You are on page 1of 33

Kingdom Monera

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
ลักษณะสาคัญของสิง่ มีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา
1. โครงสร้างเซลล์แบบ โพรคาริโอต (prokaryotic cell)
โดยมีลักษณะ.........................................................................
2. ไรโบโซม มีขนาด ...............................
3. มีเอนไซม์ RNA polymerase 1 ชนิด
4. กรดอะมิโนจากการสังเคราะห์ RNA
ตัวแรก คือ ............................................
อาณาจักรมอเนอรา
ลักษณะสาคัญของสิง่ มีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา
5. ประกอบด้วยเซลล์เดียว หรือ หลาย
เซลล์แต่ไม่ทาหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ
เรียกว่า ..............................................
6. โครโมโซมเป็นวง (Circular DNA)
เนื่องจาก ...........................................
อาณาจักรมอเนอรา
7. ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นสาร ............................................... เกิดจากการ
รวมตัวของคาร์โบไฮเดรต................................................... และโปรตีน............
......................................................
อาณาจักรมอเนอรา
8. Pili หน้าที่ .............................
...................................................

9. Capsule หน้าที่ ....................


...................................................
อาณาจักรมอเนอรา
โครงสร้างแบคทีเรีย
อาณาจักรมอเนอรา
การแบ่งชนิดของแบคทีเรีย
1. รูปทรงของเซลล์แบคทีเรีย
2. การติดสีย้อมแกรม (Gram stain)
3. การใช้ออกซิเจนของแบคทีเรีย
อาณาจักรมอเนอรา
แบคทีเรีย (Bacteria) มีรูปทรง 3 ลักษณะ คือ
1. คอกคัส (Coccus) ..........................................
2. บาซิลัส (Bacillus) .........................................
3. สไปริลลัม (Spirillum) ...................................
อาณาจักรมอเนอรา
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา ได้แก่ แบคทีเรีย (Bacteria)
หากอยู่รวมกันหลายเซลล์ อาจมีชื่อเพื่อระบุลักษณะรูปร่าง เช่น
- Strepto- : เซลล์เรียงต่อเป็นสาย
Staphylo- : เซลล์เป็นกลุ่มรูปร่างไม่แน่นอน-

……………………………… ………………………………..
คุณสมบัติการย้อมสี (Gram stain)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
แกรมบวก และ แกรมลบ
คุณสมบัติการย้อมสี (Gram stain)
สรุปขั้นตอนในการย้อนสีแบคทีเรีย
คุณสมบัติการใช้ออกซิเจน
Obligate Aerobic
……………………………………………
Obligate Anaerobic
…………………………………………….

Facultative anaerobic
……………………………………….
อาณาจักรมอเนอรา

อาณาจักรมอเนอรา
(Kingdom Monera)

กลุ่มอาร์เคียแบคทีเรีย กลุ่มยูแบคทีเรีย
(Archaebacteria) (Eubacteria)
Eubacteria
ยูแบคทีเรีย
โพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
คลาไมเดีย (Chlamydias)
สไปโรคีท (Spirochetes)
แบคทีเรียแกรมบวก
(Gram-Positive Bacteria)
ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
Eubacteria
Proteobacteria
- ย้อมติดสี.....................................
- รูปร่าง.........................................
- ดารงชีวิตแบบ.........................................
- เป็นกลุ่มที่มคี วามหลากหลายมากที่สุดในอาณาจักรนี้
Eubacteria
Rhizobium sp.
Eubacteria
พวกตรึงไนโตรเจนในอากาศ มาสร้างเป็นสารประกอบไนเตรดใน
ดิน เช่น Rhizobium sp. ในปมรากพืชวงศ์ถั่ว

ปมรากถั่ว
Eubacteria
Escherichia coli
Eubacteria
Chlamydias
- ย้อมติดสี.....................................
- รูปร่าง.........................................
- ดารงชีวิตแบบ.........................................
- ไม่สามารถสร้าง ATP ได้เอง
- ผนังเซลล์ .................................... มีน้อยมาก/ไม่มีเลย
Eubacteria
Chlamydias
Chlamydia trachomatis โรคหนองในเทียม
Neisseria gonorrhoeae โรคหนองในแท้
Eubacteria
Spirochetes C

- ย้อมติดสี.....................................
แตง

เก ย
- รูปร่าง.........................................
- ดารงชีวิตแบบ.........................................
Leptospira sp.
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
ลี
Eubacteria
Spirochetes
โรคซิฟิลิส Treponema pallidum
Eubacteria
Cyanobacteria
- ย้อมติดสี.....................................
- ดารงชีวิตแบบ.........................................
- มีสารสีชนิด..................................................................
แต่ยังไม่พบ..........................................
Eubacteria
Cyanobacteria

Oscillatoria Anabaena
Spirulina
Eubacteria
5. กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)

แอนนาบีนา
เป็นไซยาโนแบคทีเรีย
ที่สามารถตรึง
heterocyst ไนโตรเจนในอากาศได้
Eubacteria
Gram-Positive Bacteria
- ย้อมติดสี.....................................
- ดารงชีวิตแบบ.........................................
- ผนังเซลล์ .................................... หนา ยกเว้น ................
...............................................
Clostridium botulinum
……………………………………......

Clostridium tetani
……………………………………......
Eubacteria
Bacillus sp
- ย้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria)
- รูปร่างแท่ง (rod shape)
- มีทั้งแบบต้องการและไม่ต้องการอากาศ (facultative
anaerobic bacteria)
- อาศัยในสภาพที่เป็นกรด (lactic acid)
Eubacteria
Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทา
ให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี บางชนิดเป็น
สาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์ ( Bacillus anthracis )
Eubacteria
Lactobacillus sp. เป็นพวกผลิตกรด จึงนามาใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหาร เช่น ผลิตเนย, ผักดอง, โยเกิร์ต
Eubacteria
ไมโคพลาสมา (mycoplasma) เป็นพวกที่ไม่มีผนังเซลล์ มี
เพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมันที่เป็น sterol
(steroid และ alcohol) บางพวกทาให้เกิดโรคปอดบวมใน
คนและวัว (Mycoplasma pneumoniae)
Archaebacteria
มีลักษณะร่วมบางอย่างระหว่างโพรแคริโอตและยูแคริโรต
- ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
- Circular chromosome
- กรดอะมิโนตัวแรก คือ Methionine
- RNA polymerase มีหลายชนิด
- Extremophile
- ไม่มี Peptidoglycan
Archaebacteria

อาร์เคียแบคทีเรีย

1. กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา 2. กลุ่มครีนาร์เคียโอตา
(Euryarchaeota) (Crenarchaeota)

สร้างมีเทน (Methanogen) ชอบอุณหภูมิสูง


และชอบความเค็มจัด และกรดจัด
ทดสอบ!!
อาหารประเภทใดบ้างที่มีกระบวนการหมักโดยแบคทีเรีย

You might also like