You are on page 1of 17

1

แผนการดาเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในวันที่ 9 – 11 พฤษภาคม 66 ในวันที่ 27 – 30 มิถุนายน 66
เวลา 08.30 – 17.00 น. เวลา 08.30 – 17.00 น.
ณ โรงแรมพลูแมน แกรนด์ สุขุมวิท

สัมมนาครั้งที่ 2 สัมมนาครั้งที่ 3
ถ่ายทอดความรู้ ถ่ายทอดความรู้
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 3
มีนาคม 65 มิถุนายน 66 กรกฎาคม 66

พฤษภาคม 66 มิถุนายน 66
ถ่ายทอดความรู้
สัมมนาครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 สัมมนากลุ่มย่อยครั้งที่ 1-5 สัมมนาครั้งที่ 4

ในวันที่ 1 - 3 มีนาคม 65 ในวันที่ 6-9 และ 12 มิถุนายน 66 ในวันที่ 24 – 26 กรกฎาคม 66


เวลา 08.30 – 17.00 น. เวลา 08.30 – 17.00 น. เวลา 08.30 – 17.00 น.
ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ วันที่ 6 มิถุนายน 66 ณ โรงแรมคูณ จ.สมุทรปราการ
วันที่ 7 มิถุนายน 66 ณ โรงแรมธาราแกรนด์ จ.ปทุมธานี
วันที่ 8 มิถุนายน 66 ณ โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จ.นนทบุรี
วันที่ 9 มิถุนายน 66 ณ โรงแรมเวลนครปฐม จ.นครปฐม
วันที่ 12 มิถุนายน 66 ณ โรงแรมเซ็นทรัลเพลส จ.สมุทรสาคร
2
กาหนดการและวัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ความเข้าใจ และ


ความก้าวหน้าของการศึกษาโครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ

เพื่อรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ รวมถึงประเมินทัศนคติที่มีต่อ


โครงการจากกลุ่มเป้าหมาย

3
กลุ่มเป้าหมาย เชิญประชุม

24 กรกฎาคม 2566
• หน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม
• หน่วยงานระดับจังหวัด
• สื่อมวลชน

25 กรกฎาคม 2566
กลุ่มเป้าหมาย
• หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
เชิญประชุม
• องค์การเอกชน/สถาบันการศึกษา

26 กรกฎาคม 2566
• ภาคเอกชน

M-MAP2 | EC.01 : Inception Report 4


กลุ่มเป้าหมาย เชิญประชุม

โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแบบจาลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางและการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (พื้นที่ต่อเนือ่ ง) ระยะที่ 2 (โครงการ M-MAP 2)
ตารางสรุปจานวนกลุม่ เป้าหมายเชิญเข้าร่วมประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 4
จานวนเชิญ
ลาดับ รายการ

1 หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทารายงาน 3
2 หน่วยงานที่ทาหน้าที่พิจารณารายงาน 1
3 หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง 79
4 องค์การเอกชน สถาบันการศึกษา และนักวิชาการอิสระ 37
5 สื่อมวลชน 38
6 ผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป 117
รวมทั้งหมด 275

M-MAP2 | EC.01 : Inception Report 5


งานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประชาสัมพันธ์
การประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
โครงการเพื่อพัฒนาแบบจาลองการคาดการณ์ความต้องการเดินทางด้วยระบบรางและการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน
ทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (พื้นที่ต่อเนื่อง) ระยะที่ 2

จัดเมื่อวันอังคารที่ 27 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 08.30 – 17.00 น.


พร้อมประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยโปรแกรม Zoom Cloud Meeting

จานวนผู้เข้าร่วมประชุม
395 คน

6
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
1 • เสนอแนะให้ที่ปรึกษาวิเคราะห์ข้อมูลรถไฟฟ้าสายสีฟ้า จากถนนสาธรไปยังถนนมิตรไมตรี และ • เห็นด้วยกับแนวคิดข้อเสนอที่ปรึกษาจะรับไปพิจารณาประกอบการศึกษาต่อไป โดยเส้นทางที่กล่าว
การเชื่อมต่อไปยังหมอชิตถึงห้าแยกลาดพร้าว โดยการวิเคราะห์มูลค่าทางเศรษฐกิจ มีความ ปัจจุบันมีในแผนอยู่แล้วคือรถไฟฟ้าสายสีฟ้า และรถไฟฟ้าสายบางบาหรุ - หลักสี่
คุ้มค่าในการลงทุนหรือไม่ และทางกายภาพสามารถก่อสร้างได้หรือไม่ เนื่องจากบริเวณที่
เกี่ยวข้องจะมีกระทรวงแรงงาน แหล่งงาน ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร 2 และสานักงานของ
บริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) เป็นต้น
2 • เสนอให้มี การเชื่อมต่อระบบขนส่ งสายใต้เข้ากับระบบรางด้วยเพราะไม่มีระบบรางเข้ามา • มีแนวเส้นทางรถไฟฟ้า ที่จะมีการเชื่อมต่อขยายจากเส้นบางแค ไปถนนพุทธมณฑลสาย 4 ซึ่งการเชื่อมต่อ
เชื่ อ มต่ อ ระบบขนส่ ง สาธารณะเหมื อ นกั บ ขนส่ ง สาธารณะสายเหนื อ สายอี ส านและสาย ไปยังการเดินทางลงไปทางสายใต้ และสถานีที่ใกล้ที่สุดปัจจุบันอยู่บริเวณสถานีตลิ่งชันของรถไฟฟ้าสายสี
ตะวันออก แดง และสถานีบางยี่ขัน รถไฟฟ้าสายสีน้าเงิน ที่เปิดให้บริการในปัจจุบัน โดยจะต้องมีการศึกษาส่วนต่อ
ขยายเพื่อให้เกิดความสะดวกมากขึ้นในการเดินทางเชื่อมต่อรถไฟฟ้าลงไปสายใต้ต่อไป
3 • เสนอแนะการศึกษาเน้นเรื่องการขยายแนวเส้นทางรถไฟฟ้าออกไป จะเกิดความซ้าซ้อนกับ • เส้นทางรถไฟฟ้านอกเมืองที่ซ้าซ้อนกับถนน อาจไม่จาเป็นต้องวิ่งไปตามแนวถนน เข้าไปเชื่อมชุมชน
เส้นทางถนน ถ้าออกไปชานเมืองอาจไม่จาเป็นต้องทาในแนวถนนก็ได้ เพราะราคาที่ดินไม่แพง โดยตรง โดยการวิเคราะห์ของโครงการพิจารณาทั้งการตั้งถิ่นฐานของประชากร โดยพยายามไปตามแนว
อาจไปเปิดพื้นที่ใหม่ น่าจะมีความคุ้มค่ากว่าหรือไม่ เส้นทางรถไฟฟ้าให้ตรงที่สุด โดยต้องพิจารณาเรื่องการเวนคืนและเรื่องทางกายภาพด้วย และการสร้าง
• เสนอแนะเรื่องการเดินทางเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบรางจากสถานีถึงปลายทางใช้ระยะเวลานาน ทา ความสามารถในการแข่งขันกับการเดินทางด้วยระบบรถยนต์ ในด้านเวลา ค่าโดยสาร และการเชื่อมต่อ
ให้เวลาการเดินทางไม่แตกต่างจากการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งเราจะทาอย่างไรให้เวลาการ การเดินทางเข้าสู่สถานี รวมทั้งการใช้ระบบแพลตฟอร์ม ประสานกับบริษัทเอกชนช่วยสนับสนุนการ
เดินทางรวดเร็วกว่ารถยนต์ เดินทางที่สะดวกเพิ่มมากขึ้น และระบบถนนในเมืองอาจมีค่าเข้าเมืองในอนาคต เป็นต้น
• เสนอแนะเรื่องการเดินทางของผู้โดยสารเข้าสู่สถานีบริเวณชานเมือง ส่วนใหญ่จากที่สารวจ • ที่ปรึกษารับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะนามาประกอบผลการศึกษาต่อไป
พบว่ามาจากที่ไกลๆ ด้วยรถยนต์ ดังนั้น ควรพัฒนา จุดจอดแล้วจร อาคารจอดรถ และสถานี
ควรห่างกันไม่ต้องมีความถี่มาก

7
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
4 • การขนส่งผู้โดยสารจากชานเมืองเข้ามาในเมืองอย่างไร ปัจจุบันรถไฟฟ้าสายสีแดงเป็นเส้นทางที่ขน • การเน้นให้ความสาคัญรถไฟฟ้าชานเมือง เป็นเส้นทางหลักวิ่งตามแนวรัศมีวิ่งรับผู้โดยสารจากชานเมืองเข้ามา
ผู้โดยสารจากนอกเมืองเข้ามาแต่ต้องดูเรื่องค่าโดยสารให้เหมาะสม เพื่อลดจานวนรถยนต์จากชาน ทางานในเมือง ช่วยลดการจราจรได้จานวนมาก แต่ยังมีปัญหาเรื่องการเข้าถึงตัวสถานียังทาได้ลาบาก เช่นการ
เมืองเข้ามาสู่ใจกลางเมืองได้มาก เดินเชื่อมต่อไปยังสถานี หรือระบบขนส่งสาธารณะเชื่อมต่อการเดินทางจากสถานีไปยังจุดต่าง ๆ ซึ่งต้องสร้าง
ความร่วมมือกับหน่วยงานท้องถิ่น และการใส่จุดสาคัญในการดึงดูดการเดินทางเพิ่มเติมเข้าไปในการวิเคราะห์
โมเดล ซึ่งต้องพิจารณาในรายละเอียดของจุดสาคัญที่ดึงดูดการเดินทางว่าดึงดูดช่วงใด เพื่อให้เกิดความถูกต้อง
ในการศึกษาต่อไป
• เสนอแนะการเชื่อมต่อเข้าสู่สถานีของรถไฟฟ้าสายสีแดง และการเชื่อมต่อโครงข่ายไปยังส่วนต่าง ๆ • ที่ปรึกษารับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะนามาประกอบผลการศึกษาต่อไป
ของเมือง
• เสนอแนะให้ศึกษาจุดเชื่อมต่อที่สาคัญของแต่ละพื้นที่ เช่น พื้นที่หน่วยงานราชการ สวนสัตว์เปิดใหม่ • ที่ปรึกษารับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะนามาประกอบผลการศึกษาต่อไป
พิพิธภัณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ เพราะจะมีผลต่อการเดินทางของผู้โดยสาร
5 • เสนอแนะให้ใส่ระบบการขนส่งมวลชนระบบรองลงไปในการศึกษาด้วยนอกจากระบบรางอย่างเดียว • ระบบขนส่งมวลชนระบบรอง ในการนาเสนอจะรวมเข้าไปด้วยในการนาเสนอ ซึ่งเราได้พิจารณาร่วมในการ
โดยเฉพาะในจังหวัดปทุมธานี ทาให้เห็นภาพรวมการเดินทางมากขึ้น วางแผนแม่บทฯ ด้วย และถ้าการศึกษาพบว่าบางเส้นทางของแผนแม่บทฯรถไฟฟ้ามีจานวนผู้โดยสารไม่เพียงพอ
อาจมีการพิจารณาเป็นระบบขนส่งมวลชนระบบรองได้หรือไม่
6 • รถไฟฟ้าบริเวณสถานีสายหยุด มีถนนเทพรักษ์ตัดใหม่ ปัจจุบันยังไม่มีรถสาธารณะให้บริการเชื่อมต่อ • ระบบขนส่งมวลชนระบบรองเป็นสิ่งที่สาคัญ มีอีกหลายเส้นทางที่ควรมีการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนระบบรอง
กับสถานีรถไฟฟ้าสายหยุด เพื่อเชื่อมต่อกับชุมชนและถนนสุขาภิบาล 5 บริเวณ 5 แยกวัชรพล เชื่อมโยง เช่น ระบบขนส่งมวลชนระบบรองบริเวณถนนเลียบด่วนรามอินทราเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีชมพู
ปัจจุบันถนนเทพรักษ์จะเชื่อมต่อกับถนนวิภาวดีรังสิตบริเวณด้านใต้สนามบินดอนเมือง ซึ่งทาง เป็นต้น และควรมีการสนับสนุนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะที่นาไปลดหย่อนภาษีรายได้บคุ คล
สนามบินจะมีระบบเชื่อมต่อระหว่างชานชาลาของสนามบินด้วยระบบขนส่งสาธารณะ ภายใน ควรมี ธรรมดาได้จะทาให้ส่งเสริมการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะเพิ่มมากขึ้น
การทาระบบขนส่งมวลชนระบบรองเชื่อมต่อจากสนามบินมายังสถานีรถไฟฟ้า เพื่ออานวยความ
สะดวกให้กับผู้ทางานในสนามบินและประชาชนตลอดแนวเส้นทาง และลดการเดินทางเข้าสู่ถนน
วิภาวดีด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล หรือลดปริมาณรถยนต์บริเวณแยกหลักสี่ได้อีกด้วย
• เสนอข้อมูลการใช้งานแอพพลิเคชั่นต่อยอดลดภาษีจากการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ เช่น • ที่ปรึกษารับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะนามาประกอบผลการศึกษาต่อไป
BKK Rail , NAMTANG , ViaBus , MANA เป็นต้น
8
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
7 • รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน เส้นทางสิ้นสุดที่จังหวัดนครปฐม เสนอให้มีการต่อขยายไปถึงสถานี • การพิจารณาอีกด้านที่สาคัญในเรื่องรูปแบบการลงทุน ถ้ามีแนวเส้นทางใดที่ภาคเอกชน หรือหน่วยงาน
รถไฟชุมทางหนองปลาดุก เพราะเป็นชุมทางรถไฟหลายสายเส้นทาง ทั้งเส้นทางที่มาจาก ท้องถิ่นมีความสนใจร่วมกันในการพัฒนาก็มีแนวโน้มในการพัฒนาได้ก่อน
กาญจนบุรี สายเส้นทางจากเมืองสุพรรณบุรี และแนวเส้นทางสายใต้ และสถานีรถไฟหนอง
ปลาดุกมีพื้นที่ขนาดใหญ่ในการพัฒนาระบบรถไฟได้
8 • เสนอแนวเส้นทางรถไฟฟ้าสายบางนา-สุวรรณภูมิ ควรต่อตรงเข้าเมือง ในเส้นทางสุวรรณภูมิ - • มีการเสนอในแผนระยะยาวในการต่อขยายจากเส้นรถไฟฟ้าสายสีชมพู มายังสนามบินสุวรรณภูมิ
บางนา-สรรพาวุธ และเชื่อมต่อไปยังสถานีช่องนนทรีของบีทีเอส เพราะปัจจุบันรถไฟที่เชื่อม
สนามบินไปสุดที่เส้นถนนบางนา และต้องเปลี่ยนเส้นทางเข้าเมืองปัจจุบันมีความหนาแน่น ไม่
สะดวกกับผู้โดยสารสนามบินขณะที่สนามบินสุวรรณภูมิทางทิศเหนือเป็นแหล่งงานขนาดใหญ่
ควรต่อขยายแนวเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีชมพูเข้าไปเชื่อมแอร์พอร์ต ลิ้งก์ลาดกระบัง วิ่งไปทาง
บัสเทอร์มินอล และสิ้นสุดที่หัวตะเข้
9 • อยากให้แก้ไขกฎหมายด้านการเวนคืนที่ดินของ รฟม. ให้สามารถสามารถทาการค้าได้จะเกิด • สาระสาคัญของ พ.ร.บ. ว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 ได้กาหนดให้ใน
ประโยชน์ในการพัฒนา เช่น ชุมชนสามยอดมีชุมชนหนาแน่นควรจะมีการส่งเสริมการค้าได้ การออกพระราชกฤษฎีกาเวนคืนสามารถกาหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ให้ครบถ้วนสอดคล้อง
และสร้างรายได้ให้กับระบบราง กับกิจกรรมที่ใช้จริงภายใต้กรอบหน้าที่และอานาจของ รฟม.
• บัตรแรบบิทสามารถผูกกับแรทบิทไลน์เพย์ได้ สามารถตัดจากบัตรเครดิตได้ และมีการสะสม • ถ้าสามารถดาเนินการเชิงพาณิชย์ได้ก็จะอานวยความสะดวกให้กับคนที่เข้ามาจอดรถยนต์ มีร้านสิ่ง
แต้มเพื่อแลกการเดินทาง มีคูปองส่วนลดอีกด้วย อานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า
10 • เสนอให้ทุกสถานีของรถไฟฟ้าที่อยู่บริเวณใกล้ 4 แยก มีทางขึ้นลงครบทุกฝั่งของแยก โดยที่ • ที่ปรึกษารับไปนาเสนอในรายงานเพื่อประกอบการออกแบบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของแต่ละสถานีที่ต้อง
ผ่านมาสถานีมักมีทางขึ้นลงสถานี 2 ฝั่งเท่านั้น เช่น สถานีสุขุมวิท สถานีลุมพินี สถานีสีลม คานึงถึงทางเดินเชื่อมต่อของสถานีที่ได้รับความสะดวกสบายต่อไป
สถานีสามย่าน และสถานีหัวลาโพง เป็นต้น
11 • กรมการขนส่งทางราง ได้มีการประสานกับกรมการขนส่งทางบก หรือไม่ เพราะในแต่ละ • คณะทางานจะมีผู้แทนจากกระทรวงคมนาคมและผู้แทนหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ
เส้นทางมีรถสาธารณะอยู่แล้ว เพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซ้อนในการลงทุน ผู้แทนของกรมการขนส่งทางบก เข้าร่วมด้วยในการปรึกษาหารือร่วมกัน
9
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
12 • เสนอให้มีโครงการรถไฟฟ้าจากแยกบางนาไปถึงจังหวัดชลบุรี ตามแนวถนนบางนาตราด • ในแผนแม่บท ครอบคลุมจังหวัดปริมณฑล และครอบคลุมไปยังจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัด
หรือไม่ เพราะเส้นทางนี้มีนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่ง มีแรงงานไปกลับ กทม.จานวนมาก ฉะเชิงเทรา ส่วนรถไฟฟ้าที่ไปยังจังหวัดชลบุรี มีโครงการรถไฟฟ้าเชื่อม 3 สนามบิน ด้วยระบบรถไฟฟ้า
ความเร็ ว สู ง ซึ่ ง สถานี จ อดค่ อ นข้ า งจะห่ า งกั น และรถไฟฟ้ า จะใช้ ค วามเร็ ว สู ง ในการให้ บ ริ ก าร
มีการออกแบบระบบขนส่งมวลชนรองเพื่อเชื่อมต่อในอนาคต
13 • เพราะเหตุใดทาไมต้องมีรถด่วน • เนื่องจากมีผู้โดยสารจานวนมากใช้ในเวลาเดียวกันพร้อมกัน ทาให้เกิดความหนาแน่นของผู้โดยสารและ
จานวนตู้โดยสาร จึงมีจาเป็นต้องมีการจัดรถด่วน และต้องมีการสร้างพื้นที่รองรับขบวนรถจอดรถเพิ่มเติม
เพื่อให้เกิดการสับหลีกขบวนรถไฟได้ในบริเวณย่านสถานีโดยเฉพาะ ในสถานีที่มีจุดเชื่อมกับแนวเส้นทาง
รถไฟฟ้าสายอื่นๆ
14 • เสนอให้ควรมีเส้นทางรถไฟฟ้าอยู่บนถนนเพชรบุรี -พัฒนาการ เนื่องจากรถไฟที่มีอยู่เดิมเข้าถึง • มีรถไฟฟ้าใกล้เคียงกับแนวถนนเพชรบุรี ประกอบด้วยรถไฟฟ้าสายสีเขียว และรถไฟฟ้าสายสีแดง โดยมี
ลาบาก ข้อเสนอให้มีการพัฒนารถไฟฟ้าบนถนนเพชรบุร-ี พัฒนาการ
• เสนอแนวเส้นทางรถไฟฟ้าขยายจากแยกบางนา ไปทางถนนสรรพาวุธซึ่งเป็นจุดรวมหน่วยงาน • แนวเส้นทาง ต่อขยายจากแยกบางนา-สรรพาวุธ ซึ่งมีความน่าสนใจในการต่อขยาย
ราชการ มีโรงพยาบาล
• เสนอแนะสายรถไฟฟ้ า ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารตามแนวเส้ น รั ช โยธิ น ผ่ า นรั ช วิ ภ า วิ่ ง ไปตามแนวถนน • แนวเส้นทางต่อขยายรัชดา-บางอ้อ-ท่าน้านนท์ โดยเชื่อมต่อไปยังหมอชิต 2 และไปสิ้นสุดที่สถานีกรุงเทพ
กาแพงเพชร 2 อ้อมหลังหมอชิต 2 และสิ้นสุดที่สถานีกรุงเทพอภิวัฒน์ ซึ่งทาให้รถไฟฟ้าเข้าถึง อภิวัฒน์ จะนาไปพิจารณาเพิ่มเติมอีกครั้ง
หมอชิต 2 เกิดการเชื่อมต่อผู้โดยสารระหว่างรูปแบบการเดินทางต่างๆ ทั้งรถไฟในเมือง และ
รถไฟชานเมือง ด้วยระบบราง
15 • เสนอระบบการเชื่อมต่อการเดินทาง ให้มีการพัฒนาการเดินทางที่เหมาะสม ควรมีที่จอด • ที่ปรึกษารับข้อเสนอแนะข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาเพิ่มเติม ที่ต้องเตรียมช่องจอดอะไรบ้าง และต้องจัดให้เกิด
มอเตอร์ไซค์รับจ้างด้วย ความเหมาะสมกับการเข้ามาใช้บริการรอบสถานี
16 • เสนอให้มีเส้นทางจากสะพานพระราม 5 ไปถึงถนนราชพฤกษ์ โดยปัจจุบันประชาชนที่จะใช้ • มีแนวเส้นทางจากถนนราชพฤกษ์ ที่ต่อเชื่อมกับสายสีชมพู อยู่ในแนวเส้นทางที่มีแนวการพัฒนาใน
โดยใช้รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นหลัก อนาคต และมีแนวเส้นทางตาม M-MAP2 Blueprint สายบางหว้า - แคราย – บึงกุ่ม แต่จุดดังกล่าวจะ
นามาศึกษาดูความเหมาะสมต่อไป
10
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
17 • เสนอแนะการพัฒนารถไฟฟ้าสีม่วงใต้ถ้าแล้วเสร็จจะมีการเดินทางจากรถไฟฟ้าสายสีม่วงไปลง • แนวทางการพัฒนาการเชื่อมต่อการเดินทางเข้ามาช่วยสนับสนุนการเชื่อมต่อทั้งสองสถานี และจะนาแนว
วงเวียนใหญ่ แล้วต่อขึ้น บีทีเอส ซึ่งสถานีไม่ติดกัน ต้องเดิน 500 เมตร และไม่มีรถไฟฟ้าสาย เส้นทางไปพิจารณาต่อไป
ไหนที่ข้ามไปเขตพระนครเลย ควรมีเส้นทางรถไฟฟ้าจากแนวถนนประชาอุทิศ หรือแนวถนน
พระราม 2 ข้ามไปยังถนนพระราม 3 ด้วย
18 • แนวเส้ น ทางที่ เ หมาะสมในการพั ฒ นาโครงการรถไฟฟ้ า มี เ ส้ น ใดบ้ า งในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ที่ • ในเส้นทางที่นาเสนอเพิ่มเติมเข้ามา เช่น ตามแนวเส้นบางนา-ตราด เชื่อมต่อไปยังสาโรง เข้าไปในแนว
น่าสนใจ ถนนสรรพาวุธ และเชื่อมมาตอนล่างลอดแม่น้าเจ้าพระยา เป็นจุดที่น่าสนใจ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ
เดินทางบริเวณตอนใต้ของถนนสุขุมวิทได้เป็นอย่างดี และเส้นรถไฟฟ้าตามแนวถนนเพชรบุรีก็เป็นเส้นที่
น่าสนใจในการศึกษาเช่นเดียวกัน

19 • สถานีห่างไกลจากชุมชนมีแนวทางการสนับสนุนการเดินทางอย่างไร • หมู่บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม สามารถพัฒนาระบบขนส่งมวลชนระบบรอง เพื่อนาผู้อยู่อาศัยเข้ามา


บริเวณสถานีรถไฟฟ้าได้ เป็นประโยชน์กับการพัฒนาโครงข่ายระบบรางและเป็นประโยชน์กับโครงการที่
อยู่อาศัยที่จะมีจุดขาย และอานวยความสะดวกให้กับผู้ซื้อคอนโด ที่พักอาศัยที่จะมีทางเลือกในการ
เดินทางที่สะดวกขึ้น หรือหลายๆ โครงการที่อยู่อาศัยอาจจับมือกันร่วมกันพัฒนาระบบขนส่งมวลชน
ระบบรองก็มีความน่าสนใจในการดาเนินการหรือห้างสรรพสินค้าก็เช่นเดียวกันถ้ามีการจัดระบบขนส่ง
เชื่อมต่อกับระบบรางที่สะดวกก็จะทาให้มีผู้เข้ามาใช้บริการ ห้างสรรพสินค้ามากขึ้น เช่น ศูนย์การค้า
เมกาบางนา เป็นต้น
20 • การพัฒนาตามแผนแม่บทฯ ระยะเร่งด่วน ระยะกลาง และระยะยาว เส้นทางรถไฟฟ้าที่ควร • การที่มีเส้นทางมากขึ้น ต้องมีการวางแผนการเดินรถ ต้องคานวณให้มีความเหมาะสมในระยะดาเนินการ
พัฒนาในแต่ละช่วง มีความครอบคลุม แต่ระยะเวลาการเดินทางไฟฟ้า ถ้ามีหลายเส้นทางจะ ซึ่งจะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูความเหมาะสมอีกครั้ง ซึ่งจะต้องอยู่ในเงื่อนไขสัญญาการจ้างการเดิน
ส่งผลต่อความถี่การเดินรถหรือไม่ ซึ่งบางสถานีมีการเชื่อมต่อรถไฟฟ้าหลายสาย จะส่งผลต่อ รถไฟฟ้า
ความล่าช้าในการเดินรถไฟฟ้าหรือไม่
11
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
21 • เส้นทางที่เชื่อมต่อจากรถไฟฟ้าสายสีชมพูผ่านแอร์พอร์ต ลิ้งก์ลาดกระบัง วิ่งไปทางถนนกิ่งแก้ว • ที่ปรึกษาจนาข้อมูลไปพิจารณา ซึ่งภายในตัวสนามบินมีคนทางานจานวนมาก จะรับไปพิจารณามีแนว
แต่อยากให้เชื่อมต่อวิ่งเข้าไปในสนามบินสุวรรณภูมิ และทะลุผ่านไปยังหัวตะเข้ ต้องการเข้าไป เส้นทางเข้าไปรับผู้โดยสารทางานในสนามบิน
รับคนทางานในสนามบิน
22 • เสนอแนะให้ต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีเหลือง สาโรง จะเชื่อมต่อเข้าถนนปู่เจ้าสมิงพราย และ • ที่ปรึกษารับไปพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการรถไฟฟ้า โดยเฉพาะเส้นทางที่ต่อขยายไปยังจุดต่างๆ
สิ้นสุดที่ถนนราชบูรณะ อยากให้อยู่ในแผนแม่บทฯนี้ด้วย ที่ ยั ง ขาดการต่ อ เชื่ อ มเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ข องโครงข่ า ยรถไฟฟ้ า เพื่ อ รองรั บ การเดิ น ทางของ
ประชาชนในจุดต่าง ๆ
• เสนอแนะการต่อขยายเส้นทางรถไฟฟ้าขยายตามแนว ง 21 ของ กทม. ที่วิ่งบริเวณถนนสุข • ที่ปรึกษารับไปพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการรถไฟฟ้าโดยเฉพาะเส้นทางที่ต่อขยายไปยังจุดต่างๆ
สวั ส ดิ์ ไ ปยั ง พระราม 2 และสิ้ น สุ ด ที่ บ ริ เ วณบางแค-เพชรเกษม เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ กั บ รถไฟฟ้ า ที่ ยั ง ขาดการต่ อ เชื่ อ มเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ข องโครงข่ า ยรถไฟฟ้ า เพื่ อ รองรั บ การเดิ น ทางของ
สายสีน้าเงิน ประชาชนในจุดต่าง ๆ
• การพัฒนาทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย มีแนวคิดขุดอุโมงค์ บางกระเจ้าอยู่แล้ว • ที่ปรึกษารับไปพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการรถไฟฟ้าโดยเฉพาะเส้นทางที่ต่อขยายไปยังจุดต่างๆ
ถ้าทารถไฟฟ้าก็สามารถขุดพร้อมกันได้จะได้มีผลกระทบน้อยที่สุด ที่ ยั ง ขาดการต่ อ เชื่ อ มเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ข องโครงข่ า ยรถไฟฟ้ า เพื่ อ รองรั บ การเดิ น ทางของ
ประชาชนในจุดต่าง ๆ
• เสนอแนะการต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีเหลือง บริเวณเส้นปู่เจ้าสมิงพราย จะรองรับการเดินทาง • ที่ปรึกษารับไปพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการรถไฟฟ้าโดยเฉพาะเส้นทางที่ต่อขยายไปยังจุดต่างๆ
ของผู้ใช้แ รงงานในโรงงานย่า นปู่เจ้าสมิงพราย จะนาแรงงานบริเวณใกล้เ คียงเข้าสู่ระบบ ที่ ยั ง ขาดการต่ อ เชื่ อ มเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ข องโครงข่ า ยรถไฟฟ้ า เพื่ อ รองรั บ การเดิ น ทางของ
รถไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี ประชาชนในจุดต่าง ๆ
23 • ปัจจุบันพื้นที่บริเวณอ้อมใหญ่มีปริมาณจราจรมาก ติดขัด เพื่อเดินทางไปยังรถไฟฟ้าบริเวณ • ยังเป็นเส้นรถไฟฟ้าที่ทาการศึกษาอยู่กาลังอยู่ในกระบวนการวิเคราะห์
สถานีหลักสอง ระยะทาง 10 กม. ใช้เวลา 1 ชม. ควรมีการพัฒนารถไฟฟ้าสายสีน้าเงินมายัง
พุทธมณฑลสาย 4 ให้เร่งด่วน
24 • เสนอแนวเส้นทางรถไฟฟ้าจากพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ไปยังบริเวณท่าน้านนท์ • ที่ปรึกษารับไปพิจารณา โดยปัจจุบันมีแนวเส้นทางนี้ในการศึกษาอยู่แล้วจากลาดพร้าววิ่งตามถนน
รัชดาภิเษกไปจนถึงสะพานพระราม 7 จากนั้นเลี้ยวไปยังท่าน้านนท์

12
สรุปความคิดเห็นการประชุมสัมมนาเพื่อประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 3
ลาดับ ประเด็นสอบถามความคิดเห็น ตอบข้อซักถาม/ความคิดเห็น
25 • ปัจจุบันมีการเพิ่มขนส่งมวลชนทางรางบริเวณถนนเพชรบุรีหรือไม่ • แนวเส้ น ทางถนนวิ่ ง ขนานไปกั บ เส้ น พระราม 9 และถนนสุ ขุ ม วิ ท โดยมี เ ส้ น รถไฟฟ้ า สายสี แ ดง
ประสบความสาเร็จในการเป็นเส้นเชื่อมการเดินทางของคนนอกเมืองเข้าสู่ใจกลางเมือง ควรเสริมสถานี
เพิ่มทาจุดเชื่อมต่อระหว่างรถไฟฟ้าสายสีเขียว กับรถไฟฟ้าสายสีแดง จะส่งเสริมการเดินทางที่สะดวกขึ้น
และต้องสร้างโครงข่ายถนนที่เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า เพราะโครงข่ายถนนเกิน ความจุไปแล้ว เราต้องทาแผน
โครงข่ายถนนที่ต้องมองถึงการเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนทางรางร่วมด้วย และเชื่อมโยงการเดินทาง
เข้าถึงสถานีรถไฟฟ้าให้เกิดความสะดวก

13
การถ่ายทอดความรู้

การถ่ายทอดความรู้ ครั้งที่ 3

วันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 08.00-17.00 น. ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี สุรนารี และ


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา
การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้เรื่อง “บทบาทมหาวิทยาลัยกับการขนส่งระบบราง”
ให้แก่บุคลากรของกรมการขนส่งทางราง เพื่อรับรู้ถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยกับการขนส่งระบบราง เช่น
หลักสูตรการสอนเกี่ยวกับระบบราง และห้องปฏิบัติการต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด มุมมอง สู่การ
นาไปพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับการสร้างบุคลากร เพื่อรองรับการพัฒนาระบบรางในอนาคต รวมถึง
การพั ฒ นาแบบจ าลองการคาดการณ์ ค วามต้ อ งการเดิ น ทางด้ ว ยระบบรางที่ ด าเนิ น การร่ ว มกั บ
สถาบันการศึกษา

ภาพ การถ่ายทอดความรู้ ครั้งที่ 3


14
สื่อประชาสัมพันธ์

บอร์ดนิทรรศการ Facebook Website

แผ่นพับ วีดิทัศน์
15
ช่องทางติดต่อและรับข้อมูลข่าวสารโครงการ

โดยมีผู้กดถูกใจ (Like) แฟนเพจโครงการฯ จานวน 1,470 คน


มีผู้กดติดตามแฟนเพจโครงการฯ (Follower) จานวน 1,460 คน
มียอดการเข้าถึง (Reach) จานวน 63,126 คน

16
ช่องทางติดต่อและรับข้อมูลข่าวสารโครงการ

มียอดเข้าถึง 33,250 ครั้ง


มียอด View 74,526 ครั้ง

17

You might also like