You are on page 1of 14

จักรทีปนีสงเคราะห์

• จัดระเบียบคำ�สอนพระอุตมรามเถร
• ให้เรียนง่าย • จำ�ง่าย • ใช้สะดวก
โดย
ZORO
คำ�นำ�ของ
หลวงสุทธิภาศ นฤพนธ์
อดีตหัวหน้าศาลอุทธรณ์
และนายกสมาคมโหรแห่งประเทศไทย
บทนำ�ของ
พิภพ ตังคณะสิงห์
สมาชิกกิตติมศักดิ์ สมาคมโหร

สงวนลิขสิทธิ์ ราคา ๒๕๐ บาท


พิมพ์ที่ บริษัท ธเนศวรพริ้นท์ติ้ง (1999) จำ�กัด
71/16-18 หมู่ที่ 4 ซอยเจริญวิถี ถนนสายบางแวก แขวงคลองขวาง
เขตภาษีเจริญ กรุงเทพ 10160
คำ�นำ�
ของ
หลวงสุทธิภาศนฤพนธ์
อดีตนายกสมาคมโหรแห่งประเทศไทย

ทัศนะของผม
คุณพิภพ ตังคณะสิงห์ ขอให้ผมเขียนอะไรลงใน
หนังสือเล่มนี้ของ ZORO สักหน่อย เป็นทำ�นองคำ�ขวัญ
ผมมีความรู้น้อย แต่อาศัยที่เราคุ้นเคยรักใคร่กันมานาน
จึงยินดีรับทำ�ด้วยความเต็มใจ
ตำ�ราจักรทีปนี พูดให้เข้าใจง่ายก็ว่า เป็นตำ�ราทาย
พระเคราะห์ ป ระจำ � ดวงชาตาทั้ ง 12 ราศี เป็ น ตำ � รา
โหรศาสตร์เ์ ก่าแก่ ทีม่ คี ณ
ุ ค่าสูงคัมภีรห์ นึง่ ในจำ�นวนคัมภีร์
โหราศาสตร์ประมาณ 150 คัมภีร์ด้วยกัน ตำ�ราจักรทีปนี
จะมี ม าช้ า นานเท่ า ใด ไม่ มี ใ ครทราบแน่ ชั ด คุ ณ เทพย์
สาริกบุตร อ้างว่าพระอุตมรามเถรเป็นผู้รจนา
-4-

พระอุตมรามเถร หรือที่บางตำ�ราเขียนว่า “พระ


อุตตมรามมหาเถร” เป็นโหราจารย์ 1 ใน 5 องค์ ที่ได้มา
สู่ธรรมวินัยของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ
1. พระอัญญาโกณฑัญญมหาเถร
2. พระวังคีสมหาเถร
3. พระอุตตมรามมหาเถร
4. พระอุทุมพรมหาเถร
5. พระอุตตมมังคลาจารย์
นับว่า ตำ�ราจักรทีปนี มีใช้กันอยู่เกือบทั่วโลก จะ
แตกต่างกันไป ก็เฉพาะในรูปของการพยากรณ์ อาจเป็น
เพราะต้นตำ�ราเดิมขาดหายไป ความบางตอนอ่านเข้าใจ
ยาก บางตอนมีความกระท่อนกระแท่น ต่อกันไม่ติด อาจ
เป็นด้วยคัดลอกผิดพลาดต่อๆ กันมา หรือโหรรุน่ หลังแต่ง
เติมเสริมต่อกันขึ้นบ้าง คำ�พยากรณ์จึงไม่สู้จะตรงกัน แต่
อย่างไรก็ดี ตำ�ราจักรทีปนีเป็นตำ�ราดั้งเดิมของโบราณ
ตำ�ราหนึ่ง อันเป็นแนวทางให้พวกเรารุ่นหลังได้ศึกษา
ค้นคว้ากันต่อๆ มา เพื่อความก้าวหน้ากว้างขวางต่อไป
-5-

ลิลติ ทักษาพยากรณ์ ซึง่ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิทกั ษ์


มนตรี ทรงนิพนธ์ ท่านก็ได้เลือกเอาวิธสี มพงศ์แห่งจุกทักษา
จากตำ�ราจักรทีปนีมาประพันธ์ไว้ ดังจะเห็นได้จากบทความ
ว่า “คาบนีไ้ ปชักมา ซึง่ คาถาสมพงศ์ นำ�มาสงเคราะห์ใหม่
ไถ่เอามาจากจักรทีปนีหักให้เห็นถนัด ชักอรรถคาถาให้
เห็นแสดงดังนีแ้ ล” อีกบทหนึง่ ว่า “กล่าวกลจุกทักษา และ
จักรทีปนีฉบับลัคน์จันทร์กับศรีกาละ สามัญเกษตร์แสดง
กล่าวแจ้งแจงจัดเสร็จ โดยเขบ็จขบวรพากย์ มีมามาก
หลากเหล่า หยิบยกกล่าวสืบสาร คัมภีร์ญาณทักษาวาท
เพทางคศาสตร์ สนองไว้ จงศุภสวัสดิ์สารไซร้ ชั่วฟ้าสืบ
ดินท่านแฮ”
การที่ ZORO ได้อุตสาหะรวบรวมตำ�ราจักรทีปนีนี้
ขึ้นเป็นเล่มอย่างสมบูรณ์ และจัดลำ�ดับหมวดหมู่ไว้เป็นที่
เรียบร้อย ดังที่ปรากฏแก่สายตาของท่านอยู่นี้ ย่อมเกิด
หิตประโยชน์แก่ทา่ นทีส่ นใจศึกษาค้นคว้าวิชาโหราศาสตร์
เป็นอย่างยิ่ง
หลวงสุทธิภาศนฤพนธ์
6 มี.ค. 08
สารบัญ

หน้า
คำ�นำ�ของหลวงสุทธิภาศนฤพนธ์ -3-
อดีตนายกสมาคมโหรแห่งประเทศไทย

คำ�ปรารภที่มาของหนังสือนี้ -13-

บทนำ� -28-
เรื่องของโหรา (เพศชาย) -28-
เรื่องของคุณเกียรติ -30-
ดวงดาวจะมาเกี่ยวข้องอะไรกับเรา -34-
พิธีการทดลองความแม่นยำ� -43-
การค้นคว้าศึกษาโหราศาสตร์
นอกเมืองไทย -54-
คุณประโยชน์ของโหราศาสตร์ -60-
-7-
หน้า
บทที่หนึ่ง สิ่งควรรู้ในเบื้องต้น 1
พยัญชนะโหราศาสตร์ 1
สระโหราศาสตร์ 2
วรรณยุกต์โหราศาสตร์ 5
ฤกษ์ 6
ตรียางค์ 9
นวางค์ 10
ความสัมพันธ์ 10
พระเคราะห์เป็นเจ้าของราศี 12
พระเคราะห์เป็นเจ้าของนวางค์ 13
เจ้าของตรียางค์ 19

บทที่สอง ลัคนาในราศีตรียางค์
นวางค์และฤกษ์ 2๑
ลัคนาในราศี 21
ลัคนาในราศีธาตุต่างๆ 32
-8-
หน้า
ลัคนาในนวางค์ 34
ลัคนาในตรียางค์ 36
ลัคนาในฤกษ์ใหญ่ 43
ลัคนาในนักขัตตฤกษ์ 45

บทที่สาม ลัคนากับดาวพระเคราะห์ 59
พฤกษชาติชะตา 59
หลักการพยากรณ์พระเคราะห์ทั้งแปด 60
พระเคราะห์ต่างๆ กุมลัคนา 61
พระเคราะห์ในภพต่างๆ 67

บทที่สี่ กฎเกณฑ์ความสัมพันธ์พระเคราะห์
กับลัคนา ๘๐
เกร็ดพระเคราะห์นำ�หน้า
และตามหลักทักษา ๘๐
พินธุบาทว์ 81
-9-
หน้า
โยค 82
ตรีโกณ (ตรีกูล) 85
จตุไทยเกณฑ์ 86
เกร็ด 88

บทที่ห้า พระเคราะห์และราศี 90
สมพระเคราะห์ในราศีธาตุต่างๆ 90
พระเคราะห์ทั้งแปดในราศีต่างๆ ๑๐๙

บทที่หก ความสัมพันธ์ระหว่างพระเคราะห์ 123


คู่มิตร 123
คู่ศัตรู 124
พระเคราะห์ร่วมราศีกัน 125
ฤทธิโยค 129
สวัสดิโยค ชาติโยค 129
เกณฑ์พิเศษ-สำ�คัญมาก 130
-10-
หน้า
บทที่เจ็ด พระเคราะห์สัมพันธ์กับภพและราศี 1๓๔
เกณฑ์ที่เกิดจากลัคนาในราศีต่างๆ 1๓๔
พระเคราะห์ในราศีและภพที่ให้คุณ 152
พระเคราะห์กุมลัคนาในราศีที่ให้คุณ 155

บทที่แปด โยคเกณฑ์พิเศษ 165


ธรณีโชค 165
โยคดี 168
ดวงอุดมคุณ-กำ�หนดองศา 175
โรคภัยไข้เจ็บ 179
(1) ไม่กำ�หนดราศีลัคนา 179
(2) กำ�หนดราศีพระเคราะห์ 181
อายุสั้นยาว 183
เรื่องเกี่ยวกับบิดามารดาเจ้าชะตา 189

บทที่เก้า เทคนิคการวินิจฉัยดวงชะตา 191


เจ้าเรือนลัคน์เจ้าเรือนจันทร์ 191
-11-
หน้า
พระเคราะห์ที่อุดหนุนเจ้าชะตา 191
พระเคราะห์เกาะฤกษ์ดี-ร้าย 192
ฤกษ์แบ่งเป็นฤกษ์เทวะ
อสุระและมนุษย์ 195
สมพระเคราะห์ในราศีธาตุต่างๆ 196
พระราหู 197
ราศีกับส่วนของร่างกาย 197
พยากรณ์พระเคราะห์ทั้งแปด 198
เทียบพระเคราะห์กับต้นไม้ 199

บทที่สิบ ขับดวงชะตากำ�เนิด
และฆาตโชคปัจจุบัน 201
สอบชะตาว่าเป็นชะตาชายหรือหญิง 201
สอบชะตาว่าเป็นชะตาคนหรือสัตว์ 201
การมีครรภ์และการมีบุตร 202
จตุภิศ 204
-12-
หน้า
มหาภิศ 205
ขับดวงชะตากำ�เนิด 208
อุดมโชค 210
ขับดวงชะตาว่าดีหรือชั่ว 212
กายคุณ-ดวงชะตาเทียบกับร่างกาย 214
จันทร์ประวัติ-ขับจันทร์เข้าจักร 215
เคราะห์รูป เคราะห์สม 216
กาลโยค 221
จัตุรงคโชค 222
ขับเคราะห์เข้าจักร 226
ภวชาติ 233
ฆาตและโชค จัตุรงค์นิบาทว์ 237
มรณโชค 238
ฆาตโชคจากอายุ 239
โชคราหูหกราหูพักร 246
•••
คำ�ปรารภที่มาของหนังสือนี้
ตำ�ราจักรทีปนีสำ�คัญแก่เราหรือเปล่า

เมื่อผู้เขียนเริ่มอ่านหนังสือโหราศาสตร์ ตำ�ราจักร-
ทีปนีเป็นเล่มแรกๆ เล่มหนึง่ ในบรรดาหนังสือทีอ่ า่ น แต่แล้ว
ก็หมดความสนใจ เพราะฉบับที่อ่านนั้นกระท่อนกระแท่น
ไม่ครบถ้วน รูส้ กึ ว่าคล้ายเป็นสมุดโน๊ตของโหรโบราณท่าน
จดข้อความรูค้ วามสังเกตลงไว้ จะว่าไม่รวบรวมความรูเ้ ป็น
หมวดตอนก็ไม่ใช่ เพราะแยกข้อความเป็นตอนเหมือนกัน
เช่น คำ�พยากรณ์พระเคราะห์ในราศี จะว่าเป็นบทตอนแบบ
ตำ�ราเรียนก็ไม่เชิง เพราะให้ฝอยตลุยเรื่อยไป อาทิเช่น
จากฝอยพยากรณ์ลคั นาในราศีและพระเคราะห์ในราศี ก็วา่
เรื่อยไปถึงเรื่อง เกษตร อุจ คู่มิตรคู่ศัตรู โยคเกณฑ์ โดยไม่
พิจารณาว่าข้อความสะดวกแก่การศึกษาหรือไม่ เนื้อเรื่อง
เดียวกันก็แยกกันคนละแห่งในตำ�รา เช่น เรื่องโยคเกณฑ์
ต่างๆ เรื่องการทำ�นายโรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น
-14-

ผู้ที่จะอาศัยตำ�ราจักรทีปนีเป็นเครื่องมือศึกษา จึง
ท้อใจ หันไปอ่านคู่มือเล่มอื่น เช่น โลกธาตุ ซึ่งเรารู้จักกันดี
ทั้งๆ ที่โลกธาตุก็ต้องอาศัยจักรทีปนีเป็นหลักอันหนึ่ง
การณ์เช่นนี้ก็ไม่เสียหายอันใด เพราะเมื่อนักศึกษา
เข้าใจโหราศาสตร์ขึ้นบ้างจากคู่มือช่วยเรียนต่างๆ แล้ว ก็
ย่อมหันมาอ่านตำ�ราจักรทีปนีใหม่ได้
เนือ่ งจากตำ�ราจักรทีปนี เป็นหนังสืออ่านยากและ ไม่
ชวนอ่าน จึงไม่มใี ครค่อยเป็นธุระจัดพิมพ์หรือชำ�ระสะสาง
ให้ถูกต้อง บางท่านเห็นว่าข้อความในตำ�ราก็ล้าสมัย พูด
กันสมัยคนมี ช้าง ม้า วัว ควาย เป็นสมบัติ พาหนะเดินทาง
อย่างเร็วก็คงเป็นม้า ความสัมพันธ์ของคนในสังคมก็อยูใ่ น
ระบบศักดินา และยังเป็นระบบศักดินาสมัยอินเดียโบราณ
ด้วยซ้ำ� ท่านเหล่านั้นจึงเห็นไปว่าปล่อยให้ตำ�ราเงียบหาย
ไปเลย ไม่ตอ้ งไปรือ้ ฟืน้ กันใหม่โดยไม่เห็นว่าจะเกิดประโยชน์
อะไรขึ้นมา
แต่คนที่เรียนหรือเล่นโหราศาสตร์เป็นคนที่เคารพ
ขนบประเพณีและประวัติศาสตร์ และสนใจในอดีตมาก

You might also like