You are on page 1of 36

เครื่องยนต์สนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine)

Chapter 6 Fuel and Combustion


อ.ดร.วศกร ตรีเดช

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Give power
more than
requirement
Easy to Easy to
provide (not control and
expensive) safety
FUELS of
Not change Engine
Easy to mix
properties
with air in
and easy to
Not combustion
storage
corrosive to
engine
parts
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

- Gasoline
- Coal - Diesel and bio-diesel
- Agriculture residues - Jet oil
- Biomass - Heavy oil
- Alcohol
Solid Liquid

Gas
- Natural gas
- Manufactured gas
- Liquid Petroleum Gas
- Biogas
- Hydrogen gas
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Gas fuels
Natural gas
- is the composition of Hydrocarbon that consist of CH4 , CO2 , H2S, N2 etc.
- is formed by Paraffin (kerosene) that can contain in liquid (Pressure > 200 barg).
- can be applied in the engine by CNG or LNG.
Manufactured gas
reduction
- is made from Gasification process. C +oxidation
O → CO
2 2 C + CO → 2CO 2

LPG (Liquified Petroleum Gases)


- is made from crude oil distillation process.
- is consisted of 65% of C3N8 (propane) and 35% of C4N10 (butane).
- can be contained in liquid (Pressure > 1 barg), and can be directly used in engine.
Biogas
- is made from Anaerobic digestion process.
- is the same with Natural gas that consist of CH4 , CO2 , H2S.
Hydrogen gas
- is the perfect fuel (high HV and clean), but it is very dangerous and hard to storage.
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Solid fuels
There has limitation to apply the solid fuels into the engine because
- The feeder and controller of combustion have been limited, which induce long
response time of combustion.
- The combustion of solid fuel generates a ash product.

Hydrogen gas
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Liquid fuels
In present day, the liquid fuels are popular and widely used in the internal combustion
engine because
- There are easy to feed and to control of the combustion process in the
combustion chamber.
- There are easy to storage and to transport in the commercial scale.

Petroleum process Biomass Synthetic process

Diesel Bio-diesel Pyrolysis

Gasoline Alcohol Liquid fraction


สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Hydrocarbon structure and Categories


Paraffin
- The product’ s groups are gasoline, vax, lubricant oil produced from crude oil.
- It can be divided in 2 subgroups such as straight chain and branched chain

- Structure formula is alkane (CnH2n+2) - Structure formula is alkyl (CnH2n+1)


- It is a saturated compound with single - It is a saturated compound with single bond,
bond (high stability, not occur reaction). but has limb chain (many properties).
- It is low octane number (flammable fuel). - It is high octane number.
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Hydrocarbon structure and Categories


Olefin
- The product’ s groups are produced from distillation process of crude oil.
- It has straight chain similar with paraffin, but has a double bond (unsaturated compound).
- However, it can make to saturated by add hydrogen, which can be divided in 2 subgroups.
Mono-olefin Di-olefin

- The formula is alkene (CnH2n). - Structure formula is CnH2n-2 (diene).


- It has only one double bond. - It has two double bond (unstable and
- It is high octane number. unsaturated compound).
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Hydrocarbon structure and Categories


Naphthene or Cycloparaffin
- This oil is suitable to distillate as fuel oil because it has high octane number and high
stability.
- It is called “Cyclane composition” because it has a single bond and has structure of cycle
in which the formula is CnH2n .
- The prefix name is cyclo, but in the end of sentence is called the same of normal paraffin.
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Hydrocarbon structure and Categories


Aromatic
- This oil is subgroup of Naphthene (high volatile),and sometime is called benzene family.
- It has double bond, which is unsaturated compound and has formula of CnH2n-6 .
- The structure is cycle with 6 of Carbon that is similar with the ring.
- Sometime has a ring’s structure more than one, which has formula of CnH2n-12 .
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Hydrocarbon structure and Categories


Other fuels
Acetylene
- It has triple bond and has formula of CnH2n-2 .
- The end of sentence is “yne”.

Alcohol
- The Oxygen has been added into the compound.
- The structure of compound is straight chain, and the end of sentence is “yne”.
- High octane and low smoke.
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Petroleum refining (How to make fuel oil ?)


- Separation
- Conversion
- Treating
- Blending
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Separation (Distillation process)


สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Conversion
Cracking
- Thermal cracking (diesel to gasoline)
- Catalyst cracking (diesel or heavy oil to Olefin compound).
- Hydrogen additive (high pressure and temperature) >>> (diesel to gasoline)
Reforming
- This process was used to increase octane number of gasoline.
Isomerlization
- The straight chain was changed to branch chain by this process
- This process was used to increase octane number of gasoline.
Alkylation
- The paraffin and iso-paraffin were combined by this process
- This process was used to increase octane number of gasoline.
Polymerization
- This process was used to increase octane number of gasoline.
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Treating (example)
BEFORE AFTER
- Contaminate - Hydrogen additive
sulfur, sodium
H2 + S → H2S
- After that remove H2S
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Blending (emulsifier)
without emulsion

with emulsion
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Heating value
Low Heating • ค่าความร้อนที่ลบค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอของน้า
(ที่อยู่ในรูปความชืน้ ในเชือ้ เพลิง) ที่ได้จากการสันดาป
Value (LHV)

High Heating • เป็ นค่าความร้อนทัง้ หมดที่ได้จากการสันดาปเชือ้ เพลิง (หาได้


Value (HHV) จาก Bomb calorimeter)
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Properties of fuel oil for SI engine


- มีค่าออกเทนนัมเบอร์ที่เหมาะสม (เป็ นตัวเลขที่ ใช้ แสดงถึงความสามารถในการ
ต้านการน็อคในเครื่องยนต์ หรือที่เรียกว่าค่าต้านความไวไฟ)
- มีค่ า การระเหยที่ เ หมาะสม (หากค่ า การระเหยตัว สูง เกิ น ไปจะทาให้ เ กิ ด เป็ น
ฟองอากาศในท่อทางน้ามันหรือในถังน้ามัน)
- ให้ความร้อนตามที่ต้องการ
- จุด ไหลเท (Freezing Point) ของน้ ามัน เชื้อ เพลิง ควรมี ค่ าสูง ทาให้ เ ครื่ องยนต์
ทางานภายใต้อณ ุ หภูมิตา่ (ตา่ กว่า 0 องศาเซลเซียส)
- มีปริมาณกามะถันตา่
- ต้องไม่เกิดคราบยางเหนี ยว
เพื อ่ ให้ น้ ำมันเชื้ อเพลิง มี คุณ สมบัติ เป็ นไปตำมควำมต้ อ งกำร จึ ง มีก ำรเติ มสำรเพิ ม่
คุณ ภำพเพื อ่ ให้ น้ ำมันมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพในกำรใช้ ง ำน ได้ แ ก่ สำรต้ ำ นกำรรวมตัว กับ
ออกซิเจน , สำรชะล้ำงทำควำมสะอำด และสำรกันสนิมและกำรกัดกร่อน
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

เครือ่ งยนต์น๊อคหรือเครือ่ งเขก คือ ???


สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

ลักษณะอำกำรเครือ่ งยนต์น๊อคหรือเครือ่ งเขก


สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Knock sensor
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Properties of fuel oil for CI engine


- มีค่าซี เทนนัมเบอร์สูงซึ่ งแสดงว่า เชื้อเพลิงนัน้ จุด ตัวเองได้ ง่าย (ค่ อนข้างไวไฟ)
โดยไม่เ กิดการน็ อค เพราะน้ ามัน ที่ จุดติดตัวเองได้ ยากจะมี แนวโน้ ม ทาให้ เกิ ด
การน็อคของสูง
- มีค่าการติดไฟสูง แม้ขณะที่เครื่องยนต์มีอณ ุ หภูมิตา่
- ความสะอาดสูง
- การระเหยตัวของน้ามันดีเซลต้องมีความเหมาะสม เพราะการระเหยตัวมีผลต่ อ
จุดเดือด จุดวาบไฟ และจุดติดไฟของน้ามันดีเซล
- การกระจายและเป็ นฝอยละอองดี
- มีความปลอดภัย
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

The analysis of combustion of fuel


ก๊ าซเผาไหม้
เชือ้ เพลิง

อากาศ ความร้ อน
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

The analysis of combustion by mass


การวิเคราะห์โดยมวลจะอาศัยมวลของอะตอมหรือโมเลกุลของเชือ้ เพลิงเป็ นหลัก ซึ่งเมื่อการเผา
ไหม้แบบสมบูรณ์ มวลของธาตุหรือสารเชื้อเพลิงก่ อนและหลังการเกิดปฏิกิริยาจะต้ องมี
ค่าเท่ากัน
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-1 จงหาน้าหนักของอากาศที่ตอ้ งการสาหรับการเผาไหม้ท่สี มบูรณ์ของเชื้ อเพลิง ซึ่ง


มีส่วนประกอบของ C = 88.6% และ H = 11.4% โดยมวล และหาส่วนประกอบจากการเผาไหม้
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

The analysis of combustion by volume


(Avogadro’s law) กล่าวว่า ก๊าซทุกชนิดที่มปี ริมาตรเท่ากัน ณ อุณหภูมแิ ละความดันเดียวกันจะ
มีจานวนโมเลกุลเท่ากัน ดังนัน้ สัดส่วนของโมเลกุลคือสัดส่วนของปริมาตรด้วย
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-2
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

เปลีย่ นกำรวิเครำะห์โดยมวลเป็ นโดยปริมำตร


ในกรณีท่ขี อ้ มูลของสารเชือ้ เพลิงอยู่ในรูปสัดส่วนโดยมวลและถ้าต้องการทราบเป็ นสัดส่วน
โดยปริมาตร ก็สามารถกระทาได้โดยหาเปอร์เซ็นสัดส่วนโดยมวล (การวิเคราะห์โดยมวลหาร
ด้วยมวลโมเลกุล) จากนัน้ มาเทียบกับส่วนประกอบทัง้ หมดของเชือ้ เพลิง ก็จะได้เป็ นเปอร์เซ็น
ของสารเชือ้ เพลิงนัน้ โดยปริมาตร
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-3
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

เปลีย่ นกำรวิเครำะห์โดยปริมำตรเป็ นโดยมวล


ในกรณีท่ตี อ้ งการเปลี่ยนเปอร์เซ็นต์ของก๊าซหรือสารเชือ้ เพลิงจากปริมาตรเป็ นเปอร์เซ็นต์
โดยมวล สามารถโดยนาสัดส่ วนโดยปริมาตรมาคูณกับมวลโมเลกุลของก๊าซหรื อสาร
เชื้ อเพลิ งนั ้นซึ่ งจะได้ เ ป็ นอัต ราส่ วนโดยมวล จากนัน้ เทีย บเปอร์เ ซ็น ของก๊ าซหรือสาร
เชือ้ เพลิงโดยมวล
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-4
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

กำรวิเครำะห์ปริมำตรไอเสียเพือ่ หำน้ ำหนักอำกำศ


ไอเสียที่ออกมานัน้ ปกติจะบอกเป็ นเปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ดังนัน้ เราต้องแปลงเปอร์เซ็นต์
โดยปริม าตรให้เ ป็ นเปอร์เ ซ็น ต์โ ดยน้ า หนัก เสีย ก่ อน แล้ว น าเปอร์เ ซ็น ต์โ ดยน้ า หนัก ของ
คาร์บอนที่มี อยู่ในไอเสียมาวิเคราะห์หาน้าหนักของอากาศที่เข้าไปเผาไหม้อกี ที่หนึ่ง
อาจจะสงสัยว่าทาไมต้องใช้เปอร์เซ็นต์น้ าหนักของคาร์บอนมาใช้ เหตุผ ลก็คือ เพราะว่า
เชือ้ เพลิงส่วนมากจะประกอบด้วยคาร์บอนเป็ นส่วนใหญ่ แม้ว่าจะมีไฮโดรเจนอยู่บ้ าง แต่ใน
กรณีท่เี ป็ น dry flue gas เปอร์เซ็นต์ของไฮโดรเจนที่กลายเป็ นน้ า ก็มิได้นามาพิจารณาแต่
อย่างใด หรือตัดทิง้ ไป จึงไม่มเี ปอร์เซ็นต์ของไฮโดรเจนที่จะมาหาปริมาณของอากาศที่จะเข้า
ไปเผาไหม้ได้
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-5
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-6 (ข้อสอบเก่า)

น้ามันเชือ้ เพลิงเครื่องยนต์ดเี ซลประกอบด้วยเปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก ดัง นี้ คาร์บอน 80%


และ ไฮโดรเจน 20% ถ้าปริมาณอากาศที่ใช้มากกว่าที่ตอ้ งการเพื่อให้การเผาไหม้ สมบูรณ์
เกินอยู่ 40% จงคานวณหาส่วนประกอบของไอเสียเป็ นเปอร์เซนต์โดยปริมาตร ชนิ ด Dry
Flue Gas ถ้าอากาศมีออกซิเจนอยู่ 23.1% โดยน้าหนัก
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Example 6-7 (ข้อสอบเก่า)


Thank you!

Contact Address:
Department of Mechanical
engineering,
Faculty of Engineering,
Khon Kaen University

You might also like