You are on page 1of 62

การบริหารสมอง

ป้องกันสมองเสื่อม
สายฝน ทศภาทินรัตน์
นักกิจกรรมบำบัดชำนาญการ
โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่
ตัวอย่างการรับรู้และความรู้ความเข้าใจ

1. Memory ความจำ
2. Visuospatial การรับรู้ระยะและทิศทาง
3. Executive function การตัดสินใจในการทำ
กิจกรรมหรือบริหารงาน
4. Attention การมีสมาธิในการทำกิจกรรมที่ซับซ้อน
5. Language ภาษา
6. Orientation การรับรู้วัน เวลา สถานที่ บุคคล
7. Praxis การทำกิจกรรมที่มีขั้นตอน
วิธีการบำบัดรักษา 1. วิธีการฟื้นฟู (Remedial Approach)
ปัญหาด้านการรับรู้และ 2. วิธีการปรับหรือทดแทน (Adaptive Approach)
ความรู้ความเข้าใจ
วิธีการฟื้ นฟู วิธีการปรับหรือทดแทน
(Remedial Approach) (Adaptive Approach)

1.สมองที่พัฒนาเต็มที่แล้วสามารถ 1.สมองที่พัฒนาเต็มที่แล้วมีขีดจำกัดใน
ซ่อมแซมและจัดระเบียบได้ใหม่หลังได้รับ การซ่อมแซมและจัดระเบียบได้ใหม่หลัง
บาดเจ็บ ได้รับบาดเจ็บ

2.เน้นการใช้เทคนิคและการปรับ
2.ใช้กิจกรรมที่ทำบนโต๊ะในการฝึกทักษะ
สิ่งแวดล้อม

3.เชื่อว่าการทำงานกิจกรรมที่เพิ่มขึ้นจะ
3.การฝึกทำกิจวัตรประจำวันซ้ำๆจะช่วย
ทำให้ความสามารถในการทำกิจวัตร
เพิ่มความสามารถในการทำกิจวัตรนั้นๆ
ประจำวันเพิ่มขึ้นด้วย
มีวัตถุประสงค์ คือ
การกระตุ้น เพื่อให้การทำงานของสมองมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ความสามารถสมอง เมื่อมีความเสื่อมของสมองจะได้ยังคงความ
สามารถเท่าที่ทำได้
ปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่ทำให้
ประสิทธิภาพของสมองดี

การศึกษา
งานที่มีความซับซ้อน
กิจกรรมยามว่างที่มีประโยชน์ในด้านร่างกาย
ด้านสังคม ด้านการทำงานของสมอง
เราต้องกระตุ้น กระตุ้นสมองส่วนที่บกพร่องเพื่อชะลอความ
เสื่อมความจำบกพร่อง -> ฝึกจำ
สมองก่อนที่ ร่วมกับกระตุ้นความสามารถของสมองด้าน
สมองจะเสื่อม อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมการกระตุ้นสมอง

แบ่งเป็น 3 ส่วน
ส่วนที่1 การยืดเหยียด ขยับร่างกาย เพื่อเป็นการ
เตรียมความพร้อม กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
การยืด/เหยียดของกล้ามเนื้อและข้อต่อ
ส่วนที่2 การฝึกสมองเช่น ฝึกความจำ การคิด
การแก้ไขปัญหา
ส่วนที่3 การนำกิจกรรมไปประยุกต์อย่างต่อเนื่อง
การออกกำลังกายตามจังหวะดนตรี
ตาราง 9 ช่อง
ตัวอย่าง 1 2 3
กิจกรรมที่1 4 5 6

7 8 9

บอกลักษณะเด่นของตัวเอง
สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง สีส้ม สีเหลือง

สีส้ม สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีเหลือง

กิจกรรมสีอะไรเอ่ย สีเขียว สีส้ม สีเขียว สีน้ำเงิน สีแดง

สีน้ำเงิน สีแดง สีส้ม สีเขียว สีเหลือง

สีเหลือง สีน้ำเงิน สีน้ำเงิน สีแดง สีเขียว


กิจกรรมบอลร้อน
มาฝึกความจำ
กันเถอะ
ลองจำภาพผลไม้เหล่านี้ดูนะ
กติกาเกม
มีรูปภาพผักและผลไม้อยู่ 5 ชนิด
วิธีเล่น
ให้จำว่ามีผักและผลไม้ทุกชนิดว่ามีอะไรบ้าง
ในแต่ละรอบจะมีผักและผลไม้ในโจทย์หายไป
1 - 2 ชนิด
ให้ทายว่า อะไรหายไป?

เริ่มกันเลย
จำภาพผลไม้เหล่านี้

แอปเปิล
จำภาพผลไม้เหล่านี้

ฝรั่ง
จำภาพผลไม้เหล่านี้

กล้วย
จำภาพผลไม้เหล่านี้

ส้ม
จำภาพผลไม้เหล่านี้

มะม่วง
จำผลไม้
ทั้ง 5 ชนิดนี้
ผลไม้
ชนิดไหน
หายไป?
เฉลย

ฝรั่งหายไป
ผลไม้ชนิดไหนหายไปกันนะ?
เฉลย

แอปเปิลหายไป
ผลไม้ชนิดไหนหายไปกันนะ?
เฉลย

กล้วยและส้ม
หายไป
คุณพร้อมที่จะ
เล่นต่อหรือยัง
ลองจำภาพผักเหล่านี้ดูนะ
จำภาพผักเหล่านี้

แตงกวา
จำภาพผักเหล่านี้

แครอท
จำภาพผักเหล่านี้

มะเขือยาว
จำภาพผักเหล่านี้

มะกรูด
จำภาพผักเหล่านี้

ขิง
จำผัก
ทั้ง 5 ชนิดนี้
ผักชนิดไหน
หายไป?
เฉลย

มะกรูดหายไป
ผักชนิดไหนหายไปกันนะ?
เฉลย

แครอทหายไป
ผักชนิดไหนหายไปกันนะ?
เฉลย

ขิงและมะเขือยาว
หายไป
อีกรอบนะคะ
ลองจำภาพผลไม้เหล่านี้ดูนะ
จำภาพผลไม้เหล่านี้

องุ่น
จำภาพผลไม้เหล่านี้

มังคุด
จำภาพผลไม้เหล่านี้

มะเฟือง
จำภาพผลไม้เหล่านี้

ชมพู่
จำภาพผลไม้เหล่านี้

ลูกท้อ
จำผลไม้
ทั้ง 5 ชนิดนี้
ผลไม้
ชนิดไหน
หายไป?
เฉลย

ชมพู่ หายไป
ผลไม้ชนิดไหนหายไปกันนะ?
เฉลย

มังคุดหายไป
ผลไม้ชนิดไหนหายไปกันนะ?
เฉลย

องุ่นและลูกท้อ
หายไป
เกมจับผิดภาพ
6 4 1
เกม 24
2 2 6
สำเร็จ!
เราต้องกระตุ้นสมองก่อนที่สมองจะเสื่อม
ทบทวนความทรงจำ
นำรูปเก่าๆมานั่งดูแล้วย้อนความคิดถึงเหตุการณ์ในรูปนั้นๆ
กิจกรรมต่อเนื่อง ทบทวนกิจกรรมที่ทำในแต่ละวันตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน
ฝึกเขียนสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน เช่น การเขียนบันทึก
ประจำวัน

You might also like