟ

18. ข้อใดจัดเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป ไม่สามารถ


ทดแทนได้ในช่วงเวลาอันสั้น
(ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. น้ำ สัตว์ป่ า
ข. ป่ าไม้ อากาศ
ค. แร่ธาตุ น้ำมัน
ง. อากาศ แสงแดด
19. ข้อใดเป็ นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ดีที่สุดสำหรับ
นักเรียน (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. นำกระดาษที่ไม่ใช้แล้วไปขาย
ข. นำเศษกระดาษมาพับถุงใส่ของ
ค. นำเศษกระดาษมาเผาไฟหรือทำเป็ นปุ๋ย
ง. นำเศษกระดาษมาทำเป็ นกระดาษแผ่นใหญ่
20. จุดประสงค์สำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (ผลการ
เรียนรู้ที่ 2)
ก. ทำให้ทุกคนรักธรรมชาติ
ข. จะได้นำไปขายให้มีรายได้มากขึ้น
ค. มีทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้คนรุ่นหลัง
ง. ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
21. ข้อใดคือการใช้ซ้ำ “Reuse” (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. แม่ค้ามารับขวดพลาสติกไปรีไซเคิล
ข. คุณครูใช้กระดาษ A4 ครบทั้ง 2 หน้า
ค. คุณพ่อซ่อมของเล่นให้กลับมาเล่นใหม่ได้
ง. คุณแม่นำกางเกงที่ขาดไปให้ช่างเย็บผ้าปะให้ใหม่
22. ความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
คือข้อใด (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. ไม่นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้
ข. รักษาทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ตลอดไป
ค. การรู้จักเพิ่มพูนทรัพยากรธรรมชาติให้มากขึ้น
ง. การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ประหยัดและเกิดประโยชน์
สูงสุด
23. ข้อใดเป็ นประเพณีส่วนบุคคล (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. ประเพณีแต่งงาน
ข. ประเพณีสงกรานต์
ค. ประเพณีตักบาตรเทโว
ง. ประเพณีแห่เทียนพรรษา
24. ภาพฝาผนังโบสถ์ เรื่องรามเกียรติ์ เป็ นศิลปกรรมแขนงใด (ผล
การเรียนรู้ที่ 3)
ก. จิตรกรรม
ข. หัตถกรรม
ค. ประติมากรรม
ง. สถาปั ตยกรรม

25. ข้อใดเป็ นอาหารพื้นถิ่นของภาคใต้ทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ที่ 3)


ก. ส้มตำ ลาบ
ข. แกงไตปลา ข้าวยำ
ค. น้ำพริกหนุ่ม แคบหมู
ง. น้ำพริกลงเรือ แกงเขียวหวาน
26. ข้อใดเป็ นภูมิปั ญญาไทยที่นำมาใช้ในการรักษาโรค (ผลการ
เรียนรู้ที่ 3)
ก. อาหารเสริม
ข. ข้าวกล้อง
ค. ข้าวไรเบอรี่
ง. พืชสมุนไพร
27. ข้อใดไม่ใช่วัฒนธรรมไทย (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. ภาษาไทย
ข. อาหารไทย
ค. การแต่งกายแบบไทย
ง. ฉลองวันเกิดด้วยการเป่ าเค๊ก
28. การนำวัสดุในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็ นสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประวัน เป็ นศิลปกรรมแขนงใด
(ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. หัตถกรรม
ข. อุตสาหกรรม
ค. เกษตรกรรม
ง. สถาปั ตยกรรม
29. ข้อใด ไม่ใช่ ปั จจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปั ญญา
ไทย (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
ข. การลอกเลียนแบบธรรมชาติ
ค. ความพยายามที่จะเอาชนะธรรมชาติ
ง. ความพยายามที่จะปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ
30. ข้อใดเป็ นประเพณีภูมิปั ญญาท้องถิ่นที่นำมาใช้ในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. การทำไร่
ข. การทำนา
ค. การบวชป่ า
ง. การทำสวน
31. ข้อใดเป็ นภูมิปั ญญาท้องถิ่นของไทยที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ
อาชีพ (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. การสร้างรถไฟฟ้ า
ข. การทำอาหารญี่ปุ่น
ค. การทำเครื่องปั้นดินเผา
ง. การสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ
32. ภูมิปั ญญาท้องถิ่นมีความสำคัญอย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. ทำให้คนมีความขยันมากขึ้น
ข. ทำให้คนมีฐานะร่ำรวยมากขึ้น
ค. ทำให้มีการใช้ทรัพยากรมากขึ้น
ง. เป็ นวิถีชีวิตที่ควรนำมาเป็ นแบบอย่าง
33. นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปั ญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไปได้อย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 3)
ก. รวบรวมเขียนไว้เป็ นตำรา
ข. บังคับให้เด็กทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม
ค. เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่ชุมชนจัดขึ้น
ง. ออกกฎหมายลงโทษผู้ไม่เห็นคุณค่าของภูมิปั ญญาไทย
จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหา
กษัตริย์
34. ข้อใดกล่าวถึงสินค้าไทยได้ถูกต้อง (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. สินค้าที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ
ข. สินค้าที่ผลิตจากวัสดุภายในประเทศ
ค. สินค้าที่ผลิตจากวัสดุจากต่างประเทศ
ง. สินค้าที่ผลิตจากจากวัสดุทั้งในและต่างประเทศ
35. ข้อใดคือการเห็นคุณค่าของสินค้าไทยมากที่สุด (ผลการเรียนรู้
ที่ 4)
ก. พี่สาวชอบสะสมกระเป๋ ายี่ห้อหรู
ข. แม่ซื้อผ้าไหมมาเก็บไว้โชว์เพื่อน
ค. คุณป้ าสวมผ้าถุงทอมือไปทำบุญที่วัด
ง. คุณน้าสวมเสื้อขนสัตว์ไปต่างประเทศ
36. ประโยชน์ที่ได้จากการอุดหนุนสินค้าไทยคือข้อใด (ผลการเรียน
รู้ที่ 4)
ก. สร้างรายได้ให้กับคนไทยด้วยกันเอง
ข. สร้างรายได้ให้กับคนต่างประเทศ
ค. ทำให้ชุมชนไม่สามารถพึ่งตนเองได้
ง. ทำให้เศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ

37. ข้อใดจัดเป็ นโบราณสถาน (ผลการเรียนรู้ที่ 4)


ก. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ข. หน่วยงานราชการที่ให้บริการประชาชน
ค. สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีอายุมากกว่า 100 ปี
ง. วัตถุสิ่งของเครื่องใช้ที่มนุษย์สร้างขึ้นมีอายุมากกว่า 100 ปี
38. ถ้านักเรียนไปขุดพบโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุ ควรปฏิบัติ
อย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. ปิ ดเป็ นความลับไม่บอกใคร
ข. แจ้งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทราบ
ค. ชวนชาวบ้านไปขุดหาทรัพย์สมบัติ
ง. เก็บเอาทรัพย์สมบัติมาเป็ นของตนเอง
39. ข้อใดเป็ นการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุดในการยึดมั่นใน
ศาสนา (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. อุปสมบทเมื่ออายุครบบวช
ข. การถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ในวันพระ
ค. ตั้งใจศึกษาหลักธรรมให้เข้าใจและนำไปปฏิบัติ
ง. เข้าร่วมในพิธีทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันมาฆบูชา
40. ข้อใดเป็ นการแสดงออกถึงการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
มากที่สุด (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. น้อมนำพระบรมราโชวาทไปปฏิบัติ
ข. เข้าร่วมกิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ค. ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีทุกวัน
ง. ประดับพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ที่บ้าน
41. ข้อใดไม่ใช่สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ (ผลการเรียนรู้
ที่ 4)
ก. ธงมหาราช
ข. ธงชาติไทย
ค. พระบรมฉายาลักษณ์
ง. เพลงสรรเสริญพระบารมี
42. คำกล่าวในข้อใดมีความสอดคล้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์
(ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งชาติ
ข. เครื่องหล่อหลอมให้คนไทยมีอัตลักษณ์เป็ นหนึ่งเดียว
ค. มีอำนาจควบคุมให้บุคคลปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม
ง. ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงและความสามัคคีของคนในชาติ
43. ผู้ที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแนวทางในการ
ดำเนินชีวิตจะมีลักษณะอย่างไร
(ผลการเรียนรู้ที่ 5)
ก. มีความเป็ นอยู่ที่ดีและมีฐานะร่ำรวย
ข. ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม
ค. ใช้จ่ายเงินอย่างประหยัดและเหมาะสม
ง. ดำเนินชีวิตอย่างหรูหรา ใช้สินค้าราคาแพง
44. พฤติกรรมของบุคคลใดสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง (ผลการเรียนรู้ที่ 5)
ก. จีระพงษ์เล่นเกมทุกวัน
ข. ปั งปอนไม่ทำการบ้านส่ง
ค. น้ำฟ้ าหยอดเงินในกระปุกออมสินทุกวัน
ง. ธีรเดชแวะไปซื้อของเล่นที่ตลาดนัดทุกวันพุธ
45. บุคคลในข้อใดน้อมนำพระบรมราโชวาทข้างต้นไปใช้ได้อย่าง
เหมาะสมที่สุด (ผลการเรียนรู้ที่ 5)
ก. พ่อซื้อลอตเตอรี่ทุกเดือนเพราะหวังรวย
ข. คุณป้ าขายของแพงเพื่อให้มีกำไรจะได้สร้างฐานะได้เร็วขึ้น
ค. คุณน้าทำบัญชีครัวเรือนทุกเดือนเพื่อวางแผนการใช้เงินของ
ครอบครัว
ง. พี่ชายตั้งใจทำงานอย่างขยันขันแข็งเมื่ออยู่ต่อหน้าหัวหน้าเพื่อ
หวังโบนัสปลายปี
จุดเน้นที่ 10 ความมีวินัยในตนเอง
46. ถ้าเราอยากพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ต้องปฏิบัติอย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 10)
ก. อดทน
ข. เสียสละ
ค. ซื่อสัตย์
ง. ใฝ่ หาความรู้
47. การปฏิบัติของใครแสดงถึงความซื่อสัตย์ (ผลการเรียนรู้ที่ 10)
ก. เดือนติดตามข่าวสารทุกวัน
ข. ดาวมุ่งมั่นในการเรียนหนังสือ
ค. ดวงใจส่งการบ้านตรงเวลาทุกครั้ง
ง. ดวงดีเต๋าไม่ท้อถอยในการทำงาน
48. ถ้าต้องการความสำเร็จในการเรียน ไม่ควรปฏิบัติตนอย่างไร
(ผลการเรียนรู้ที่ 10)
ก. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่
ข. ใฝ่ หาความรู้อยู่เสมอ
ค. ขยันหมั่นเพียรและอดทน
ง. มุ่งอ่านหนังสือโดยไม่พักผ่อน
49. ถ้าเพื่อนจะนำเงินไปคืนแม่ค้าที่ทอนเกิน ควรพูดกับเพื่อน
อย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 10)
ก. “จะดีเหรอ”
ข. “ดีแล้ว เพราะไม่ใช่เงินเรา”
ค. “แม่ค้าเขาไม่อยากได้คืนหรอก”
ง. “เอาไปคืนทำไม เก็บไว้ใช้ดีกว่า”
50. ถ้าอยากให้เพื่อนเกิดความไว้วางใจ ควรปฏิบัติอย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 10)
ก. ใฝ่ หาความรู้อยู่เสมอ
ข. มีความซื่อสัตย์สุจริต
ค. ขยันหมั่นเพียรและอดทน
ง. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ของตน
ตอนที่ 2 แบบทดสอบชนิดเติมคำตอบตามที่กำหนดให้
คำชี้แจง จงนำข้อความที่มีความสัมพันธ์กับคำถามที่กำหนดให้เติมลง
ในช่องว่างให้ถูกต้อง
(ข้อละ 1 คะแนน)

สาธารณสมบัติ หลักปรัชญาของ สถาบันพระมหา


เศรษฐกิจพอเพียง กษัตริย์
เกษตรทฤษฎีใหม่ พระจริยวัตร รัชกาลที่ พระบรมราโชวาท
9
ภูมิปั ญญาไทย การใช้สินค้าไทย การจัดการสิ่ง
แวดล้อม
จิตสาธารณะ
1. คำสั่งสอนของพระมหากษัตริย์ คือ …………………………………………
………………………………………………….
2. วิธีการแสดงออกถึงความรักชาติ คือ
.…………………………………………………………………………..…………….
3. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งชาติ คือ ………………………………………
…………………………………………………
4. สิ่งที่เป็ นทรัพย์สมบัติของส่วนรวมและใช้ประโยชน์ร่วมกัน คือ ……
…………………………………………………
5. การช่วยเหลือสังคมโดยไม่คิดหวังสิ่งตอบแทน เรียกว่า ………………
…………………………………………………
6. การใช้สิ่งของอย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟื่ อย รู้จักอดออม คือ ……………
……………………………………………....
7. คุณแม่แยกขยะก่อนก่อนนำไปทิ้ง เรียกว่า ………………………………
………………………………………………….
8. การบำบัดรักษาโรคโดยการนวดแผนโบราณ เรียกว่า …………………
…………………………………………………
9. ความมีเหตุผล ความพอประมาณและการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง
คือ …..……………………………………….
10. หลักการจัดสรรที่ดินทำกิน 30 : 30 : 30 : 10 คือ …..………………
………………………………………………..
ตราโรงเรียน คะแนน
ที่ได้
กระดาษคำตอบ รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง
ข้อสอบวัดผลปลายภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา ………..
โรงเรียน…………………………………………………
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 คะแนนเต็ม 40 คะแนน

ตอนที่ 1 กาเครื่องหมาย X ลงในช่องที่เลือกตอบที่ถูกต้องที่สุด


ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 21
2 22
3 23
4 24
5 25
6 26
7 27
8 28
9 29
10 30
11 31
12 32
13 33
14 34
15 35
16 36
17 37
18 38
19 39
20 40

เฉลย
แบบทดสอบประจำภาคเรียนที่ รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่
1 พลเมือง
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา ………….
โรงเรียน .....................................................................................
.................................................
คะแนนเต็ม 60 คะแนน เวลา 60 นาที
ชื่อ ............................................. นามสกุล
....................................................เลขที่...................
ตอนที่ 1 จำนวน 50 ข้อ คะแนนเต็ม 50 คะแนน (ข้อละ 1
คะแนน)
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ✕ ทับตัวอักษรหน้าคำ
ตอบที่ถูกต้อง
จุดเน้นที่ 1 ความเป็ นไทย
1. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคำว่า “มารยาทไทย” ได้ถูกต้อง
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. การทักทายโดยการจับมือ
ข. การแต่งกายตามความพอใจ
ค. การพูดจาเสียงดัง ตลกสนุกสนาน
ง. กิริยาวาจาที่สุภาพเรียบร้อยที่คนไทยพึงปฏิบัติ
2. คำว่า “มารยาท” เกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด (ผลการเรียนรู้ที่
1)
ก. ศักดิ์ฐานะ
ข. ชาติตระกูล
ค. ความประพฤติ
ง. หน้าที่การงาน
3. การกราบบุคคล แตกต่างกับการกราบพระพุทธพระธรรมและ
พระสงฆ์กในเรื่องใด
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. จำนวนครั้ง ท่าที่นั่ง
ข. ท่าที่นั่ง ลักษณะฝ่ ามือ
ค. ลักษณะของฝ่ ามือ ท่านั่ง จำนวนครั้ง
ง. ตำแหน่งที่กราบ ลักษณะฝ่ ามือ จำนวนครั้ง
4. การกราบพระรัตนตรัยข้อใดถูกต้อง (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. กราบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง
ข. กราบเบญจางคประดิษฐ์ 1 ครั้ง
ค. นั่งพับเพียบกราบ 1 ครั้ง ไม่แบมือ
ง. นั่งพับเพียบกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง
5. ข้อใดคือลักษณะการทำความเคารพด้วยการไหว้บุคคลทั่วไป
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผาก
ข. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างคิ้ว
ค. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดปลายคาง
ง. การประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างจมูก

6. กรณีที่กราบพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐ์ไม่ได้ควรไหว้
แบบใดจึงจะถูกต้อง
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผาก
ข. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างคิ้ว
ค. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดปลายคาง
ง. ยืนประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่างจมูก
7. ข้อใดกล่าวถึงการกราบผู้ใหญ่ ผู้อาวุโสหรือผู้มีพระคุณได้ถูกต้อง
(ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. นั่งพับเพียบ กราบ 1 ครั้งแบมือ
ข. นั่งพับเพียบ กราบ 1 ครั้งไม่แบมือ
ค. นั่งพับเพียบ กราบ 3 ครั้งแบมือ
ง. นั่งพับเพียบ กราบ 3 ครั้งไม่แบมือ
8. ข้อใดไม่จัดเป็ นมารยาทชาวพุทธในการแสดงความเคารพ
ก. การคำนับ
ข. การกราบไหว้
ค. การวันทยาหัตถ์
ง. การจับมือทักทายกัน
9. เมื่อพบพระสงฆ์เดินผ่านมา นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 1)
ก. โค้งคำนับ
ข. ถอนสายบัว
ค. ประนมมือไหว้
ง. กราบเบญจางคประดิษฐ์
10. การหมอบกราบใช้แสดงความเคารพบุคคลใด (ผลการเรียนรู้ที่
1)
ก. ผู้เคารพนับถือ
ข. พระมหากษัตริย์
ค. สมเด็จพระสังฆราช
ง. ผู้มีพระคุณและผู้อาวุโส
11. การถวายความเคารพแบบสากลที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ คือ
ข้อใด (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. ชาย ยืนตรง หญิง ไหว้
ข. ชาย ยืนตรง หญิง ถอนสายบัว
ค. ชาย คำนับ หญิง ถอนสายบัว
ง. ชายและหญิงยืนตรงแล้วไหว้

12. เมื่อนักเรียนพบกับผู้ใหญ่ นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร (ผลการ


เรียนรู้ที่ 1)
ก. ยืนตรงแล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
ข. จับมือแล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
ค. โค้งคำนับแล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
ง. ยกมือไหว้แล้วกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ”
13. เมื่อมีผู้มาขอพบคุณพ่อคุณแม่ แต่ท่านไม่อยู่บ้านนักเรียนควร
ปฏิบัติอย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. กล่าวทักทายแล้วเชิญให้กลับ
ข. เชิญเข้ามาในบ้านแล้วรับเรื่องกิจธุระไว้
ค. เชิญเข้ามานั่งรอในบ้าน แล้วนำน้ำดื่มมาต้อนรับ
ง. กล่าวคำขอโทษและขอชื่อ เบอร์โทรศัพท์เพื่อติดต่อกลับ
14. ข้อใดเป็ นมารยาทในการต้อนรับแขกผู้มาเยือนที่ไม่ถูกต้อง (ผล
การเรียนรู้ที่ 1)
ก. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ข. พูดคุยและเล่นส่งเสียงดัง
ค. เดินออกไปส่งเมื่อแขกลากลับ
ง. กล่าวคำต้อนรับด้วยถ้อยคำที่สุภาพ
15. ข้อใดปฏิบัติตนตามกาลเทศะ ได้ถูกต้อง (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
ก. กระโดดดีใจเมื่อผู้ใหญ่ให้ของ
ข. นุ่งกางเกงขาสั้นสีดำไปงานศพ
ค. นั่งพับเพียบขณะนั่งต่อหน้าผู้ใหญ่
ง. หยอกล้อกันระหว่างรับประทานอาหาร
16. การปฏิบัติตนตามมารยาทไทย มีประโยชน์อย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 1)
ก. แสดงถึงฐานะทางสังคม
ข. แสดงถึงระดับการศึกษาที่สูง
ค. เป็ นการสืบทอดวัฒนธรรมของไทย
ง. แสดงถึงความรักชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
17. ข้อใดคือทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. ดิน น้ำ
ข. น้ำ ถังแก๊ส
ค. แร่ธาตุ รถยนต์
ง. ป่ าไม้ ทางรถไฟ
18. ข้อใดจัดเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป ไม่สามารถ
ทดแทนได้ในช่วงเวลาอันสั้น
(ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. น้ำ สัตว์ป่ า
ข. ป่ าไม้ อากาศ
ค. แร่ธาตุ น้ำมัน
ง. อากาศ แสงแดด
19. ข้อใดเป็ นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ดีที่สุดสำหรับ
นักเรียน (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. นำกระดาษที่ไม่ใช้แล้วไปขาย
ข. นำเศษกระดาษมาพับถุงใส่ของ
ค. นำเศษกระดาษมาเผาไฟหรือทำเป็ นปุ๋ย
ง. นำเศษกระดาษมาทำเป็ นกระดาษแผ่นใหญ่
20. จุดประสงค์สำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (ผลการ
เรียนรู้ที่ 2)
ก. ทำให้ทุกคนรักธรรมชาติ
ข. จะได้นำไปขายให้มีรายได้มากขึ้น
ค. มีทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้คนรุ่นหลัง
ง. ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
21. ข้อใดคือการใช้ซ้ำ “Reuse” (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. แม่ค้ามารับขวดพลาสติกไปรีไซเคิล
ข. คุณครูใช้กระดาษ A4 ครบทั้ง 2 หน้า
ค. คุณพ่อซ่อมของเล่นให้กลับมาเล่นใหม่ได้
ง. คุณแม่นำกางเกงที่ขาดไปให้ช่างเย็บผ้าปะให้ใหม่
22. ความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
คือข้อใด (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
ก. ไม่นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้
ข. รักษาทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ตลอดไป
ค. การรู้จักเพิ่มพูนทรัพยากรธรรมชาติให้มากขึ้น
ง. การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ประหยัดและเกิดประโยชน์
สูงสุด
23. ข้อใดเป็ นประเพณีส่วนบุคคล (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. ประเพณีแต่งงาน
ข. ประเพณีสงกรานต์
ค. ประเพณีตักบาตรเทโว
ง. ประเพณีแห่เทียนพรรษา
24. ภาพฝาผนังโบสถ์ เรื่องรามเกียรติ์ เป็ นศิลปกรรมแขนงใด (ผล
การเรียนรู้ที่ 3)
ก. จิตรกรรม
ข. หัตถกรรม
ค. ประติมากรรม
ง. สถาปั ตยกรรม

25. ข้อใดเป็ นอาหารพื้นถิ่นของภาคใต้ทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ที่ 3)


ก. ส้มตำ ลาบ
ข. แกงไตปลา ข้าวยำ
ค. น้ำพริกหนุ่ม แคบหมู
ง. น้ำพริกลงเรือ แกงเขียวหวาน
26. ข้อใดเป็ นภูมิปั ญญาไทยที่นำมาใช้ในการรักษาโรค (ผลการ
เรียนรู้ที่ 3)
ก. อาหารเสริม
ข. ข้าวกล้อง
ค. ข้าวไรเบอรี่
ง. พืชสมุนไพร
27. ข้อใดไม่ใช่วัฒนธรรมไทย (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. ภาษาไทย
ข. อาหารไทย
ค. การแต่งกายแบบไทย
ง. ฉลองวันเกิดด้วยการเป่ าเค๊ก
28. การนำวัสดุในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็ นสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประวัน เป็ นศิลปกรรมแขนงใด
(ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. หัตถกรรม
ข. อุตสาหกรรม
ค. เกษตรกรรม
ง. สถาปั ตยกรรม
29. ข้อใด ไม่ใช่ ปั จจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปั ญญา
ไทย (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
ข. การลอกเลียนแบบธรรมชาติ
ค. ความพยายามที่จะเอาชนะธรรมชาติ
ง. ความพยายามที่จะปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ
30. ข้อใดเป็ นประเพณีภูมิปั ญญาท้องถิ่นที่นำมาใช้ในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. การทำไร่
ข. การทำนา
ค. การบวชป่ า
ง. การทำสวน

31. ข้อใดเป็ นภูมิปั ญญาท้องถิ่นของไทยที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ


อาชีพ (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. การสร้างรถไฟฟ้ า
ข. การทำอาหารญี่ปุ่น
ค. การทำเครื่องปั้นดินเผา
ง. การสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ
32. ภูมิปั ญญาท้องถิ่นมีความสำคัญอย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
ก. ทำให้คนมีความขยันมากขึ้น
ข. ทำให้คนมีฐานะร่ำรวยมากขึ้น
ค. ทำให้มีการใช้ทรัพยากรมากขึ้น
ง. เป็ นวิถีชีวิตที่ควรนำมาเป็ นแบบอย่าง
33. นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปั ญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไปได้อย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 3)
ก. รวบรวมเขียนไว้เป็ นตำรา
ข. บังคับให้เด็กทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม
ค. เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่ชุมชนจัดขึ้น
ง. ออกกฎหมายลงโทษผู้ไม่เห็นคุณค่าของภูมิปั ญญาไทย
จุดเน้นที่ 2 รักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหา
กษัตริย์
34. ข้อใดกล่าวถึงสินค้าไทยได้ถูกต้อง (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. สินค้าที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ
ข. สินค้าที่ผลิตจากวัสดุภายในประเทศ
ค. สินค้าที่ผลิตจากวัสดุจากต่างประเทศ
ง. สินค้าที่ผลิตจากจากวัสดุทั้งในและต่างประเทศ
35. ข้อใดคือการเห็นคุณค่าของสินค้าไทยมากที่สุด (ผลการเรียนรู้
ที่ 4)
ก. พี่สาวชอบสะสมกระเป๋ ายี่ห้อหรู
ข. แม่ซื้อผ้าไหมมาเก็บไว้โชว์เพื่อน
ค. คุณป้ าสวมผ้าถุงทอมือไปทำบุญที่วัด
ง. คุณน้าสวมเสื้อขนสัตว์ไปต่างประเทศ
36. ประโยชน์ที่ได้จากการอุดหนุนสินค้าไทยคือข้อใด (ผลการเรียน
รู้ที่ 4)
ก. สร้างรายได้ให้กับคนไทยด้วยกันเอง
ข. สร้างรายได้ให้กับคนต่างประเทศ
ค. ทำให้ชุมชนไม่สามารถพึ่งตนเองได้
ง. ทำให้เศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ

37. ข้อใดจัดเป็ นโบราณสถาน (ผลการเรียนรู้ที่ 4)


ก. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ข. หน่วยงานราชการที่ให้บริการประชาชน
ค. สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีอายุมากกว่า 100 ปี
ง. วัตถุสิ่งของเครื่องใช้ที่มนุษย์สร้างขึ้นมีอายุมากกว่า 100 ปี
38. ถ้านักเรียนไปขุดพบโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุ ควรปฏิบัติ
อย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. ปิ ดเป็ นความลับไม่บอกใคร
ข. แจ้งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทราบ
ค. ชวนชาวบ้านไปขุดหาทรัพย์สมบัติ
ง. เก็บเอาทรัพย์สมบัติมาเป็ นของตนเอง
39. ข้อใดเป็ นการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุดในการยึดมั่นใน
ศาสนา (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. อุปสมบทเมื่ออายุครบบวช
ข. การถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ในวันพระ
ค. ตั้งใจศึกษาหลักธรรมให้เข้าใจและนำไปปฏิบัติ
ง. เข้าร่วมในพิธีทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันมาฆบูชา
40. ข้อใดเป็ นการแสดงออกถึงการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
มากที่สุด (ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. น้อมนำพระบรมราโชวาทไปปฏิบัติ
ข. เข้าร่วมกิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ค. ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีทุกวัน
ง. ประดับพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ที่บ้าน
41. ข้อใดไม่ใช่สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ (ผลการเรียนรู้
ที่ 4)
ก. ธงมหาราช
ข. ธงชาติไทย
ค. พระบรมฉายาลักษณ์
ง. เพลงสรรเสริญพระบารมี
42. คำกล่าวในข้อใดมีความสอดคล้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์
(ผลการเรียนรู้ที่ 4)
ก. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งชาติ
ข. เครื่องหล่อหลอมให้คนไทยมีอัตลักษณ์เป็ นหนึ่งเดียว
ค. มีอำนาจควบคุมให้บุคคลปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม
ง. ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงและความสามัคคีของคนในชาติ
43. ผู้ที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแนวทางในการ
ดำเนินชีวิตจะมีลักษณะอย่างไร
(ผลการเรียนรู้ที่ 5)
ก. มีความเป็ นอยู่ที่ดีและมีฐานะร่ำรวย
ข. ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม
ค. ใช้จ่ายเงินอย่างประหยัดและเหมาะสม
ง. ดำเนินชีวิตอย่างหรูหรา ใช้สินค้าราคาแพง
44. พฤติกรรมของบุคคลใดสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง (ผลการเรียนรู้ที่ 5)
ก. จีระพงษ์เล่นเกมทุกวัน
ข. ปั งปอนไม่ทำการบ้านส่ง
ค. น้ำฟ้ าหยอดเงินในกระปุกออมสินทุกวัน
ง. ธีรเดชแวะไปซื้อของเล่นที่ตลาดนัดทุกวันพุธ
45. บุคคลในข้อใดน้อมนำพระบรมราโชวาทข้างต้นไปใช้ได้อย่าง
เหมาะสมที่สุด (ผลการเรียนรู้ที่ 5)
ก. พ่อซื้อลอตเตอรี่ทุกเดือนเพราะหวังรวย
ข. คุณป้ าขายของแพงเพื่อให้มีกำไรจะได้สร้างฐานะได้เร็วขึ้น
ค. คุณน้าทำบัญชีครัวเรือนทุกเดือนเพื่อวางแผนการใช้เงินของ
ครอบครัว
ง. พี่ชายตั้งใจทำงานอย่างขยันขันแข็งเมื่ออยู่ต่อหน้าหัวหน้าเพื่อ
หวังโบนัสปลายปี
จุดเน้นที่ 10 ความมีวินัยในตนเอง
46. ถ้าเราอยากพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ต้องปฏิบัติอย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 10)
ก. อดทน
ข. เสียสละ
ค. ซื่อสัตย์
ง. ใฝ่ หาความรู้
47. การปฏิบัติของใครแสดงถึงความซื่อสัตย์ (ผลการเรียนรู้ที่ 10)
ก. เดือนติดตามข่าวสารทุกวัน
ข. ดาวมุ่งมั่นในการเรียนหนังสือ
ค. ดวงใจส่งการบ้านตรงเวลาทุกครั้ง
ง. ดวงดีเต๋าไม่ท้อถอยในการทำงาน
48. ถ้าต้องการความสำเร็จในการเรียน ไม่ควรปฏิบัติตนอย่างไร
(ผลการเรียนรู้ที่ 10)
ก. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่
ข. ใฝ่ หาความรู้อยู่เสมอ
ค. ขยันหมั่นเพียรและอดทน
ง. มุ่งอ่านหนังสือโดยไม่พักผ่อน
49. ถ้าเพื่อนจะนำเงินไปคืนแม่ค้าที่ทอนเกิน ควรพูดกับเพื่อน
อย่างไร (ผลการเรียนรู้ที่ 10)
ก. “จะดีเหรอ”
ข. “ดีแล้ว เพราะไม่ใช่เงินเรา”
ค. “แม่ค้าเขาไม่อยากได้คืนหรอก”
ง. “เอาไปคืนทำไม เก็บไว้ใช้ดีกว่า”
50. ถ้าอยากให้เพื่อนเกิดความไว้วางใจ ควรปฏิบัติอย่างไร (ผลการ
เรียนรู้ที่ 10)
ก. ใฝ่ หาความรู้อยู่เสมอ
ข. มีความซื่อสัตย์สุจริต
ค. ขยันหมั่นเพียรและอดทน
ง. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ของตน
เฉลย ตอนที่ 2 แบบทดสอบชนิดเติมคำตอบตามที่กำหนดให้
คำชี้แจง จงนำข้อความที่มีความสัมพันธ์กับคำถามที่กำหนดให้เติมลง
ในช่องว่างให้ถูกต้อง
(ข้อละ 1 คะแนน)

สาธารณสมบัติ หลักปรัชญาของ สถาบันพระมหา


เศรษฐกิจพอเพียง กษัตริย์
เกษตรทฤษฎีใหม่ พระจริยวัตร รัชกาลที่ พระบรมราโชวาท
9
ภูมิปั ญญาไทย การใช้สินค้าไทย การจัดการสิ่ง
แวดล้อม
จิตสาธารณะ

1. คำสั่งสอนของพระมหากษัตริย์ คือ พระบรมราโชวาท


2. วิธีการแสดงออกถึงความรักชาติอีกหนึ่งวิธี คือ การใช้สินค้าไทย
3. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งชาติ คือ สถาบันพระมหากษัตริย์
4. สิ่งที่เป็ นทรัพย์สมบัติของส่วนรวมและใช้ประโยชน์ร่วมกัน คือ
สาธารณสมบัติ
5. การช่วยเหลือสังคมโดยไม่คิดหวังสิ่งตอบแทน เรียกว่าจิตสาธารณะ
6. การใช้สิ่งของอย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟื่ อย รู้จักอดออม คือ พระ
จริยวัตร รัชกาลที่ 9
7. คุณแม่แยกขยะก่อนก่อนนำไปทิ้ง เรียกว่า การจัดการสิ่งแวดล้อม
8. การบำบัดรักษาโรคโดยการนวดแผนโบราณ เรียกว่า ภูมิปั ญญา
ไทย
9. ความมีเหตุผล ความพอประมาณและการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง
คือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10. หลักการจัดสรรที่ดินทำกิน 30 : 30 : 30 : 10 คือ เกษตรทฤษฎี
ใหม่

You might also like