You are on page 1of 22

แนวข้อสอบ วิชากฎหมาย

1. เด็กอายุเท่าใดแม้จะกระทำความผิดอาญา แต่ไม่ต้องรับโทษ
ก. ไม่เกิน 12 ปี
ข. อายุ 12 ปี แต่ไม่เกิน 15 ปี
ค. ไม่เกิน 15 ปี
ง. ไม่เกิน 18 ปี
ตอบ ก.
2. ข้อใดคือสภาพบังคับของกฎหมายอาญา
ก. ประหารชีวติ จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน
ข. ประหารชีวติ จำคุก กักขัง การบังคับให้ชำระหนี้ ริบทรัพย์สิน
ค. ประหารชีวติ จำคุก กักขัง ปรับ ริบมัดจำ
ง. ประหารชีวติ จำคุก กักขัง เรียกเบี้ยปรับ ริบทรัพย์สิน
ตอบ ก.
3. คุณครูยึดโทรศัพท์มือถือไอโฟน 15 ของนักเรียน เพราะโรงเรียนมีกฎห้ามนักเรียนนำโทรศัพท์ มาโรงเรียน แต่เมื่อถึง
เวลาเลิกเรียน คุณครูยังไม่ยอมคืนนักเรียน เพราะอยากเอาไว้ลองใช้ก่อน กรณีที่ไม่ยอมคืนโทรศัพท์นี้ คุณครูจะมีความผิด
ในฐานใดหรือไม่
ก. ผิดฐานหลักทรัพย์
ข. ผิดฐานยักยอกทรัพย์
ค. ผิดฐานละเมิด
ง. ไม่มีความผิด
ตอบ ข.
4. ความผิดฐานบุกรุกเป็นความผิดในลักษณะใด
ก. ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
ข. ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
ค. ความผิดเกี่ยวกับความสงปสุขของประชาชน
ง. ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน
ตอบ ก.
5. นายเอกหยิบเงินจากกระเป๋าแม่ไป 10,000 บาท โดยไม่ได้บอกแม่ แม่สามารถแจ้งความดำเนินคดีกับนายเอกได้หรือไม่
ก. ไม่สามารถแจ้งความได้ เพราะเป็นกรณีลูกกระทำต่อบุพการี
ข. ไม่สามารถแจ้งความได้ เพราะถือเป็นคดีอุทลุม
ค. สามารถแจ้งความในข้อหาลักทรัพย์ได้ แต่เป็นความผิดอันยอมความได้เพราะเป็นกรณีลูกกระทำต่อบุพการี
ง. สามารภแจ้งความในข้อหาลักทรัพย์ได้ แต่ไม่สามารถยอมความได้ เพราะความผิดฐานลักทรัพย์ยอมความไม่ได้
ตอบ ค.
6. กรณีบุตรลักทรัพย์บิดา กฎหมายให้ถือว่าเป็นความผิดอาญาประเภทใด
ก. ความผิดอาญาแผ่นดิน
ข. ความผิดอันยอมความได้
ค. ความผิดลหุโทษ
ง. ไม่มีความผิด
ตอบ ข.
7. นายบาส อายุ 16 ปี กระทำความผิดที่มีระวางโทษประหารชีวติ ให้เปลี่ยนระวางโทษเป็นโทษใด
ก. จำคุกตลอดชีวิต
ข. จำคุก 60 ปี
ค. จำคุก 50 ปี
ง. จำคุก 10 ปี
ตอบ ค.
8. โทษประหารชีวิตและโทษจำคุกตลอดชีวิต มิให้นำมาบังคับใช้แก่ผู้กระทำผิดที่มีอายุเท่าใด
ก. ต่ำกว่า 18 ปี
ข. ต่ำกว่า 19 ปี
ค. ต่ำกว่า 20 ปี
ง. ต่ำกว่า 25 ปี
ตอบ ก.
9. วิธกี ารประหารชีวิตตามที่กำหนดไว้ประมวลกฎหมายอาญา ให้ดำเนินการด้วยวิธีใด
ก. ยิงปืน
ข. แขวนคอ
ค. โบย
ง. ฉีดยาหรือสารพิษ
ตอบ ง.
10. อัตราการกักขังแทนค่าปรับ คือเท่าใด
ก. 100 บาท ต่อ 1 วัน
ข. 200 บาท ต่อ 1 วัน
ค. 300 บาท ต่อ 1 วัน
ง. 500 บาท ต่อ 1 วัน
ตอบ ง.
11. ข้อใดไม่ใช่วิธีการเพือ่ ความปลอดภัย
ก. กักกัน
ข. ห้ามเข้าเขตกำหนด
ค. เรียกประกันทัณฑ์บน
ง. กักขัง
ตอบ ง.
12. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ด.ช.เอ อายุ 9 ปี แทงคนตายโดยเจตนา ต้องรับโทษ 1 ใน 3 ของอัตราโทษ
ข. นายบี อายุ 16 ปี แทงคนตายโดยเจตนา ศาลอาจลดโทษลงกึ่งหนึ่ง
ค. ด.ช.ซี อายุ 14 ปี แทงคนตายโดยเจตนา ไม่ต้องรับโทษ แต่ศาลอาจสั่งให้ไปอยู่ในสถานอบรมได้
ง. ด.ช.ดี อายุ 19 ปี แทงคนตายโดยเจตนา ศาลอาจลดโทษลง 1 ใน 3
ตอบ ก.
13. ความผิดลหุโทษ คือ ความผิดที่มรี ะวางโทษเท่าใด
ก. ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ตอบ ข.
14. การลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า เป็นการกระทำความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. ชิงทรัพย์
ค. วิ่งราวทรัพย์
ง. รีดเอาทรัพย์
ตอบ ค.
15. นายดำขู่นางแดงว่าจะทำร้ายร่างกายลูกสาวของนางแดง หากนางแดงไม่ยอมมอบนาฬิกาข้อมือให้ การกระทำของ
นายดำเป็นความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. ชิงทรัพย์
ค. วิ่งราวทรัพย์
ง. รีดเอาทรัพย์
ตอบ ก.
16. นายโชคขู่วา่ หากนางสวยไม่นำสร้อยคอทองคำมาให้ นายโชคจะเปิดเผยความลับที่นางสวยเป็นชู้กับนายเก่งให้ทุกคน
ในหมู่บ้านรู้ การกระทำของนายโชคเป็นความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. ชิงทรัพย์
ค. วิ่งราวทรัพย์
ง. รีดเอาทรัพย์
ตอบ ง.
17. นายจักรถือมีดขู่ส่าจะแทงนางมี หากนางมีไม่ยอมถอดสร้อยคอทองคำให้ การกระทำของนายจักรเป็นความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. ชิงทรัพย์
ค. ปล้นทรัพย์
ง. รีดเอาทรัพย์
ตอบ ข.
18. การชิงทรัพย์โดยมีผรู้ ่วมกระทำผิดด้วยกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป เป็นการกระทำผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. ชิงทรัพย์
ค. ปล้นทรัพย์
ง. รีดเอาทรัพย์
ตอบ ค.
19. เด็กชายแดงเป็นบุตรนอกสมรสของนายดำและนางขาว ต่อมานางขาวได้สมรสใหม่กับนายเขียว โดยนางขาวนำ
เด็กชายแดงไปเลี้ยงดู ใครเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กชายแดง
ก. นางขาว
ข. นายดำและนางขาว
ค. นายเขียวและนางขาว
ง. นายดำ
ตอบ ก.
20. ข้อใดเป็นความผิดอาญาประเภทความผิดต่อส่วนตัว
ก. ทะเลาะวิวาท แชร์ลูกโซ่ วางเพลิง
ข. ปล้นทรัพย์ ยิงปืนในที่สาธารณะ ทำร้ายร่างกาย
ค. ฆ่าผู้อื่น วางเพลิง ยักยอกทรัพย์
ง. โกงเจ้าหนี้ หมิ่นประมาท ฉ้อโกง
ตอบ ง.
21. กรณีลูกหนี้ “มีเจตนาทุจริต” เพื่อไม่ให้เจ้าหนี้ได้รับเงินจากเช็คที่ลูกหนี้สั่งจ่าย เป็นความผิดอาญาหรือไม่
ก. ไม่เป็น เพราะเป็นคดีแพ่ง
ข. ไม่เป็น เพราะยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534 ไปแล้ว
ค. เป็น ความอาญาได้ เช่น ความผิดฐานฉ้อโกง
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค.
22. ความผิดอันยอมความได้ ผู้เสียหายต้องแจ้งความภายในระยะเวลาเท่าใด จึงจะไม่หมดอายุความ
ก. ภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันที่รู้เรื่องและรู้ตวั คนกระทำผิด
ข. ภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วันที่รู้เรื่องและรูต้ ัวคนกระทำผิด
ค. ภายใน 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่รู้เรื่องและรูต้ ัวคนกระทำผิด
ง. ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่รู้เรื่องและรู้ตวั คนกระทำผิด
ตอบ ค.
23. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนในการดำเนินคดีอาญาได้ถูกต้อง
ก. อัยการ ตำรวจ ศาล ราชทัณฑ์
ข. ตำรวจ ศาล อัยการ ราชทัณฑ์
ค. ศาล ตำรวจ อัยการ ราชทัณฑ์
ง. ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์
ตอบ ง.
24. ข้อใดถือว่าเป็นการกระทำโดยไม่เจตนา
ก. นายมั่นเอาปืนจ่อยิงที่ศีรษะนายมี
ข. นายบอสขับรถด้วยความเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด แล้วเสียหลักไปชนเด็กหญิงบีที่กำลังเดินอยู่รมิ ถนน
ค. นายเป้เอามีดกรีดแขนและขาของนางปุ้ย แต่นางปุ้ยก็ทนพิษบาดแผลไม่ไหวไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล
ง. นายสมหมายตั้งใจจะโยนขวดแก้วให้ไปลงถังขยะฝั่งตรงข้าม แต่ขวดไปโดนคนที่เดินผ่านมา
ตอบ ง.
25. ด.ช.สมชาย อายุ 10 ปี หยิบอาวุธปืนของบิดาไปโรงเรียน แล้วนำไปยิง ด.ช.สมพงษ์ ที่แกล้งตนเองทุกวัน ข้อใดถูกต้อง
ก. ด.ช.สมชายกระทำผิด ต้องรับโทษแต่ศาลอาจสั่งให้ไปอยู่ในสถานพินิจได้
ข. ด.ช.สมชายไม่กระทำผิด แต่ไม่ต้องรับโทษ เพราะกฎหมายยกเว้นให้
ค. ด.ช.สมชายกระทำผิด แต่ไม่ต้องรับโทษ
ง. ด.ช.สมชายไม่กระทำผิด แต่ต้องไปอยู่ในสถานพินิจได้
ตอบ ค.
26. ข้อใดไม่ใช่หมายอาญา
ก. หมายจับ
ข. หมายขัง
ค. หมายปล่อย
ง. หมายเรียก
ตอบ ง.
27. นายมีเห็นหลานสาวของตนกำลังจมน้ำ แต่ไม่เข้าช่วยเหลือทำให้หลานสาวจมน้ำตาย การกระทำของนายมีมีลักษณะ
ตรงตามข้อใด
ก. การกระทำโดยงดเว้น
ข. การกระทำโดยละเว้น
ค. การกระทำโดยรู้สำนึก
ง. การกระทำโดยไม่รู้สำนึก
ตอบ ก.
28. ข้อใด คือความผิดฐานซ่องโจร
ก. มีการสมคบตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป เพื่อกระทำความผิด โดยร่วมกันสมคบคิดหรือแสดงออกซึ่งการกระทำความผิด
ร่วมกัน
ข. คณะบุคคลซึ่งปกปิดวิธีดำเนินการและมีความมุ่งหมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย
ค. มีการมั่วสุมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ใช้กำลังประทุษร้าย ขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย หรือกระทำการอย่างหนึ่ง
อย่างใดให้เกิดการวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง
ง. ผู้กระทำการใดอันก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ระบบการขนส่งสาธารณะ มีความมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญ
หรือบังคับรัฐบาลไทย
ตอบ ก.
29. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ
ก. ความผิดลหุโทษ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. การพยายามกระทำความผิดลหุโทษ ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ
ค. ผู้สนับสนุนในความผิดลหุโทษ ไม่ต้องรับโทษ
ง. โดยทั่วไปการกระทำความผิดลหุโทษ หากกระทำโดยไม่มีเจตนา ถือว่าไม่เป็นความผิด
ตอบ ง.
30. สมชายทอดทิ้งเด็กคนหนึ่งไว้ เพราะไม่อยากเป็นภาระเลี้ยงดู ทำให้เด็กไม่มีผู้ดูแล การกระทำของสมชายจะมีความผิด
ฐานทอดทิ้งเด็กหากเด็กนั้นอายุไม่เกินกี่ปี
ก. ไม่เกิน 5 ปี
ข. ไม่เกิน 9 ปี
ค. ไม่เกิน 10 ปี
ง. ไม่เกิน 12 ปี
ตอบ ข.
31. ข้อใดไม่ใช่บทบัญญัติในความผิดฐานพรากผู้เยาว์
ก. พรากผู้เยาว์อายุกว่า 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยาว์นั้นไม่เต็ม
ไปไปด้วย
ข. พรากเด็กอายุยังไม่เกิน 15 ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยปราศจากเหตุอันควร
ค. พรากผู้เยาว์อายุกว่า 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล เพื่อหากำไร หรือเพื่อ
การอนาจาร โดยผู้เยาว์นั้นเต็มใจไปด้วย
ง. พรากผู้เยาว์อายุกว่า 10 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล เพื่อหากำไร หรือเพื่อ
การอนาจาร โดยผู้เยาว์นั้นเต็มใจไปด้วย
ตอบ ง.
32. ข้อใดหมายถึงเวลากลางคืนตามประมวลกฎหมายอาญา
ก. เวลา 18.00 น. - เวลา 06.00 น. ของวันรุ่งขึ้น
ข. เวลาระหว่างพระอาทิตย์ตก และพระอาทิตย์ขึ้น
ค. เวลาระหว่างพระจันทร์ขนึ้ และพระอาทิตย์ขึ้น
ง. เวลาตามประกาศพระอาทิตย์ตกของกรมอุตุนิยมวิทยา
ตอบ ข.
33. “สื่อลามกอนาจารเด็ก เป็นวัตถุหรือสิ่งที่แสดงให้รู้หรือเห็นถึงการกระทำทางเพศของเด็กหรือกับเด็กซึ่งมีอายุไม่เกิน
......”
ก. 10 ปี
ข. 15 ปี
ค. 18 ปี
ง. 20 ปี
ตอบ ค.
34. กระทำชำเรา หมายความถึง กระทำเพื่อสนองความใคร่ของผู้กระทำ โดยการใช้อวันยวะเพศของผู้กระทำล่วงล้ำต่อ
อวัยวะใดของผู้อื่น
ก. อวัยวะเพศ
ข. อวัยวะเพศ หรือ ทวารหนัก
ค. อวัยวะเพศ หรือ ช่องปาก
ง. อวัยวะเพศ หรือ ทวารหนัก หรือ ช่องปาก
ตอบ ง.
35. ประมวลกฎหมายอาญาภาคความผิด กำหนดความผิดกี่ลักษณะ
ก. 13 ลักษณะ
ข. 14 ลักษณะ
ค. 15 ลักษณะ
ง. 16 ลักษณะ
ตอบ ก.
36. ข้อใดคืออายุความสำหรับความผิดโทษประหารชีวิต
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 15 ปี
ง. 20 ปี
ตอบ ง.
37. เฮียชูรับจำนำนาฬิกาโรเล็กซ์จากนายสัน ซึ่งนายสันขโมยมาจากนายยุทธ โดยที่เฮียชูรู้มาตลอดว่าทรัพย์สินที่นายสัน
เอามาจำนำที่ร้านทุกชิ้นนั้นเป็นของที่นายสันไปขโมยมาจากคนที่มาดูกีฬาในสนามกีฬา เฮียชูมีความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. ฉ้อโกง
ค. รับของโจร
ง. ยักยอก
ตอบ ค.
38. ผู้ใดลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า ผู้นั้นกระทำความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. วิ่งราวทรัพย์
ค. รีดเอาทรัพย์
ง. ชิงทรัพย์
ตอบ ข.
39. ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้ทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย
เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญหรือของบุคคลที่สามจนผู้ถูกข่มขืนใจยอม ผู้นั้นกระทำความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. วิ่งราวทรัพย์
ค. รีดเอาทรัพย์
ง. ชิงทรัพย์
ตอบ ก.
40. ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่น ให้ยอมให้ทรัพย์สิน โดยขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับซึ่งการเปิดเผยนั้นจะทำให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคล
ที่สามเสียหาย จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น ผู้นั้นกระทำความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. วิ่งราวทรัพย์
ค. รีดเอาทรัพย์
ง. ชิงทรัพย์
ตอบ ค.
41. ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป ผู้นั้นกระทำ
ความผิดฐานใด
ก. กรรโชกทรัพย์
ข. วิ่งราวทรัพย์
ค. รีดเอาทรัพย์
ง. ชิงทรัพย์
ตอบ ง.
42. ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้นั้นกระทำความผิดฐานใด
ก. อั้งยี่
ข. ปล้นทรัพย์
ค. ซ่องโจร
ง. กรรโชกทรัพย์
ตอบ ข.
43. การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรตาม พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 ไม่รวมการจัดเก็บข้อมูลของ
บุคคลในข้อใด
ก. ประวัติอาชญากรรม
ข. วุฒิการศึกษา
ค. ชื่อบุตร
ง. สถานะการสมรส
ตอบ ก.
44. เมื่อมีคนเกิดในบ้าน เจ้าบ้านหรือบอดาหรือมารดา ต้องแจ้งต่อนายทะเบียนในท้องที่ภายในกี่วนั นับแต่วันเกิด
ก. 3 วัน
ข. 7 วัน
ค. 15 วัน
ง. 20 วัน
ตอบ ค.
45. กรณีเด็กในสภาพแรกเกิดถูกทอดทิ้ง และได้มีการดำเนินการรับตัวเด็กตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว ใครเป็นผู้แจ้งการ
เกิดของเด็กรายนี้ต่อนายทะเบียน
ก. พนักงานฝ่ายปกครอง
ข. ตำรวจ
ค. เจ้าหน้าที่ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ง. ผู้ที่พบเด็กคนแรก
ตอบ ค.
46. กรณีคนตายในบ้าน ให้เจ้าบ้านหรือผู้พบศพแจ้งต่อนายทะเบียนภายในระยะเวลาเท่าใดนับแต่เวลาตายหรือพบศพ
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 2 วัน
ค. 3 วัน
ง. 5 วัน
ตอบ ก.
47. กรณีการเสียชีวิตในพื้นที่ห่างไกลการคมนาคมไม่สะดวก สามารถขยายเวลาการแจ้งการตายออกไปได้แต่ต้องไม่เกินกี่
วันนับแต่เวลาตายหรือพบศพ
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 10 วัน
ตอบ ค.
48. เมื่อมีการแจ้งการตาย นายทะเบียนจะออกเอกสารใดเป็นหลักฐานให้ผู้แจ้ง
ก. หนังสือรับรองการตาย
ข. มรณบัตร
ค. สูติบัตร
ง. สูจิบัตร
ตอบ ข.
49. กรณีใดทีต่ ้องมีการเห็นชอบจากเจ้าพนักงานที่เกี่ยวข้องก่อนจึงจะออกมรณบัตรได้
ก. สงสัยว่าคนตายด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือตายโดยผิดธรรมชาติ
ข. ญาติยังไม่พร้อมในการรับศพไปประกอบพิธีทางศาสนา
ค. ฌาปนสถานแจ้งว่าไม่มีสถานที่เผาศพตามวันเวลาที่ร้องขอ
ง. กรณีที่จะประสงค์จะเก็บศพไว้เป็นการถาวร
ตอบ ก.
50. ผู้มีสัญชาติไทยอายุตงั้ แต่เท่าใด จึงจะขอมีบัตรประชาชนได้
ก. 5 ปี
ข. 7 ปี
ค. 12 ปี
ง. 15 ปี
ตอบ ข.
51. ผู้ที่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน ต้องมีอายุเท่าใด
ก. แรกเกิด - เสียชีวติ
ข. 5 ปี – 60 ปี
ค. 7 ปี – 70 ปี
ง. 15 ปี – 70 ปี
ตอบ ค.
52. เมื่อต้องขอมีบัตรประชาชนครั้งแรก จะต้องยื่นคำขอมีบัตรภายในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ง.
53. บัตรประชาชนมีอายุบัตรกี่ปี
ก. 5 ปี
ข. 6 ปี
ค. 7 ปี
ง. 8 ปี
ตอบ ง.
54. กรณีบัตรประจำตัวประชาชนหมดอายุ ต้องยื่นคำขอทำบัตรใหม่ ภายในกี่วันนับแต่วันที่บัตรเดิมหมดอายุ
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
ตอบ ง.
55. น.ส.อัญชลี อายุ 18 ปี ไม่ยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวประชาชน ต้องระวางโทษปรับเท่าใด
ก. ไม่เกิน 100 บาท
ข. ไม่เกิน 200 บาท
ค. ไม่เกิน 300 บาท
ง. ไม่เกิน 500 บาท
ตอบ ก.
56. บุคคลใดได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน
ก. สามเณร
ข. ผู้พิการตาบอดทั้งสองข้าง
ค. นักโทษในเรือนจำ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
57. มอร์ฟีน จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทใด
ก. ประเภท 1
ข. ประเภท 2
ค. ประเภท 3
ง. ประเภท 4
ตอบ ค.
58. ยาเสพติดให้โทษชนิดรุนแรงประเภทที่ 1 คือข้อใด
ก. กัญชา กระท่อม
ข. เห็ดขี้ควาย ฝิ่น
ค. ฝิ่นยา ยาอี
ง. ยาบ้า ยาอี
ตอบ ง.
59. เฮโรอีน จัดเป็นสารเสพติดที่สอดคล้องกับข้อใด
ก. เป็นสารเสพติดประเภทที่ 1
ข. เป็นสารเสพติดประเภทที่ 2
ค. เป็นสารเสพติดประเภทที่ 3
ง. เป็นสารเสพติดประเภทที่ 4
ตอบ ก.
60. ข้อใดไม่ใช่สารเสพติดประเภทที่ 5
ก. ฝิ่น
ข. กระท่อม
ค. ฝิ่นยา
ง. กัญชา
ตอบ ค.
61. ข้อใดคือสถานะของกัญชาในปัจจุบัน
ก. ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5
ข. วัตถุออกฤทธิ์
ค. สารระเหย
ง. พืชควบคุม
ตอบ ง.
62. ผู้ที่มีอายุเท่าใดสามารถครอบครอง ใช้ประโยชน์ดูแล เก็บรักษา ขนย้าย และจำหน่ายกัญชาได้
ก. ตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป
ข. ตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป
ค. ตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป
ง. ไม่มีกำหนดเนื่องจากเปิดกัญชาเสรี
ตอบ ค.
63. คนโดยสารอายุเท่าใดต้องจัดให้นั่งในที่นั่งนิรภัยสำหรับเด็ก
ก. อายุ 7 ปี ขึ้นไป
ข. อายุ 8 ปี ขึ้นไป
ค. อายุไม่เกิน 6 ปี
ง. อายุไม่เกิน 5 ปี
ตอบ ค.
64. หากมีทางม้าลายอยูบ่ ริเวณหน้าโรงเรียนแล้ว ห้ามมิให้นักเรียนข้ามทางนอกทางม้าลายภายในระยะเท่าใด
ก. ระยะไม่เกิน 50 เมตร นับจากทางข้าม
ข. ระยะไม่เกิน 100 เมตร นับจากทางข้าม
ค. ระยะไม่เกิน 150 เมตร นับจากทางข้าม
ง. ระยะไม่เกิน 200 เมตร นับจากทางข้าม
ตอบ ข.
65. บุคคลในข้อใดที่กฎหมายยกเว้นให้ไม่ต้องสวมหมวกนิรภัย
ก. เด็กอายุตำ่ กว่า 6 ปี
ข. สตรีมีครรภ์
ค. ผู้มีอายุเกินกว่า 60 ปี
ง. สามเณร
ตอบ ง.
66. ผู้โดยสารที่นั่งบริเวณใด สามารถนั่งได้โดยไม่ต้องรัดเข็มขัดนิรภัย
ก. ผูโ้ ดยสารที่นั่งรถตู้แถวหลังคนขับเป็นต้นไป
ข. ผู้โดยสารนั่งตอนหลังของรถกระบะแบบ 4 ประตู
ค. ผู้โดยสารนั่งบริเวณแคปหรือท้ายกระบะ
ง. ผู้โดยสารที่นั่งในรถยนต์ตอนหน้า
ตอบ ค.
67. อัตราโทษตามกฎหมายจราจรในฐานความผิดใด มีอตั ราโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ก. ไม่สวมหมวกนิรภัย
ข. ขับรถเร็วเกินความเร็วทีก่ ำหนด
ค. ฝ่าฝืนสัญญาณไฟแดง
ง. ไม่หยุดให้คนข้ามทางม้าลาย
ตอบ ก.
68. ผู้ขับขี่ซึ่งมีอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ จะถือว่าเป็นผู้เมาสุราขณะขับรถ หากตรวจพบปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกินกี่
มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ก. 5 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ข. 10 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ค. 15 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ง. 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ตอบ ง.
69. การทดสอบว่าผู้ขับขี่เมาสุราหรือไม่ ให้ตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือด โดยใช้วธิ ีการใดตามลำดับ
ก. ลมหายใจ เลือด ปัสสาวะ
ข. ปัสสาวะ ลมหายใจ เลือด
ค. ลมหายใจ ปัสสาวะ เลือด
ง. ปัสสาวะ เลือด ลมหายใจ
ตอบ ค.
70. รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน ที่มีอายุการใช้งานเกินกี่ปี ต้องผ่านการตรวจสภาพรถก่อน จึงจะยื่นช ำระภาษีรถ
ประจำปีได้
ก. 3 ปี
ข. 5 ปี
ค. 7 ปี
ง. 10 ปี
ตอบ ค.
71. พ.ร.บ.คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 27 พฤษภาคม 2562
ข. 28 พฤษภาคม 2565
ค. 1 มิถุนายน 2562
ง. 1 มิถุนายน 2565
ตอบ ง.
72. บุคคลใด คือ ผู้มีอำนาจหน้าที่ตดั สินใจในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ก. ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ข. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ค. พนักงานเจ้าหน้าที่
ง. คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ตอบ ข.
73. ข้อมูลใดไม่ใช่ข้อมูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ.คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
ก. เลขบัตรประจำตัวประชาชน
ข. หมายเลขโทรศัพท์
ค. ข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม
ง. อีเมล
ตอบ ค.
74. ข้อมูลส่วนบุคคลประเภทใดที่ห้ามมิให้เก็บรวบรวม หากไม่ได้รับความยินยอมโดยชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
นั้น หรือเพื่อประโยชน์ตามที่กฎหมายกำหนด
ก. ข้อมูลด้านความคิดเห็นทางการเมือง
ข. ข้อมูลเบอร์โทรศัพท์
ค. ข้อมูลบุคคลในครอบครัว
ง. ข้อมูลด้านการศึกษา
ตอบ ก.
75. ข้อใดเป็นความจำเป็นในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข
ก. การรักษาทางการแพทย์
ข. การป้องกันด้านสุขภาพจากโรคระบาด
ค. การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์
ง. สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
ตอบ ข.
76. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลชีวภาพ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
ก. ข้อมูลภาพจำลองใบหน้า
ข. ข้อมูลจำลองม่านตา
ค. ข้อมูลจำลองลายนิ้วมือ
ง. ข้อมูลจำลองสถานที่เกิดเหตุ
ตอบ ง.
77. ส.ต.อ.สมหมาย ได้รับมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลของนางสมใจซึ่งเป็นผู้ต้องสงสัยในคดีฉ้อโกง ต่อมา ส.ต.อ.สมหมาย
ต้องการเผยแพร่รูปถ่ายบัตรประชาชนของนางสมใจซึ่งเป็นรูปในอดีตที่นางสมใจยังไม่ทำศัลยกรรม เนื่องจากแค้นที่นาง
สมใจฉ้อโกงเงินญาติของตนเอง เช่นนี้ ส.ต.อ.สมหมายต้องระวางโทษเท่าใด
ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ข. จำคุกไม่เกิน 2 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 300,000 บาท
ค. จำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 400,000 บาท
ง. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 500,000 บาท
ตอบ ง.
78. ข้อใดเป็นความรับผิดที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
ก. ความรับผิดทางแพ่ง
ข. ความรับผิดทางอาญา
ค. ความรับผิดทางปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
79. ข้อใดคือคำเต็มของกฎหมาย PDPA
ก. Personal Data Protection Act
ข. Principle Data Privacy Act
ค. Privacy Data Protection Act
ง. Protection Data Privacy Act
ตอบ ก.
80. ผู้ใดเป็นผู้รักษาการและมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
ก. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ง. ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตอบ ค.
81. ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์การตีความกฎหมายอาญา
ก. ใช้หลักการตีความเช่นเดียวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ข. ใช้หลักการตีความโดยเคร่งครัด เพราะการลงโทษทางอาญากระทบสิทธิประชาชน
ค. ตีความให้เป็นการลงโทษผู้กระทำให้หนักขึ้น เพราะเป็นคดีร้ายแรง
ง. กรณีเป็นที่สงสัยให้ตีความตามนัยที่เป็นผลร้ายแก่จำเลย เพราเป็นผูก้ ระทำผิด
ตอบ ข.
82. กรณีไม่มีบทกฎหมายบัญญัติไว้ในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ให้พิจารณาวิ นิจฉัยคดีโดยเทียบเคียงจากสิ่งใดก่อนเป็น
อันดับแรก
ก. หลักกฎหมายทั่วไป
ข. บทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
ค. จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ง. ไม่ต้องเทียบเคียง เนื่องจากไม่มีกฎหมายถือว่าไม่มีความผิด
ตอบ ค.
83. กฎหมายในข้อใดเป็นกฎหมายในประเภทกฎหมายมหาชน
ก. กฎหมายอาญา
ข. กฎหมายปกครอง
ค. กฎหมายแพ่ง
ง. กฎหมายพาณิชย์
ตอบ ข.
84. ข้อใดไม่ใช่กฎหมายมหาชน
ก. กฎหมายการคลังและภาษีอากร
ข. กฎหมายปกครอง
ค. กฎหมายแพ่ง
ง. รัฐธรรมนูญ
ตอบ ค.
85. กฎหมายที่บัญญัติถึงเนื้อหาของสิทธิ หน้าที่ หรือข้อห้าม คือ กฎหมายประเภทใด
ก. กฎหมายวิธีสบัญญัติ
ข. กฎหมายสบัญญัติ
ค. กฎหมายสารบัญญัติ
ง. กฎหมายวิธีสารบัญญัติ
ตอบ ค.
86. ข้อใดคือลักษณะของกฎหมายที่มีสภาพบังคับทางอาญา
ก. กฎหมายที่มีบทบัญญัติบังคับให้บุคคลกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ข. กฎหมายที่มีบทบัญญัติให้รัฐสามารถบังคับให้งดเว้นการกระทำใดๆ
ค. กฎหมายที่มีบทบัญญัติให้สามารถบังคับให้ชำระหนี้
ง. กฎหมายที่มีบทบัญญัติกำหนดโทษทางอาญาแก่ผู้ฝ่าฝืน
ตอบ ง.
87. กฎหมายใดมีที่มาแตกต่างจากข้ออื่น
ก. พระราชกฤษฎีกา
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชบัญญัติ
ง. กฎกระทรวง
ตอบ ค.
88. ข้อใดไม่ใช่การอุดช่องว่างของกฎหมาย
ก. ใช้หลักกฎหมายทั่วไป
ข. ใช้หลักกฎหมายเดิม
ค. ใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ง. ใช้บทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
ตอบ ข.
89. ประเภทของกฎหมายในข้อใดเกิดจากการแบ่งประเภทตามลักษณะความสัมพันธ์ของคู่กรณี
ก. กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน และกฎหมายระหว่างประเทศ
ข. กฎหมายสารบัญญัติ และกฎหมายจารีตประเพณี
ค. กฎหมายลายลักษณ์อักษร และกฎหมายจารีตประเพณี
ง. กฎหมายอาญา และกฎหมายแพ่ง
ตอบ ก.
90. กฎหมายในข้อใดอยูใ่ นลำดับศักดิ์ของกฎหมายชั้นเดียวกัน
ก. พระราชกฤษฎีกา และ พระราชบัญญัติ
ข. พระราชบัญญัติ และ ประมวลกฎหมาย
ค. พระราชกำหนด และ พระราชกฤษฎีกา
ง. ประมวลกฎหมาย และ พระราชกฤษฎีกา
ตอบ ข.
91. กฎหมายใดต่อไปนี้ทอี่ อกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ
ก. พระราชกฤษฎีกา
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชบัญญัติ
ง. กฎกระทรวง
ตอบ ค.
92. พระราชบัญญัติเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจใด
ก. อำนาจบริหาร
ข. อำนาจตุลาการ
ค. อำนาจนิติบัญญัติ
ง. อำนาจศาล
ตอบ ค.
93. ประเภทกฎหมายใดแบ่งตามความสัมพันธ์ของคู่กรณี
ก. กฎหมายเอกชน และ กฎหมายมหาชน
ข. กฎหมายแพ่ง และ กฎหมายอาญา
ค. กฎหมายสารบัญญัติ และ กฎหมายวิธสี บัญญัติ
ง. กฎหมายลายลักษณ์อักษร และ กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ตอบ ก.
94. กฎหมายใดที่ต้องตีความโดยเคร่งครัด
ก. กฎหมายอาญา
ข. กฎหมายมหาชน
ค. กฎหมายแพ่ง
ง. รัฐธรรมนูญ
ตอบ ก.
95. ข้อใดไม่ใช่กฎหมายที่บัญญัติโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ก. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ข. กฎกระทรวง
ค. เทศบัญญัติ
ง. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
ตอบ ข.
96. ข้อใดจับคู่ประเภทของกฎหมายกับผู้พิจารณาร่างกฎหมายได้ถูกต้อง
ก. พระราชบัญญัติ - คณะรัฐมนตรี
ข. กฎกระทรวง - รัฐสภา
ค. เทศบัญญัติ - สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
ง. พระราชกฤษฎีกา - คณะรัฐมนตรี
ตอบ ง.
97. ข้อใดไม่ใช่สภาพบังคับของกฎหมายแพ่ง
ก. การบังคับให้ชำระหนี้
ข. การริบมัดจำ
ค. การปรับ
ง. การเรียกเบี้ยปรับ
ตอบ ค.
98. โดยปกติกฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง เว้นแต่กรณีใด
ก. กฎหมายใหม่นั้นเป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิด
ข. กฎหมายใหม่ออกย้อนหลังลงโทษบุคคลกระทำผิดร้ายแรง
ค. กฎหมายใหม่ออกย้อนหลังเพื่อเพิ่มโทษบุคคลที่กระทำผิดให้สูงขึ้น
ง. กฎหมายใหม่ออกย้อนหลังเพื่อเพิ่มโทษบุคคลที่กระทำผิดให้คดีรา้ ยแรง
ตอบ ก.
99. ข้อใดไม่ใช่วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ก. ห้ามเข้าเขตกำหนด
ข. ห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง
ค. คุมไว้ในสถานพยาบาล
ง. กักขัง
ตอบ ค.
100. ข้อใดถือเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
ก. พระราชบัญญัติสัญชาติ
ข. กฎหมายว่าด้วยการส่งผูร้ ้ายข้ามแดน
ค. สนธิสัญญาสากลไปรษณีย์
ง. กฎบัตรสหประชาชาติ
ตอบ ข.

You might also like