You are on page 1of 29

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พ้น

ื ฐาน 3 (ว 30262)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ร่างกายของเรา เรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ
เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายจีรวัฒ หวังสิน
วันที่ 20 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
โรงเรียนปลาค้าววิทยานุสรณ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมี


ชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความ
สัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน รวมทัง้ นำความรู้
ไปใช้ประโยชน์

ตัวชีว
้ ัด

ว 1.2 ม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบ


อัตราการเต้นของหัวใจ ขณะปกติและหลังทำกิจกรรม
2. สาระสำคัญ

อัตราหัวใจเต้น (Heart rate) หมายถึงความเร็วของการบีบตัวของ


หัวใจในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ โดยทั่วไปนิยมใช้หน่วย "ครัง้ ต่อนาที" อัตรา
หัวใจเต้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ขน
ึ ้ กับสรีรวิทยาของร่างกาย เช่นความ
ต้องการออกซิเจนและการขับคาร์บอนไดออกไซด์ของร่างกาย สิง่ ที่มีผล
กับอัตราหัวใจเต้นได้แก่กิจกรรมของร่างกาย เช่น การออกกำลังกาย การ
นอนหลับ ความเจ็บป่ วย การย่อยอาหาร และยาบางชนิด

3.จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีว
้ ัด
 ด้านความรู้ : K
3.1 เปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจได้
 ด้านทักษะ : P
3.2 ออกแบบกิจกรรมการทดลอง และทดลองวัดอัตราการเต้นของ
หัวใจได้
 ด้านคุณธรรม จริยธรรม : A
3.3 ใฝ่ เรียนรู้และมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระการเรียนรู้
4.1 อัตราการเต้นของหัวใจ
5. สมรรถนะผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
6.2 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่ เรียนใฝ่ รู้

7. ภาระงาน/ชิน
้ งาน
7.1 ภาระงาน
1. ใบบันทึกกิจกรรมการทดลองเรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ
2. แบบฝึ กหัด เรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ

8. กิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง


 วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es
(5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) : 15 - สังเกต - กิจกรรม
นาที พฤติกรรม จิตศึกษา
การมีส่วน
1. เตรียมความพร้อมโดยกิจกรรมจิตศึกษา
Brain gym ประกอบเพลง เพื่อเตรียมสติและ ร่วม
ความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพลง “ตบมือ ตบไหล่”
มือ มือ มือ ตบตัก ตบมือ ตบมือ ตบไหล่
มือ มือ มือ ตบตัก ตบมือ ตบมือ ตบไหล่
แล้วสลับ แล้วสลับ กันไป
แล้วสลับ แล้วสลับ กันไป
ตบตัก ตบไหล่ ตบมือ ตบมือ
2. ครูสร้างสถานการณ์และตัง้ ถามกระตุ้นให้เกิด
การคิดวิเคราะห์ เกี่ยวกับการอัตราการเต้น
ของหัวใจ

 นักเรียนเคยไปโรงพยาบาลหรือไม่ คุณ
พยาบาลเขาตรวจอะไรบ้าง
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขึน
้ อยู่กับ
ดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น เคย ตรวจความ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

ดันเลือด และอัตราการเต้นของหัวใจ)
 นักเรียนคิดว่าสามารถตรวจอะไรเองได้บ้าง
(แนวตอบ : อัตราการเต้นของหัวใจ)
 แล้วมีการตรวจสอบได้อย่างไร
(แนวตอบ : สามารถตรวจชีพจรได้ด้วยตนเอง
โดยการจับตามบริเวณต่าง ๆ ที่มีเส้นเลือด
แดงอยู่ใกล้กับผิวหนัง เช่น ข้อมือและลำคอ
เมื่อจับชีพจรได้แล้ว ให้เริ่มนับอัตราการเต้น
ของชีพจรใน 1 นาที )
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายร่วมกันในชัน

เรียน
4. ครูติดหัวข้อการเรียนรู้ อัตราการเต้นของ
หัวใจ
ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore) : 40 - การมีส่วน กิจกรรม
นาที ร่วมใน การทดลอง
กิจกรรมการ เรื่อง
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม ตัวแทนมารับใบ
เรียนรู้ สารละลาย
บันทึกกิจกรรมใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ - การตอบ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

2. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเต้นของหัวใจ คำถาม
จากวิดีทัศน์
(https://www.youtube.com)
3. ครูนำเสนอกิจกรรมการทดลองเรื่อง อัตราการ
เต้นของหัวใจ และแนะนำรายละเอียดกิจกรร
รมพอสังเขป
4. นักเรียนศึกษาใบบันทึกกิจกรรมและการ
ทดลอง เรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำการทดลองและ
อภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
 ทำการทดลอง เพื่อให้นักเรียนร่วมกันตอบ
คำถามว่า
“ถ้าเราทำกิจกรรม หลังทำกิจกรรมจะมี
อัตราการเต้นของหัวใจเป็ นอย่างไร” โดย
ตัวอย่าง สารละลายมีดังนี ้
1. วัดอัตราการเต้นของหัวใจก่อนทำ
กิจกรรม
2. ออกแบบการทดลองในการเลือกทำ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

กิจกรรม
3. วัดอัตราการเต้นของหัวใจหลังทำ
กิจกรรม
4. บันทึกผลการทดลอง

ขัน
้ ที่ 3 อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) : - การมีส่วน
20 นาที ร่วมการตอบ
คำถาม
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง
และตรวจสอบ
ความถูกต้องของการบันทึกกิจกรรมโดย
อภิปรายร่วมกันในชัน
้ เรียน
2. นักเรียนและครู ร่วมกันสรุปผลและองค์ความ
รู้ของการทำกิจกรรมการทดลองเรื่อง วัด
อัตราการเต้นของหัวใจ
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับอัตราการเต้นของ
หัวใจ
(แนวตอบ :
ชีพจร ช่วยบอกอัตราการเต้นของหัวใจ
หากระดับชีพจรเต้นอ่อนหรือแรงเกินไป รวม
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

ถึงเต้นผิดปกติ อาจแสดงถึงความผิดปกติของ
ระบบหัวใจและการไหลเวียนของเลือดใน
ร่างกาย ซึ่งอาจเป็ นสัญญาณของการเจ็บป่ วย
ร้ายแรงได้ ดังนัน
้ การสังเกตระดับชีพจรอาจ
ช่วยให้ทราบถึงปั ญหาสุขภาพ และสามารถ
รักษาป้ องกัน
ได้ทันการณ์
โดยปกติ ผู้ใหญ่จะมีชีพจรเต้น 70-90
ครัง้ /นาที แต่ผู้ทีสุขภาพแข็งแรงหรือนักกีฬา
มักมีชีพจรต่ำ โดยอาจมีอัตราการเต้นของ
หัวใจขณะพักอยู่ที่เพียง 40-60 ครัง้ /นาที)

5. นักเรียนบันทึกองค์ความรู้ที่ได้ลงในสมุด
บันทึก

ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) : 15 - สมุดบันทึก
นาที

2. ครูมอบหมายนักเรียนไปวัดอัตราการเต้นของ
หัวใจของผู้ปกครองนักเรียนที่บ้าน ว่ามีความผิด
ปกติหรือไม่ บันทึกผลมาเสนอหน้าชัน
้ เรียนใน
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

คาบถัดไป

ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate): 20 นาที - ผลงาน - Quizizz

ก. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้
Quizizz
ข. นักเรียนส่งสมุดบันทึก ใบบันทึกกิจกรรม

9. การวัดและประเมินผล

เกณฑ์การ
สิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือ วิธีการวัด
ประเมินผล

ด้านความรู้ : K แบบทดสอบ แบบประเมิน 4 คะแนน


ผลการทดสอบ ขึน
้ ไปผ่าน
เปรียบเทียบ
อัตราการเต้นของ
หัวใจได้

ด้านทักษะ : P สมุด แบบประเมิน 4 คะแนน


ออกแบบ ใบบันทึก ผลงาน ขึน
้ ไปผ่าน
กิจกรรมการทดลอง กิจกรรม
และทดลองวัดอัตรา
การเต้นของหัวใจได้

ด้านคุณธรรม การสังเกต แบบประเมิน 4 คะแนน


จริยธรรม : A พฤติกรรม การสังเกต ขึน
้ ไปผ่าน
พฤติกรรม
ใฝ่ เรียนรู้และมุ่ง
มั่นในการทำงาน
ชื่อ........................................................................................................
..ชัน
้ ........................เลขที่..............

ใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ

1. กิจกรรม.....................................................................................

ลำดับการวัด อัตราการเต้นของหัวใจ
(ครัง้ /นาที)
ก่อนการทำ
กิจกรรม.........................................
......

หลังการทำ
กิจกรรม.........................................
......

2. กิจกรรม.....................................................................................
ลำดับการวัด อัตราการเต้นของหัวใจ
(ครัง้ /นาที)
ก่อนการทำ
กิจกรรม.........................................
......

หลังการทำ
กิจกรรม.........................................
......

แบบทดสอบ
เรื่อง อัตราการเต้นของหัวใจ
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
3. การจับชีพจรเป็ นการตรวจสอบการทำงานของระบบอวัยวะใด
ก. ระบบหมุนเวียนเลือด
ข. ระบบประสาท
ค. ระบบขับถ่าย
ง. ระบบย่อยอาหาร
4. ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง
ก. ชีพจร ช่วยบอกอัตราการเต้นของหัวใจ
ข. ชีพจรเกี่ยวกับการไหลเวียนของเลือดในร่างกาย
ค. การสังเกตระดับชีพจรไม่อาจช่วยให้ทราบถึงปั ญหาสุขภาพ
ง. การสังเกตระดับชีพจรสามารถรักษาป้ องกันได้ทันการณ์
5. การวัดอัตราการเต้นของหัวใจ วัดได้จากจุดใดบ้าง
ก. ท้อง
ข. ไหล่
ค. ลำคอ
ง. หลัง
6. อัตราการเต้นของหัวใจของคนปกติคือข้อใด
ก. 40 – 50 ครัง้ ต่อนาที
ข. 70 – 90 ครัง้ ต่อนาที
ค. 120 - 130 ครัง้ ต่อนาที
ง. 140 – 150 ครัง้ ต่อนาที
7. คนที่แข็งแรงจะมีอัตราการเต้นของหัวใจเท่าใด
ก. 40 – 50 ครัง้ ต่อนาที
ข. 70 – 90 ครัง้ ต่อนาที
ค. 120 - 130 ครัง้ ต่อนาที
ง. 140 – 150 ครัง้ ต่อนาที
8. การออกกำลังกายจะส่งผลอย่างไรกับอัตราการเต้นของหัวใจ
ก. มีอัตราการเต้นของหัวใจที่เพิ่มขึน

ข. มีอัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ค. มีอัตราการเต้นของหัวใจเท่าเดิม
ง. ไม่มีข้อถูก

10. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

11. ปั ญหาและอุปสรรค/แนวทางแก้ไขปั ญหา


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
12. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

…………………………………
………………
(นายจีรวัฒ หวังสิน)
ผู้สอน
/ /

ความคิดเห็นของครูพี่เลีย
้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ……………………
…………………….........
(………………………
……………………….)
ครูพี่เลีย
้ ง

ความคิดเห็นของครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ………………………
…………………..…
(………………………
……………………….)
ครูหัวหน้ากลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ…………………………......
........……….....

(……………….………………………………….)

ผู้อำนวยการโรงเรียน
ปลาค้าววิทยานุสรณ์
แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง อัตราการเต้น
ของหัวใจ
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน คะแนน ระดับ
ที่ รายชื่อ
รวม (6) คุณภาพ
คะแนน)
ปรนัย

(6

1 เด็กชายกรรชัย โพธาริ
นทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
1
0 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
1
1 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
1
2 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
1
3 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
1 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาค
4 พันธ์
1
5 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
1
6 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
1 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
7 คา
1
8 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
1 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
9
2 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
0 กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนน
ที่ รายชื่อ คุณภา
รวม (6)

คะแนน)
ปรนัย

2 (6

1 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
2
2 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
2
3 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
2
4 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
2
5 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
2
6 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
2
7 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
2
8 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
2
9 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

6–4 ผ่าน

ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินผลงาน
วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง อัตราการเต้น
ของหัวใจ
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน ระดับ
คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(6)

ใบบันทึก

สมุด

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ คำถามเล็กน้อย
ถ้วน
2.ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน
แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

You might also like