You are on page 1of 103

หนา้ ๔๕

เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

กฎกระทรวง
ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร
พ.ศ. ๒๕๖๒

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘


และมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ ง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารผั ง เมื อ ง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม
โดยพระราชบัญญั ติการผั งเมือ ง (ฉบั บที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ รั ฐ มนตรีว่ าการกระทรวงมหาดไทย
ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่ตาบลอ้อมน้อย ตาบลหนองนกไข่ ตาบลสวนหลวง
ตาบลบางยาง ตาบลท่าไม้ ตาบลตลาดกระทุ่มแบน ตาบลคลองมะเดื่อ ตาบลแคราย ตาบลดอนไก่ดี
และตาบลท่าเสา อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายกฎกระทรวงนี้
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“พาณิชยกรรม” หมายความว่า การค้าขายหรือบริการปกติอั นพึงมีได้อย่า งธุรกิจ ทั่ ว ไป
แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงการจาหน่ายสินค้าราคาถูกที่ดาเนินการโดยหน่วยงานราชการตามนโยบาย
ของรัฐ
“การแสดงสินค้า” หมายความว่า อาคาร สถานที่ใช้แสดงสินค้าตามชนิดประเภทที่จัดขึ้น
ชั่ว ครั้งคราวหรือถาวร แต่ไ ม่ห มายความรวมถึงการแสดงสิ นค้าที่ดาเนินการโดยหน่วยงานราชการ
หรือสถาบันการศึกษา
“คลังสินค้า” หมายความว่า อาคาร สถานที่ ตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้เพื่อเก็บ รับฝากสินค้า
สิ่งของ แต่ไม่หมายความรวมถึงอาคาร สถานที่เก็บสินค้า สิ่งของที่เป็นองค์ประกอบและตัง้ อยู่บนแปลง
ที่ดินที่ใช้ประกอบการพาณิชยกรรม สานักงาน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
“สถานีขนส่งสินค้า” หมายความว่า อาคาร สถานที่ใช้รวบรวมสินค้า สิ่งของ เพื่อการขนส่ง
ต่อไปยังสถานที่อื่น ๆ
“การรับส่งสินค้า” หมายความว่า การรับส่งสินค้าหรือสิ่งของด้วยยานพาหนะต่าง ๆ รวมถึง
การรับส่งสินค้าด้วยตู้คอนเทนเนอร์ แต่ไม่หมายความรวมถึงการรับส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์
หนา้ ๔๖
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
“ที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะ” หมายความว่า พื้นที่ที่ปราศจากอาคาร รั้ว กาแพง สิ่งปลูกสร้าง
และสิ่งอื่นใด เว้นแต่ต้นไม้หรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อสาธารณะประโยชน์ ซึ่งเจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดิน
ได้จัดให้ประชาชนทั่วไปได้ใช้ร่วมกันเสมือนที่สาธารณประโยชน์
ข้อ ๓ การวางและจัดทาผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองกระทุ่มแบนให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมที่มีคุณภาพชีวิต
และสิ่งแวดล้อมของการเป็นเมืองน่าอยู่ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้เพียงพอและเหมาะสม
กับศักยภาพของพื้นที่ จัดให้มีความเพียงพอในด้านการคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค
และสาธารณูปการ การอนุรักษ์และส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของแหล่งน้าสาธารณะ
สาหรับประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน และเสริมสร้างภูมิทัศน์ทางธรรมชาติให้เป็นเมืองและชุมชนน่าอยู่
ตลอดจนสร้ า งเสริ ม ความปลอดภั ย ความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยของสั ง คม ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต
และสุขอนามัยที่ดีของประชาชนในชุมชน
ข้อ ๔ ผั ง เมื อ งรวมตามกฎกระทรวงนี้ มี น โยบายและมาตรการเพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทาง
ในการอนุรักษ์พัฒนาเมืองกระทุ่มแบนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม ดังต่อไปนี้
(๑) ส่งเสริมความเป็นเมืองอุตสาหกรรมน่าอยู่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสาคัญ
ต่ อ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสะอาด ภายใต้ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มทางกายภาพที่ ดี แ ละมี ม าตรฐาน
การประกอบการอุตสาหกรรมอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
(๒) ส่งเสริมการอนุรักษ์พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ด้วยการอนุรักษ์ความเป็นพื้นที่เกษตรกรรม
และส่งเสริมกิจการสหกรณ์การเกษตรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรให้มีความเป็นอยู่ดีขึ้น
(๓) ส่งเสริมการพัฒ นาระบบศูนย์ชุมชนเกษตรกรรม ให้เป็นศูนย์รวมของการให้บริการ
และกระจายความเจริญขั้นพื้นฐานไปยังพื้นที่ชุมชนเกษตรกรรมที่อยู่บริเวณโดยรอบ
(๔) ส่งเสริมความมั่นคงในที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยให้มีโอกาสมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง
โดยการเคหะแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
(๕) ส่งเสริมให้มีที่อยู่อาศัยอยู่ใกล้กับแหล่งงาน เพื่อลดปัญหาการจราจรและภาระค่าใช้จ่าย
ในการเดินทาง โดยพัฒนาที่อยู่อาศัยประเภทอาคารอยู่อาศัยรวม อาคารชุดหรือหอพัก และโครงการ
ที่อยู่อาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย
(๖) สงวน รักษา เสริมสร้าง และฟื้นฟูคุณภาพแหล่งน้าธรรมชาติ โดยกาหนดให้มีพื้นที่โล่ง
สีเขียวเป็นแนวขนานสองฟากฝั่งแหล่งน้าสาธารณะ
(๗) ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของโครงข่ายระบบถนน โดยกาหนด
ให้มีพื้นที่โล่งตลอดแนวถนนสายหลักและสายรองของเมือง
(๘) ส่งเสริมความสะดวกและปลอดภัยในการเดินทาง โดยเพิ่มโครงข่ายระบบถนนสายหลัก
และสายรองของเมือง
หนา้ ๔๗
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๙) ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มทางกายภาพของอาคารเพื่ อ ความสะดวกสบายต่ อ
การอยู่อาศัยและการใช้สอย โดยกาหนดอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน และสัดส่วนของที่ว่าง
ปราศจากอาคาร
(๑๐) อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมหรือประเพณี โดยส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนาสืบสานการเรียนรู้
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีชุมชน
(๑๑) ส่งเสริมสุขลักษณะ ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคมโดยควบคุม
กิจการที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือเหตุราคาญซึ่งเป็นแหล่งมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ข้อ ๕ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ภายในเขตผั ง เมื อ งรวม ให้ เ ป็ น ไปตามแผนผั ง ก าหนด
การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง และรายการ
ประกอบแผนผังท้ายกฎกระทรวงนี้
ข้อ ๖ การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
ท้ายกฎกระทรวงนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) ที่ดินประเภท ย. ๑ ถึง ย. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย
หนาแน่นน้อย โดยมีวัตถุประสงค์และจาแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้
(ก) ที่ ดิ น ประเภท ย. ๑ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น ย่ า นส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม
ของการอยู่อาศัยบริเวณเขตชานเมืองที่อยู่ใกล้แม่น้าท่าจี นและบริเวณต่อเนื่องกับย่านพื้นที่อนุรักษ์
ชนบทและเกษตรกรรม จาแนกเป็นบริเวณ ย. ๑ - ๑ ถึง ย. ๑ - ๕
(ข) ที่ดินประเภท ย. ๒ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านรองรับการขยายตัวของที่อยู่อาศัย
ทั่วไป จาแนกเป็นบริเวณ ย. ๒ - ๑ ถึง ย. ๒ - ๑๖
(ค) ที่ ดิ น ประเภท ย. ๓ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น ย่ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย บริ เ วณโดยรอบ
ศูนย์ชุมชนชานเมือง จาแนกเป็นบริเวณ ย. ๓ - ๑ ถึง ย. ๓ - ๔
(๒) ที่ดินประเภท ย. ๔ และ ย. ๕ ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย
หนาแน่นปานกลาง โดยมีวัตถุประสงค์และจาแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้
(ก) ที่ดินประเภท ย. ๔ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านอนุรักษ์การตั้งถิ่นฐาน และส่งเสริม
วิถีชีวิตชุมชนริมน้าบริเวณคลองภาษีเจริญ จาแนกเป็นบริเวณ ย. ๔ - ๑ ถึง ย. ๔ - ๑๐
(ข) ที่ ดิ น ประเภท ย. ๕ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น ย่ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย ส าหรั บ แรงงาน
ที่ต้องการอยู่ใกล้แหล่งงานย่านอุตสาหกรรม จาแนกเป็นบริเวณ ย. ๕ - ๑ ถึง ย. ๕ - ๒๒
(๓) ที่ดินประเภท ย. ๖ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าตาล ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่นบริเวณโดยรอบศูนย์กลางพาณิชยกรรมหลักและศูนย์กลาง
พาณิชยกรรมรอง จาแนกเป็นบริเวณ ย. ๖ - ๑ และ ย. ๖ - ๒
(๔) ที่ดินประเภท พ. ๑ ถึง พ. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม
โดยมีวัตถุประสงค์และจาแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้
หนา้ ๔๘
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(ก) ที่ดิน ประเภท พ. ๑ มีวัต ถุประสงค์เพื่อเป็นย่านศูนย์กลางพาณิชยกรรมชุมชน
เพื่ อ กระจายสิ น ค้ า บริ ก ารและสิ่ ง อ านวยความสะดวกแก่ ชุ ม ชนชานเมื อ งและชุ ม ชนเกษตรกรรม
จาแนกเป็นบริเวณ พ. ๑ - ๑ และ พ. ๑ - ๒
(ข) ที่ดินประเภท พ. ๒ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านศูนย์กลางพาณิชยกรรมรองระดับเมือง
บริเวณย่านตลาดเก่า จาแนกเป็นบริเวณ พ. ๒ - ๑ ถึง พ. ๒ - ๕
(ค) ที่ดินประเภท พ. ๓ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านศูนย์กลางพาณิชยกรรมหลักระดับเมือง
จาแนกเป็นบริเวณ พ. ๓ - ๑ และ พ. ๓ - ๒
(๕) ที่ดินประเภท อ. ๑ ถึง อ. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีม่วง ให้เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินค้า โดยมีวัตถุประสงค์และจาแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้
(ก) ที่ดินประเภท อ. ๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านนิคมอุตสาหกรรมที่มีการบริหาร
จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน จาแนกเป็นบริเวณ อ. ๑
(ข) ที่ ดิ น ประเภท อ. ๒ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น ย่ า นอุ ต สาหกรรมทั่ ว ไป ส าหรั บ
การประกอบอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีมาตรการควบคุมและกาจัดมลพิษก่อนปล่อยออกสู่
สิ่งแวดล้อม จาแนกเป็นบริเวณ อ. ๒ - ๑ ถึง อ. ๒ - ๑๐
(ค) ที่ดินประเภท อ. ๓ มีวัตถุประสงค์ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเป็นย่านอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีสะอาด จาแนกเป็นบริเวณ อ. ๓ - ๑ และ อ. ๓ - ๒
(๖) ที่ดินประเภท ก. ๑ และ ก. ๒ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม โดยมีวัตถุประสงค์และจาแนกเป็นบริเวณ ดังต่อไปนี้
(ก) ที่ ดิ น ประเภท ก. ๑ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น ย่ า นพื้ น ที่ ส่ ง เสริ ม เกษตรกรรม
การสงวนรัก ษาคุ ณภาพสิ่งแวดล้ อมทางธรรมชาติ และการรองรับกิจ การอื่ นที่จ าเป็นสาหรับเมือง
และชุมชน จาแนกเป็นบริเวณ ก. ๑ - ๑ ถึง ก. ๑ - ๑๘
(ข) ที่ ดิ น ประเภท ก. ๒ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น ย่ า นพื้ น ที่ ส่ ง เสริ ม เกษตรกรรม
และศูนย์ชุมชนเกษตรกรรม จาแนกเป็นบริเวณ ก. ๒ - ๑ และ ก. ๒ - ๒
(๗) ที่ดินประเภท ก. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดิน
ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านพื้นที่อนุรักษ์และการสงวนรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม จาแนกเป็นบริเวณ ก. ๓ - ๑
ถึง ก. ๓ - ๔
(๘) ที่ดินประเภท ล. ๑ ถึง ล. ๓ ที่กาหนดให้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่ง
เพื่อนันทนาการและการส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์และจาแนกเป็นบริเวณ
ดังต่อไปนี้
หนา้ ๔๙
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(ก) ที่ดินประเภท ล. ๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านพื้นที่โล่งริมน้า เพื่อนันทนาการ
การส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การป้องกันน้าท่วม และกิจการสาธารณประโยชน์ จาแนกเป็น
บริเวณ ล. ๑ - ๑ ถึง ล. ๑ - ๒๑
(ข) ที่ดินประเภท ล. ๒ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นย่านพื้นที่โล่งริมถนนสายหลัก สายรอง
สาหรับส่งเสริมสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ การจัดระเบียบการก่อสร้างอาคาร การป้องกันและแก้ไข
ปัญหาการจราจรตลอดแนวสองฟากเขตทางถนนสายหลัก จาแนกเป็นบริเวณ ล. ๒ - ๑ ถึง ล. ๒ - ๓๒
(ค) ที่ดิน ประเภท ล. ๓ มีวัต ถุประสงค์เพื่อเป็นย่านพื้นที่โล่งสาธารณะระดับเมือง
เพื่อนันทนาการ การส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และกิจการสาธารณประโยชน์ จาแนกเป็น
บริเวณ ล. ๓ - ๑ ถึง ล. ๓ - ๓
(๙) ที่ดินประเภท ษ. ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา
โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ การศึ ก ษาหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษา สถาบั น ราชการการสาธารณู ป โภค
และสาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์ จาแนกเป็นบริเวณ ษ. - ๑ ถึง ษ. - ๒๘
(๑๐) ที่ดิน ประเภท ศน. ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็น ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศาสนา หรือเกี่ยวข้องกับการศาสนา กิจการเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
ของชุมชน การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์ จาแนกเป็นบริเวณ
ศน. - ๑ ถึง ศน. - ๑๕
(๑๑) ที่ ดิ น ประเภท ส. ที่ ก าหนดไว้ เ ป็ น สี น้ าเงิ น ให้ เ ป็ น ที่ ดิ น ประเภทสถาบั น ราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถาบันราชการและการดาเนินกิจการ
ของรัฐที่เกี่ยวกับสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์ จาแนกเป็นบริเวณ
ส. - ๑ ถึง ส. - ๒๒
ข้อ ๗ เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุป ระสงค์ ของผั ง เมื องนี้ ให้ มี ม าตรการในการใช้ ประโยชน์ที่ดิน
ดังต่อไปนี้
(๑) การประกอบกิจการโรงงานตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้หรือคลังสินค้าที่มีพื้นที่อาคาร
รวมกันทุกหลังเกินกว่า ๕,๐๐๐ ตารางเมตร ต้องมีแปลงที่ดินที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้าง
ไม่น้อยกว่า ๘ เมตร หรือจัดให้มีถนนที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๘ เมตร เพื่อใช้เป็นทางเข้าออก
ของแปลงที่ดินนั้นไปสู่ถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๘ เมตร และให้มีที่ว่างเป็นแนวขนาน
เขตที่ดินไม่รวมถึงเขตทางถนนที่ใช้เป็นทางเข้าออกกว้างไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ทั้งนี้ ในการดาเนินการ
ต้องมีที่ว่างเป็นแนวขนานกับที่ดินสาหรับปลูกต้นไม้กว้างไม่น้อยกว่า ๕ เมตร เพื่อเป็นแนวป้องกัน
เว้น แต่โ รงงานบาบัด น้ าเสีย ในที่ดิ น ประเภท ย. ๑ ที่ดินประเภท ย. ๒ ที่ดินประเภท ย. ๓
ที่ดินประเภท ย. ๔ ที่ดินประเภท ย. ๕ ที่ดินประเภท ย. ๖ ที่ดินประเภท พ. ๑ ที่ดินประเภท
พ. ๒ ที่ดินประเภท พ. ๓ ที่ดินประเภท ก. ๑ ที่ดินประเภท ก. ๒ และที่ดินประเภท ก. ๓
หนา้ ๕๐
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๒) การประกอบกิจการโรงงานตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้หรือคลังสินค้าที่มีพื้นที่อาคาร
รวมกันทุกหลังเกินกว่า ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร จะต้องมีแปลงที่ดินที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีเขตทาง
กว้ า งไม่ น้ อ ยกว่ า ๘ เมตร หรื อ ถนนที่ มี เ ขตทางกว้ า งไม่ น้ อ ยกว่ า ๘ เมตร ที่ จั ด ไว้ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น
ทางเข้าออกจากแปลงที่ดินนั้นไปสู่ถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๘ เมตร และให้มีที่ว่าง
เป็นแนวขนานเขตที่ดินไม่รวมถึงเขตทางถนนที่ใช้เป็นทางเข้าออกกว้างไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ทั้งนี้
ในการด าเนิ น การต้ อ งมี ที่ ว่า งเป็น แนวขนานกับ ที่ ดิ นส าหรั บปลู ก ต้ นไม้ กว้ า งไม่ น้ อ ยกว่า ๕ เมตร
เว้นแต่โรงงานบาบัดน้าเสีย ในที่ดินประเภท อ. ๑ ที่ดินประเภท อ. ๒ และที่ดินประเภท อ. ๓
(๓) การอยู่อาศัยที่อยู่ภายใต้การดาเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเคหะแห่งชาติ
หรือสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) ที่มีเขตที่ดินติดกับเขตที่ดินของโรงงาน ให้มีที่ว่าง
เป็ น แนวขนานกั บเขตที่ ดิน ไม่ น้ อ ยกว่า ๑๕ เมตร ซึ่ ง ที่ ว่ า งนี้ ใ ห้ใ ช้ เ ป็นทางเข้า ออกที่ จอดรถยนต์
ท่อทางระบายน้า สาธารณูปโภคและอื่น ๆ ได้ ทั้งนี้ ในการดาเนินการต้องมีที่ว่างเป็นแนวขนานกับ
ที่ดินสาหรับปลูกต้นไม้กว้างไม่น้อยกว่า ๕ เมตร เพื่อเป็นแนวป้องกัน
(๔) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการที่อยู่อาศัยหรือพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูง
หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ จะต้องมีแปลงที่ดินที่ตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า
๑๒ เมตร หรือมีถนนที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๑๒ เมตร เพื่อใช้เป็นทางเข้าออกของแปลงที่ดนิ นัน้
ไปสู่ถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๑๒ เมตร
(๕) การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใด ๆ ให้มีที่ว่างเป็นแนวอาคารห่างเขตทาง
สองฟากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
๓๓๑๐ และทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ทั้งนี้ ในการดาเนินการต้องมีที่ว่าง
เป็ น แนวขนานกั บ ที่ ดิ น ส าหรั บ ปลู ก ต้ น ไม้ ก ว้ า งไม่ น้ อ ยกว่ า ๓ เมตร เพื่ อ เป็ น แนวป้ อ งกั น
เว้นแต่การอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว
(๖) กรณีเจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินจัดให้มีพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นแนวขนาน
เขตทางสองฟากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐ และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๕ ไม่น้อยกว่า
๑๕ เมตร ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นหลังจากคิดคานวณอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวม
ตามข้อกาหนดของที่ดินแต่ละประเภทได้อีกไม่เกินสองเท่าของที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะ
(๗) การที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินอันเป็นที่ตั้งโรงงานหรือคลังสินค้าจัดให้มีพื้นที่โล่ง
เพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นแนวขนานเขตที่ดินไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้น
หลังจากคิดคานวณอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมตามข้อกาหนดของที่ดินแต่ละประเภท
ได้อีกไม่เกินสองเท่าของที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะ
(๘) กรณีเจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินจัดให้มีพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นแนวขนาน
เขตแหล่งน้าสาธารณะไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นหลังจากคิดคานวณอัตราส่วน
หนา้ ๕๑
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
พื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมตามข้อกาหนดของที่ดินแต่ละประเภทได้อีกไม่เกินสองเท่าของที่โล่ง
เพื่อประโยชน์สาธารณะ
(๙) การก่อสร้างป้ายและสิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรือตั้งป้ายตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
อาคารภายในระยะ ๕๐ เมตร จากเขตทางสองฟากของทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๔ ทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๕
และทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ให้ก่อสร้างได้มีความสูงไม่เกิน ๘ เมตร และมีพื้นที่ป้ายไม่เกิน
๑๐ ตารางเมตร เว้นแต่ป้ายของทางราชการ ป้ายบอกทาง เครื่องหมายการจราจร ป้ายชื่อถนน
ป้ า ยชื่ อ สะพาน ป้ า ยชื่ อ แหล่ ง น้ าสาธารณะ หรื อ ป้ า ยหาเสี ย งตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการเลื อ กตั้ ง
โดยการวัดความสูง ให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงส่วนที่สูงที่สุดของป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรือ
ตั้งป้าย
(๑๐) การประกอบกิจการจัดสรรที่ดินเพื่ออุต สาหกรรม ให้มีที่ว่างเป็นแนวขนานเขตที่ดิน
ไม่รวมถึงเขตทางถนนที่ใช้เป็นทางเข้าออกกว้างไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ทั้งนี้ ในการดาเนินการต้องมี
ที่ว่างเป็นแนวขนานกับที่ดินสาหรับปลูกต้นไม้กว้างไม่น้อยกว่า ๕ เมตร เพื่อเป็นแนวป้องกัน
(๑๑) การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมภายในอาคาร ให้มีสัดส่วนพื้นที่ใช้สอยอาคารเพื่อประกอบ
กิจการหลักเป็นส่วนมากไม่น้อยกว่าสองในสามของพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกัน
(๑๒) พื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน ให้คิดจากพื้นที่ที่ดินที่ใช้ประกอบกิจการในแปลงที่ดินที่ได้รั บ
อนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลงอาคารหรือใบอนุญาตประกอบกิจการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยคิดเป็น
พื้น ที่รวมกัน ของพื้น ชั้น ล่างอาคารทุกหลังกับพื้นที่ว่างปราศจากอาคารตามข้อกาหนดนี้ และพื้น ที่
ที่ดินที่มีการใช้ประกอบกิจการต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นอาคารหรือไม่ก็ตาม
(๑๓) พื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้คิดจากพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น
ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ กิ จ การที่ ก าหนดให้ ใ ช้ ไ ด้ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่ แ ละไม่ ใ ช่ กิ จ การที่ ห้ า มของที่ ดิ น ทุ ก แปลงรวมกั น
ทั้งบริเวณ ซึ่งจะต้องไม่เกินสัดส่วนร้อยละของพื้นที่ที่ดินรวมของแต่ล ะบริเวณตามที่กาหนดไว้ในที่ดิน
แต่ละประเภท
กฎกระทรวงนี้ ไ ม่ ใ ห้ ใ ช้ บั งคั บ แก่ การใช้ ประโยชน์ที่ ดิน เพื่ อ การอยู่ อ าศัย ประเภทบ้า นเดี่ยว
ที่ มี ข นาดแปลงที่ดิ น น้ อ ยกว่า ๔๐ ตารางวา หรื อ มี ความลึก ของแปลงที่ ดินน้ อยกว่ า ๑๒ เมตร
ซึ่งมีการแบ่งแยกหรือแบ่งโอนกันในวันก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ ๘ ที่ดินประเภท ย. ๑ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
เพื่ อ การอยู่ อ าศั ย ประเภทบ้ า นเดี่ ย ว บ้ า นแฝด บ้ า นแถว สถาบั น ราชการ การสาธารณู ป โภค
และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดนิ เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้า
ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนดดังต่อไปนี้
หนา้ ๕๒
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั มมัน ตรังสีต ามกฎหมายว่าด้วยพลั งงานนิวเคลี ยร์เ พื่อ สันติ เว้น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัตว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ย งสั ต ว์น้ าเค็มหรื อน้ากร่อย ตามกฎหมายว่า ด้วยการส่ งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุ ส านและฌาปนสถานตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยสุ ส านและฌาปนสถาน เว้ น แต่ เ ป็ น
การก่อสร้างทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๑๐) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๑) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม เว้นแต่การอยู่อาศัย
ประเภทอาคารชุดหรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่อยู่ภายใต้การดาเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การเคหะแห่ งชาติ หรือสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยสาหรับ
ผู้มีรายได้น้อย และไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๑๒) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๑,๕๐๐ ตารางเมตร
(๑๓) สานักงานที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๑,๕๐๐ ตารางเมตร
(๑๔) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๕) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๖) คลังสินค้า
(๑๗) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๘) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๙) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
หนา้ ๕๓
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๒๐) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๒๑) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๒๒) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๒๓) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า
(๒๔) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๕) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๖) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุขหรือไม่เป็นมลพิษต่อชุ มชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบห้า
ข้อ ๙ ที่ดินประเภท ย. ๒ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
เพื่ อ การอยู่ อ าศั ย ประเภทบ้ า นเดี่ ย ว บ้ า นแฝด บ้ า นแถว สถาบั น ราชการ การสาธารณู ป โภค
และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดนิ เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้า
ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจัดการกากกัมมันตรังสีตามกฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ เว้นแต่อยู่
ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัตว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อยตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
หนา้ ๕๔
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๗) สุ ส านและฌาปนสถานตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยสุ ส านและฌาปนสถาน เว้ น แต่ เ ป็ น
การก่อสร้างทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๑๐) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๑) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม เว้นแต่การอยู่อาศัย
ประเภทอาคารชุดหรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่อยู่ภายใต้การดาเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การเคหะแห่ งชาติ หรือสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยสาหรับ
ผู้มีรายได้น้อย และไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๑๒) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๓) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๔) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๕) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกลเรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๖) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๗) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๘) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๙) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า
(๒๐) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๑) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๒) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุขหรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรัก ษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑.๕ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
ข้อ ๑๐ ที่ดินประเภท ย. ๓ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
เพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้
ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
หนา้ ๕๕
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจัดการกากกัมมันตรังสีตามกฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ เว้นแต่อยู่
ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๑) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๒) คลังสินค้า
(๑๓) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๔) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๕) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกลเรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๖) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๗) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๘) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๙) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า
(๒๐) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๑) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
หนา้ ๕๖
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๒๒) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรื อ ไม่ เป็น มลพิ ษต่อ ชุม ชนหรือสิ่ งแวดล้อ มตามกฎหมายว่า ด้วยการส่ง เสริมและ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๒ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
ข้อ ๑๑ ที่ดินประเภท ย. ๔ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์
ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับ
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และที่ดินในบริเวณ ย. ๔ - ๒ เฉพาะ
พื้ น ที่ ดั ง ต่ อ ไปนี้ ใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบกิ จ การโรงงานผลิ ต วั ต ถุ ที่ รั บ รองไว้ ใ นต ารายา
ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศและโรงงานผลิตวัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการวิเคราะห์
บาบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์ในจาพวกที่ ๓ ได้
ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑,๓๐๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๕๕๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองอ้อมแขม เส้นขนาน
ระยะ ๑,๐๕๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ และเส้นขนานระยะ ๑๕๐ เมตร กับกึ่งกลาง
ซอยเพชรเกษม ๙๑
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๗๐๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๓๑๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองอ้อมแขม เส้นขนาน
ระยะ ๑,๐๖๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ และเส้นขนานระยะ ๓๗๐ เมตร กับกึ่งกลาง
คลองอ้อมแขม
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
หนา้ ๕๗
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อยตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(๙) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
(๑๐) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๑๑) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๒) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๓) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๔) คลังสินค้า
(๑๕) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๖) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๗) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๘) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๙) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๒๐) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๒๑) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า
(๒๒) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๓) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๔) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุขหรือไม่เป็นมลพิษต่ อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๒ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
หนา้ ๕๘
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
ข้อ ๑๒ ที่ดินประเภท ย. ๕ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์
ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับ
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติเพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) การประกอบกิ จ การประเภทอาคารขนาดใหญ่ พิ เ ศษ เว้ น แต่ ส ถาบั น ราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๑) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๒) คลังสินค้า
(๑๓) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๔) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๕) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๖) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๗) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๘) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
หนา้ ๕๙
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑๙) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า
(๒๐) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๑) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๒) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุขหรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๓.๕ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้า
ข้อ ๑๓ ที่ดินประเภท ย. ๖ เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์ทดี่ นิ
เพื่ อ การอยู่ อ าศั ย สถาบั น ราชการ การสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การเป็ น ส่ ว นใหญ่ ส าหรั บ
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
หนา้ ๖๐
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑๑) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๒) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๓) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๔) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๕) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๖) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๑๗) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๑๘) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๔ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้า
ข้อ ๑๔ ที่ ดิ น ประเภท พ. ๑ เป็ น ที่ ดิ น ประเภทพาณิ ช ยกรรม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่
สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละ
บริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
หนา้ ๖๑
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) การประกอบกิ จ การประเภทอาคารขนาดใหญ่ พิ เ ศษ เว้ น แต่ ส ถาบั น ราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๑) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๒) คลังสินค้า
(๑๓) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๔) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๕) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๖) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๗) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๘) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๙) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๐) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๑) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๔ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
ข้อ ๑๕ ที่ ดิ น ประเภท พ. ๒ เป็ น ที่ ดิ น ประเภทพาณิ ช ยกรรม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สานักงาน สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
เป็ น ส่ ว นใหญ่ ส าหรั บ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ กิ จ การอื่ น ให้ ใ ช้ ไ ด้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละสิ บ ห้ า ของที่ ดิน
ประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
หนา้ ๖๒
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๑) คลังสินค้า
(๑๒) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๓) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๔) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๕) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๖) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๗) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๘) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๑๙) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๐) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
หนา้ ๖๓
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๔ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบ
ข้อ ๑๖ ที่ ดิ น ประเภท พ. ๓ เป็ น ที่ ดิ น ประเภทพาณิ ช ยกรรม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
เพื่อพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สานักงาน สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
เป็ น ส่ ว นใหญ่ ส าหรั บ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ กิ จ การอื่ น ให้ ใ ช้ ไ ด้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละสิ บ ห้ า ของที่ ดิน
ประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๑) คลังสินค้า
(๑๒) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๓) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๔) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๕) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
หนา้ ๖๔
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑๖) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๗) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๘) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๑๙) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๐) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๕ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบ
ข้อ ๑๗ ที่ดินประเภท อ. ๑ เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์
ที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบการอุ ต สาหกรรมในนิ ค มอุ ต สาหกรรมหรื อ การจั ด สรรที่ ดิ น เพื่ อ อุ ต สาหกรรม
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้
ไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุสถานที่บรรจุ
ก๊าซปิโ ตรเลียมเหลวประเภทห้ องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เว้นแต่สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวเพื่อใช้
ภายในโรงงาน
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
หนา้ ๖๕
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) การประกอบกิจการประเภทห้องแถวหรือตึกแถว
(๑๑) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๑๒) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๓) สถานพยาบาลตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยสถานพยาบาล เว้ น แต่ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารแก่ พ นั ก งาน
หรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ
(๑๔) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๑๕) สถานสงเคราะห์หรือสถานรับเลี้ยงเด็กเล็ก เว้นแต่ที่ให้บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้าง
ของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ
(๑๖) สถานสงเคราะห์หรือสถานรับเลี้ยงผู้สูงอายุ
(๑๗) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๘) การกาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๙) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๐) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบ
ข้อ ๑๘ ที่ดินประเภท อ. ๒ เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์
ที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบการอุ ต สาหกรรมซึ่ ง มิ ใ ช่ ป ระเภทอาคารขนาดใหญ่ การสาธารณู ป โภคและ
สาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้า
ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๒) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๓) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
หนา้ ๖๖
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เว้นแต่สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวเพื่อใช้
ภายในโรงงาน
(๔) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๕) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๖) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๗) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๐) สถานพยาบาลตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยสถานพยาบาล เว้ น แต่ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารแก่ พ นั ก งาน
หรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ
(๑๑) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๑๒) สถานสงเคราะห์หรือสถานรับเลี้ยงเด็กเล็ก เว้นแต่ที่ให้บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้าง
ของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ
(๑๓) สถานสงเคราะห์หรือสถานรับเลี้ยงผู้สูงอายุ
(๑๔) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๕) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๑๖) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๑๗) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๑๘) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๑๙) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบห้า
ข้อ ๑๙ ที่ดินประเภท อ. ๓ เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์
ที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบการอุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งจั ก รทั น สมั ย ปราศจากมลพิ ษ การสาธารณู ป โภค
หนา้ ๖๗
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
และสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดนิ เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้า
ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และเป็นโรงงานที่ได้รับการรับรอง
มาตรฐานการควบคุมมลพิษจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมและกรมควบคุมมลพิษ
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เว้นแต่สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวเพื่ อใช้
ภายในโรงงาน
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๙) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๑๐) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๑) สถานพยาบาลตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยสถานพยาบาล เว้ น แต่ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารแก่ พ นั ก งาน
หรือลูกจ้างของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ
(๑๒) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๑๓) สถานสงเคราะห์หรือสถานรับเลี้ยงเด็กเล็ก เว้นแต่ที่ให้ บริการแก่พนักงานหรือลูกจ้าง
ของสถานประกอบการในรูปของสวัสดิการ
(๑๔) สถานสงเคราะห์หรือสถานรับเลี้ยงผู้สูงอายุ
(๑๕) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๖) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
หนา้ ๖๘
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑๗) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๘) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๙) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๒๐) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๒๑) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๒) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบ
ข้อ ๒๐ ที่ดินประเภท ก. ๑ เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรมหรือที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
เป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้
ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เว้นแต่สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวเพื่อใช้
ภายในโรงงาน
(๕) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๖) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
หนา้ ๖๙
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๗) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(๘) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
(๙) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๕๐๐ ตารางเมตร
(๑๐) สานักงานที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๕๐๐ ตารางเมตร
(๑๑) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๑๒) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๑๓) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๑๔) การประกอบกิจการประเภทห้องแถวหรือตึกแถว
(๑๕) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม เว้นแต่การอยู่อาศัย
ประเภทอาคารชุดหรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่อยู่ภายใต้การดาเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การเคหะแห่ งชาติ หรือสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยสาหรับ
ผู้มีรายได้น้อย และไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๑๖) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๗) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๑๘) สนามกอล์ฟ หรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๑๙) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๐) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๐.๕ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบห้า
ข้อ ๒๑ ที่ดินประเภท ก. ๒ เป็นที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรมหรือที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
เป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้
ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
หนา้ ๗๐
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๒) การจั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ต ามกฎหมายว่า ด้ วยพลั ง งานนิ วเคลี ย ร์ เ พื่ อ สั น ติ เว้ น แต่
อยู่ภายใต้การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง เว้นแต่สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวเพื่อใช้
ภายในโรงงาน
(๕) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ สัต ว์เลื้อยคลาน
หรือสัตว์ป่า ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๖) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๗) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๘) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(๙) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
(๑๐) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๑,๐๐๐ ตารางเมตร
(๑๑) สานักงานที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๑,๐๐๐ ตารางเมตร
(๑๒) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๑๓) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๑๔) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๑๕) การประกอบกิจการประเภทห้องแถวหรือตึกแถว
(๑๖) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม เว้นแต่การอยู่อาศัย
ประเภทอาคารชุดหรืออาคารอยู่อาศัยรวม ที่อยู่ภายใต้การดาเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การเคหะแห่ งชาติ หรือสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยสาหรับ
ผู้มีรายได้น้อย และไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๑๗) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๘) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๑๙) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๒๐) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
หนา้ ๗๑
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๒๑) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๒๒) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๒๓) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๒๔) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๕) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรั กษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
ข้อ ๒๒ ที่ดินประเภท ก. ๓ เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรมหรือที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
เป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละห้าของที่ดินประเภทนี้
ในแต่ละบริเวณ
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานทุ ก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด
และจาพวกที่กาหนดให้ดาเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) การจัดการกากกัมมันตรังสีตามกฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ
(๓) คลังน้ามันและสถานที่เก็บรักษาน้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย
(๔) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่
บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ามันเชื้อเพลิง
(๕) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มหรือน้ากร่อย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อการค้า
(๖) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง
ทดแทนฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม
(๗) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(๘) โรงมหรสพตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
(๙) การประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๕๐๐ ตารางเมตร
(๑๐) สานักงานที่มีพื้นที่อาคารรวมในหลังเดียวกันเกิน ๕๐๐ ตารางเมตร
หนา้ ๗๒
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๑๑) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๑๒) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๑๓) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๑๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรม
(๑๕) การประกอบกิจการประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว
(๑๖) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม
(๑๗) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง เว้นแต่สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(๑๘) สถานีขนส่งสินค้าหรือการรับส่งสินค้า
(๑๙) คลังสินค้า
(๒๐) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๒๑) สวนสนุกหรือสวนสัตว์
(๒๒) สนามแข่งหรือสถานที่ทดสอบฝึกซ้อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องจักรกล เรือยนต์
หรือสัตว์ทุกประเภท
(๒๓) สนามกอล์ฟหรือสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ
(๒๔) กาจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
(๒๕) กาจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๒๖) ซื้อขายหรือเก็บชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเก่า
(๒๗) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
(๒๘) การประกอบกิจการขุดดินหรือดูดทรายเพื่อการค้า
(๒๙) การทาผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นหน่วยงานคอนกรีต
ผสมเสร็จในลักษณะชั่วคราวที่ตั้งอยู่ในหน่วยงานก่อสร้าง และต้องไม่ก่อเหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วย
การสาธารณสุข หรือไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๐.๕ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบ
ข้อ ๒๓ ที่ดินประเภท ล. ๑ เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการส่งเสริ มรักษา
คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิน เพื่ อ นั นทนาการ การส่ ง เสริม รัก ษาคุ ณ ภาพสิ่ งแวดล้อม
การอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเท่านั้น
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๐.๕ : ๑
หนา้ ๗๓
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบห้า
ข้อ ๒๔ ที่ดินประเภท ล. ๒ เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการส่งเสริมรักษา
คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิน เพื่ อ นั นทนาการ การส่ ง เสริม รัก ษาคุ ณ ภาพสิ่ งแวดล้อม
การอยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเท่านั้น
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๑.๕ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
ข้อ ๒๕ ที่ดินประเภท ล. ๓ เป็นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการส่งเสริมรักษา
คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิน เพื่ อ นั นทนาการ การส่ ง เสริม รัก ษาคุ ณ ภาพสิ่ งแวดล้อม
สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเท่านั้น
การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินรวมไม่เกิน ๐.๑ : ๑
(๒) มีสัดส่วนของที่ว่างปราศจากอาคารต่อพื้นที่ดินรวมไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบ
ข้อ ๒๖ ที่ ดิ น ประเภท ษ. เป็ น ที่ ดิ น ประเภทสถาบั น การศึ ก ษา ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
เพื่อการศึกษา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์
เท่านั้น
ข้อ ๒๗ ที่ ดิ น ประเภท ศน. เป็ น ที่ ดิ น ประเภทสถาบั น ศาสนา ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
เพื่ อ การศาสนา หรื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ศาสนา กิ จ การเพื่ อ ประโยชน์ ท างการศึ ก ษาของชุ ม ชน
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์เท่านั้น
ข้อ ๒๘ ที่ ดิ น ประเภท ส. เป็ น ที่ ดิ น ประเภทสถาบั น ราชการ การสาธารณู ป โภคและ
สาธารณู ป การ ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิน เพื่ อ สถาบัน ราชการ และการด าเนิน กิจ การของรั ฐที่ เ กี่ยวกับ
สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือกิจการสาธารณประโยชน์เท่านั้น
ข้อ ๒๙ การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายกฎกระทรวงนี้
ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) ที่ดิน ในบริเวณแนวถนนสาย ข ๑๓ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น นอกจาก
กิจการที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง
(ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร
หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่
(๒) ที่ดินในบริเวณแนวถนนสาย ก ๑ ถนนสาย ก ๒ ถนนสาย ก ๓ ถนนสาย ก ๔
ถนนสาย ก ๕ ถนนสาย ก ๖ ถนนสาย ก ๗ ถนนสาย ก ๘ ถนนสาย ก ๙ ถนนสาย ก ๑๐
หนา้ ๗๔
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
ถนนสาย ก ๑๑ ถนนสาย ก ๑๒ ถนนสาย ก ๑๓ ถนนสาย ก ๑๔ ถนนสาย ก ๑๕
ถนนสาย ก ๑๖ ถนนสาย ก ๑๗ ถนนสาย ก ๑๘ ถนนสาย ก ๑๙ ถนนสาย ก ๒๐
ถนนสาย ก ๒๑ ถนนสาย ข ๑ ถนนสาย ข ๒ ถนนสาย ข ๓ ถนนสาย ข ๔ ถนนสาย ข ๕
ถนนสาย ข ๖ ถนนสาย ข ๗ ถนนสาย ข ๘ ถนนสาย ข ๙ ถนนสาย ข ๑๐ ถนนสาย ข ๑๑
ถนนสาย ข ๑๒ ถนนสาย ค ๑ ถนนสาย ค ๒ และถนนสาย ค ๓ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อกิจการอื่น นอกจากกิจการตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้
(ก) การสร้างถนนหรือเกี่ยวข้องกับถนน และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(ข) การสร้างรั้วหรือกาแพง
(ค) เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร
หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่
(ง) การอยู่อาศัยที่มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๙ เมตร หรือไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่
(จ) การอยู่อาศัยที่ไม่ใช่ห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว
(ฉ) การอยู่อาศัยที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดิน
ข้อ ๓๐ ให้ผู้มีหน้าที่และอานาจในการควบคุมการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการ
ในเขตผังเมืองรวมปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้

ให้ไว้ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖2


พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
บัญชีทายกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร
พ.ศ. ๒๕๖๒

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๒ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตผลเกษตรกรรม
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การตม นึ่ง หรืออบพืชหรือเมล็ดพืช ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
(๒) การกะเทาะเมล็ดหรือเปลือกเมล็ดพืช ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
(๕) การเก็บรักษาหรือลําเลียงพืช เมล็ดพืช หรือผลิตผล ๓ ๓
จากพืชในไซโล โกดัง หรือคลังสินคา
(๖) การบด ปน หรือยอยสวนตาง ๆ ของพืชซึ่งมิใชเมล็ดพืช ๒ ๒ ๒
หรือหัวพืช
(๘) การเพาะเชื้อเห็ด กลวยไม หรือถั่วงอก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
(๙) การรอน ลาง คัด หรือแยกขนาดหรือคุณภาพของ ๑ ๑ ๑
ผลิตผลเกษตรกรรม
(๑๑) การฟกไขโดยใชตูอบ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๓ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับหิน กรวด ทราย หรือดินสําหรับ
ใชในการกอสราง อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๓) การรอนหรือคัดกรวดหรือทราย ๑

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตวซึ่งมิใชสัตวน้ํา
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การฆาสัตว ๓
(๒) การถนอมเนื้อสัตวโดยวิธีอบ รมควัน ใสเกลือ ดอง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
ตากแหง หรือทําใหเยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแหง
(๓) การทําผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปจากเนื้อสัตว มันสัตว หนังสัตว ๒ ๒ ๒ ๓ ๒
หรือสารที่สกัดจากไขสัตวหรือกระดูกสัตว
(๔) การสกัดน้ํามันหรือไขมันที่เปนอาหารจากสัตว หรือการทํา ๓
น้ํามันหรือไขมันที่เปนอาหารจากสัตวใหบริสุทธิ์
(๕) การบรรจุเนื้อสัตวหรือมันสัตวหรือผลิตภัณฑสําเร็จรูป ๒ ๒ ๒ ๓ ๒
จากเนื้อสัตวหรือมันสัตวในภาชนะที่ผนึกและอากาศเขาไมได
(๖) การลาง ชําแหละ แกะ ตม นึ่ง ทอด หรือบดสัตว หรือสวนหนึ่ง ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๒
สวนใดของสัตว
(๗) การทําผลิตภัณฑจากไขเพื่อใชประกอบเปนอาหาร ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
เชน ไขเค็ม ไขเยี่ยวมา ไขผง ไขเหลวเยือกแข็ง
หรือไขเหลวแชเย็น
๕ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ํานม อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทํานมสดใหไรเชื้อหรือฆาเชื้อโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ๓ ๓
เชน การพาสเจอรไรสหรือสเตอริไลส

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๒) การทํานมสดจากนมผงและไขมัน ๓ ๓
(๓) การทํานมขน นมผง หรือนมระเหย ๓ ๓
(๔) การทําครีมจากน้ํานม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๕) การทําเนยเหลวหรือเนยแข็ง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๖) การนํานมเปรี้ยวหรือนมเพาะเชื้อ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๖ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตวน้ํา อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําอาหารจากสัตวน้ําและบรรจุในภาชนะที่ผนึกและ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๒
อากาศเขาไมได
(๒) การถนอมสัตวน้ําโดยวิธีอบ รมควัน ใสเกลือ ดอง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ตากแหง หรือทําใหเยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแหง
(๓) การทําผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปจากสัตวน้ํา หนัง หรือไขมัน ๒ ๒ ๓ ๓ ๒
สัตวน้ํา
(๔) การสกัดน้ํามันหรือไขมันที่เปนอาหารจากสัตวน้ํา หรือการทํา ๓ ๓
น้ํามันหรือไขมันที่เปนอาหารจากสัตวน้ําใหบริสุทธิ์
(๕) การลาง ชําแหละ แกะ ตม นึ่ง ทอด หรือบดสัตวน้ํา ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒
๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ํามันจากพืช หรือสัตว หรือไขมัน
จากสัตว อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การสกัดน้ํามันจากพืช หรือสัตว หรือไขมันจากสัตว ๓ ๓
(๒) การอัดหรือปนกากพืชหรือสัตวที่สกัดน้ํามันออกแลว ๓ ๓

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๓) การทําน้ํามันจากพืช หรือสัตว หรือไขมันจากสัตวใหแข็ง ๓ ๓
โดยการเติมไฮโดรเจน
(๔) การทําน้ํามันจากพืช หรือสัตว หรือไขมันจากสัตวใหบริสุทธิ์ ๓ ๓
(๕) การทําเนยเทียม ครีมเทียม หรือน้ํามันผสมสําหรับปรุงอาหาร ๓ ๓
๘ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผัก พืช หรือผลไม
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําอาหารหรือเครื่องดื่มจากผัก พืช หรือผลไม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
และบรรจุในภาชนะที่ผนึกและอากาศเขาไมได
(๒) การถนอมผัก พืช หรือผลไมโดยวิธีกวน ตากแหง ดอง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
หรือทําใหเยือกแข็งโดยฉับพลันหรือเหือดแหง
๙ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเมล็ดพืชหรือหัวพืช
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การสี ฝด หรือขัดขาว ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
(๒) การทําแปง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
(๓) การปนหรือบดเมล็ดพืชหรือหัวพืช ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
(๔) การผลิตอาหารสําเร็จรูปจากเมล็ดพืชหรือหัวพืช ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
(๕) การผสมแปงหรือเมล็ดพืช ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
(๖) การปอกหัวพืชหรือทําหัวพืชใหเปนเสน แวน หรือแทง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๑๐ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหารจากแปง
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําขนมปงหรือขนมเคก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๒) การทําขนมปงกรอบหรือขนมอบแหง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๓) การทําผลิตภัณฑอาหารจากแปงเปนเสน เม็ด หรือชิ้น ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๑๑ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ําตาลซึ่งทําจากออย บีช
หญาหวาน หรือพืชอื่นที่ใหความหวาน อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําน้ําเชื่อม ๒,๓ ๓ ๑
(๕) การทําน้ําตาลกอนหรือน้ําตาลผง ๒,๓ ๓
(๗) การทําน้ําตาลจากน้ําหวานของตนมะพราว ตนตาลโตนด ๑ ๑
หรือพืชอื่น ๆ ซึ่งมิใชออย
๑๒ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับชา กาแฟ โกโก ช็อกโกเลต
หรือขนมหวาน อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําใบชาแหงหรือใบชาผง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๒) การคั่ว บด หรือปนกาแฟหรือการทํากาแฟผง ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒,๓ ๓ ๒ ๒
(๓) การทําโกโกผงหรือขนมจากโกโก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การทําช็อกโกเลต ช็อกโกเลตผง หรือขนมจากช็อกโกเลต ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๕) การทําเกกฮวยผง ขิงผง หรือเครื่องดื่มชนิดผงจากพืชอื่น ๆ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๖) การทํามะขามอัดเม็ด มะนาวอัดเม็ด หรือผลไมอัดเม็ด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๗) การเชื่อมหรือแชอิ่มผลไมหรือเปลือกผลไม หรือการ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
เคลือบผลไมหรือเปลือกผลไมดวยน้ําตาล
(๘) การอบหรือคั่วถั่วหรือเมล็ดผลไม (Nuts) หรือการเคลือบถั่ว ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
หรือเมล็ดผลไม (Nuts) ดวยน้ําตาล กาแฟ โกโก หรือช็อกโกเลต
(๙) การทําหมากฝรั่ง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
(๑๐) การทําลูกกวาดหรือทอฟฟ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
(๑๑) การทําไอศกรีม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
๑๓ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องปรุงหรือเครื่องประกอบอาหาร
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําผงฟู ๓ ๓
(๒) การทําเครื่องปรุงกลิ่น รส หรือสีของอาหาร ๓ ๓
(๓) การทําแปงเชื้อ ๓ ๓
(๔) การทําน้ําสมสายชู ๓ ๓
(๕) การทํามัสตารด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๓ ๓ ๑ ๑
(๖) การทําน้ํามันสกัด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๓ ๓ ๑ ๑
(๗) การบดหรือปนเครื่องเทศ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๓ ๓ ๑ ๑ ๑
(๘) การทําพริกปน พริกไทยปน หรือเครื่องแกง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๓ ๓ ๑ ๑ ๑

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๑๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทําน้ําแข็ง หรือตัด ซอย ๒,๓ ๓ ๒ ๒
บด หรือยอยน้ําแข็ง
๑๙ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับมอลตหรือเบียร อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๒) การทําเบียร ๓ ๓
๒๐ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ําดื่ม เครื่องดื่มที่ไมมี
แอลกอฮอล น้ําอัดลม หรือน้ําแร อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําน้ําดื่ม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๒) การทําเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๑
(๓) การทําน้ําอัดลม ๓ ๓
(๔) การทําน้ําแร ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๒๒ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสิ่งทอ ดาย หรือเสนใยซึ่งมิใชใยหิน
(Asbestos) อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๒) การทอหรือการเตรียมเสนดายยืนสําหรับการทอ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๒๓ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากสิ่งทอซึ่งมิใช
เครื่องนุงหม อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําผลิตภัณฑจากสิ่งทอเปนเครื่องใชในบาน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๒) การทําถุงหรือกระสอบซึ่งมิใชถุงหรือกระสอบพลาสติก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๓) การทําผลิตภัณฑจากผาใบ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การตบแตงหรือเย็บปกถักรอยสิ่งทอ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๒๔ โรงงานถักผา ผาลูกไม หรือเครื่องนุงหมดวยดายหรือเสนใย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือฟอกยอมสีหรือแตงสําเร็จผา ผาลูกไม หรือเครื่องนุงหม
ที่ถักดวยดายหรือเสนใย
๒๕ โรงงานผลิตเสื่อหรือพรมดวยวิธีทอ สาน ถัก หรือผูกใหเปนปุย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ซึ่งมิใชเสื่อหรือพรมที่ทําดวยยางหรือพลาสติกหรือพรมน้ํามัน
๒๖ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเชือก ตาขาย แห หรืออวน
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การผลิตเชือก ๒,๓ ๓ ๑
(๒) การผลิต ประกอบ หรือซอมแซมตาขาย แห หรืออวน ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
และรวมถึงชิ้นสวนหรืออุปกรณของผลิตภัณฑดังกลาว
(เฉพาะซอมแซม)
๒๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑซึ่งมิไดทําดวยวิธีถัก
หรือทอ อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําพรมน้ํามันหรือสิ่งปูพื้นซึ่งมีผิวหนาแข็งซึ่งมิไดทําจาก ๓ ๓
ไมกอก ยาง หรือพลาสติก
(๒) การทําผาน้ํามันหรือหนังเทียมซึ่งมิไดทําจากพลาสติกลวน ๓ ๓
(๓) การทําแผนเสนใยที่แชหรือฉาบผิวหนาดวยวัสดุซึ่งมิใชยาง ๓ ๓

ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๔) การทําสักหลาด ๓ ๓
(๕) การทําผาลูกไมหรือผาลูกไมเทียม ๓ ๓
(๖) การทําวัสดุจากเสนใยสําหรับใชทําเบาะ นวม หรือสิ่งที่ ๓ ๓
คลายคลึงกัน
(๗) การผลิตเสนใยหรือปุยใยจากวัสดุที่ทําจากเสนใยหรือปุยใย ๓ ๓
ที่ไมใชแลว
(๘) การทําดายหรือผาใบสําหรับยางนอกลอเลื่อน ๓ ๓
๒๘ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องแตงกายซึ่งมิใชรองเทา
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การตัดหรือเย็บเครื่องนุงหม เข็มขัด ผาเช็ดหนา ผาพันคอ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๒,๓ ๑
เนกไท หูกระตาย ปลอกแขน ถุงมือ ถุงเทาจากผา หนังสัตว
ขนสัตว หรือวัสดุอื่น
(๒) การทําหมวก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๒,๓ ๑
๓๒ โรงงานผลิตผลิตภัณฑหรือชิ้นสวนของผลิตภัณฑซึ่งมิใช
เครื่องแตงกายหรือรองเทาจาก
(๑) หนังสัตว ขนสัตว เขาสัตว กระดูกสัตว หนังเทียม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
(เฉพาะหนังสัตวและหนังเทียม)
๓๓ โรงงานผลิตรองเทาหรือชิ้นสวนของรองเทาซึ่งมิไดทําจากไม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ยางอบแข็ง ยางอัดเขารูป หรือพลาสติกอัดเขารูป
๑๐
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๓๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับไม อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การเลื่อย ไส ซอย เซาะรอง หรือการแปรรูปไม ๓ ๓
ดวยวิธีอื่นที่คลายคลึงกัน
(๒) การทําวงกบ ขอบประตู ขอบหนาตาง บานหนาตาง ๓ ๓
บานประตู หรือสวนประกอบที่ทําดวยไมของอาคาร
๓๕ โรงงานผลิตภาชนะบรรจุหรือเครื่องใชจากไมไผ หวาย ฟาง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ออ กก หรือผักตบชวา
๓๖ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากไมหรือไมกอก
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําภาชนะบรรจุ เครื่องมือ หรือเครื่องใชจากไม ๓ ๓
และรวมถึงชิ้นสวนของผลิตภัณฑดังกลาว
(๒) การทํารองเทา ชิ้นสวนของรองเทา หรือหุนรองเทาจากไม ๒,๓ ๓
(๓) การเเกะสลักไม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การทํากรอบรูปหรือกรอบกระจกจากไม ๓ ๓
(๕) การทําผลิตภัณฑจากไมกอก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๓๗ โรงงานทําเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแตงภายในอาคารจากไม ๓ ๓
แกว ยาง หรืออโลหะอื่นซึ่งมิใชเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแตง
ภายในอาคารจากพลาสติกอัดเขารูป และรวมถึงชิ้นสวน
ของผลิตภัณฑดังกลาว
๑๑
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๓๙ โรงงานผลิตภาชนะบรรจุจากกระดาษทุกชนิดหรือแผนกระดาษ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ไฟเบอร (Fibreboard)
๔๐ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเยื่อกระดาษ หรือกระดาษแข็ง
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การฉาบ ขัดมัน หรือทากาวกระดาษหรือกระดาษแข็ง ๓ ๓
หรือการอัดกระดาษหรือกระดาษแข็งหลายชั้นเขาดวยกัน
(๒) การทําผลิตภัณฑซึ่งมิใชภาชนะบรรจุจากเยื่อกระดาษ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือกระดาษแข็ง
๔๑ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ
(๑) การพิมพ การทําแฟมเก็บเอกสาร การเย็บเลม ทําปก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓
หรือตบแตงสิ่งพิมพ
(๒) การทําแมพิมพโลหะ ๓ ๓
๔๖ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยา อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
ดังตอไปนี้
(๑) การผลิตวัตถุที่รับรองไวในตํารายาที่รัฐมนตรีวาการ ๓ ๓
กระทรวงสาธารณสุขประกาศ
(๒) การผลิตวัตถุที่มุงหมายสําหรับใชในการวิเคราะหบําบัด ๓ ๓
บรรเทา รักษา หรือปองกันโรคหรือความเจ็บปวยของมนุษย
หรือสัตว
๑๒
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๓) การผลิตวัตถุที่มุงหมายสําหรับใหเกิดผลแกสุขภาพ โครงสราง ๓ ๓
หรือการกระทําหนาที่ใด ๆ ของรางกายมนุษยหรือสัตว
ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ
แตวัตถุตาม (๑) หรือ (๒) ไมรวมถึงวัตถุที่มุงหมายสําหรับ
ใชเปนอาหาร เครื่องกีฬา เครื่องสําอาง เครื่องมือที่ใชในการ
ประกอบโรคศิลปะ และสวนประกอบของเครื่องมือที่ใชในการนั้น
๔๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสบู เครื่องสําอาง หรือสิ่งปรุงแตง
รางกาย อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําสบู วัสดุสังเคราะหสําหรับซักฟอก แชมพู ผลิตภัณฑ ๓ ๓
สําหรับโกนหนวด หรือผลิตภัณฑสําหรับชําระลางหรือขัดถู
(๒) การทํากลีเซอรีนดิบหรือกลีเซอรีนบริสุทธิ์จากน้ํามันพืช ๓ ๓
หรือสัตว หรือไขมันสัตว
(๓) การทําเครื่องสําอางหรือสิ่งปรุงแตงรางกาย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การทํายาสีฟน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๕๑ โรงงานผลิต ซอม หลอ หรือหลอดอกยางนอกหรือยางใน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓
สําหรับยานพาหนะที่เคลื่อนที่ดวยเครื่องกล คน หรือสัตว
๕๓ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑพลาสติก อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําเครื่องมือ เครื่องใช เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ ๒,๓ ๒,๓
และรวมถึงชิ้นสวนของผลิตภัณฑดังกลาว
๑๓
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๒) การทําเสื่อหรือพรม ๒,๓ ๒,๓
(๓) การทําเปลือกหุมไสกรอก ๒,๓ ๒,๓
(๔) การทําภาชนะบรรจุ เชน ถุงหรือกระสอบ ๒,๓ ๒,๓
(๕) การทําพลาสติกเปนเม็ด แทง ทอ หลอด แผน ชิ้น ผง ๓ ๓
หรือรูปทรงตาง ๆ
(๖) การทําผลิตภัณฑสําหรับใชเปนฉนวน ๒,๓ ๒,๓
(๗) การทํารองเทาหรือชิ้นสวนของรองเทา ๒,๓ ๒,๓
(๘) การอัดพลาสติกหลาย ๆ ชั้นเปนแผน ๒,๓ ๒,๓
(๙) การลาง บด หรือยอยพลาสติก ๓ ๓
๕๕ โรงงานผลิตผลิตภัณฑเครื่องกระเบื้องเคลือบ เครื่องปนดินเผา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑,๒,๓ ๑,๒,๓ ๑
หรือเครื่องดินเผา และรวมถึงการเตรียมวัสดุเพื่อการดังกลาว
๕๖ โรงงานผลิตอิฐ กระเบื้อง หรือทอสําหรับใชในการกอสราง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑,๒,๓ ๑,๒,๓ ๑
เบาหลอมโลหะ กระเบื้องประดับ (Architectural Terracotta)
รองในเตาไฟ ทอหรือยอดปลองไฟ หรือวัตถุทนไฟจากดินเหนียว
๕๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับซีเมนต ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๓) การผสมซีเมนต ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอรอยางใดอยางหนึ่ง ๓
หรือหลายอยางเขาดวยกัน หรือการผสมซีเมนต ปูนขาว
หรือปูนปลาสเตอรอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
เขากับวัสดุอื่น
๑๔
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๕๘ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑอโลหะ อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําผลิตภัณฑคอนกรีต ผลิตภัณฑคอนกรีตผสม ๒
ผลิตภัณฑยิปซัม หรือผลิตภัณฑปูนปลาสเตอร
๖๑ โรงงานผลิต ตบแตง ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องมือหรือ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
เครื่องใชที่ทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และรวมถึงสวนประกอบ
หรืออุปกรณของเครื่องมือหรือเครื่องใชดังกลาว
๖๒ โรงงานผลิต ตบแตง ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องเรือน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือเครื่องตบแตงภายในอาคารที่ทําจากโลหะหรือโลหะ
เปนสวนใหญ และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณ
ของเครื่องเรือนหรือเครื่องตบแตงดังกลาว
๖๓ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑโลหะสําหรับใช
ในการกอสรางหรือติดตั้ง อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
ดังตอไปนี้
(๑) การทําสวนประกอบสําหรับใชในการกอสรางสะพาน ประตูน้ํา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ถังน้ํา หรือปลองไฟ
(๒) การทําสวนประกอบสําหรับใชในการกอสรางอาคาร ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๓) การทําสวนประกอบสําหรับใชในการตอเรือ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การทําสวนประกอบสําหรับใชในการสรางหรือซอมหมอน้ํา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๕) การทําสวนประกอบสําหรับใชกับระบบเครื่องปรับอากาศ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๑๕
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๖๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑโลหะ อยางใด
อยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําภาชนะบรรจุ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
(๒) การทําผลิตภัณฑดวยวิธีปมหรือกระแทก ๓ ๓
(๓) การทําผลิตภัณฑดวยเครื่องอัดชนิดเกลียว ๓ ๓
(๔) การทําตูหรือหองนิรภัย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
(๕) การทําผลิตภัณฑจากลวดหรือสายเคเบิลโดยใชลวดที่ไดมาจาก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
แหลงผลิตอื่นซึ่งมิใชลวดหรือสายเคเบิลที่หุมดวยฉนวน
(๖) การทําขดสปริงเหล็ก สลัก แปนเกลียว วงแหวน หมุดย้ํา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือหลอดชนิดพับไดที่ไมทําในโรงรีดหรือดึงขั้นตน
(Primary Rolling or Drawing Mills)
(๗) การทําเตาไฟหรือเครื่องอุนหองอยางอื่นซึ่งไมใชไฟฟา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๘) การทําเครื่องสุขภัณฑเหล็กหรือโลหะเคลือบเครื่องทองเหลือง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
สําหรับใชในการตอทอหรือเครื่องประกอบวาลวหรือทอ
(๙) การทําเครื่องใชเล็ก ๆ จากโลหะ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
(๑๐) การทําผลิตภัณฑโลหะสําเร็จรูปดวยวิธีเคลือบหรือลงรัก ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
(Enamelling Japanning or Lacquering) ชุบ หรือขัด
(๑๑) การอัดเศษโลหะ ๓ ๓
(๑๒) การตัด พับ หรือมวนโลหะ ๓ ๓ ๒
๑๖
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๑๓) การกลึง เจาะ ควาน กัด ไส เจียน หรือเชื่อมโลหะทั่วไป ๓ ๓ ๒
(๑๔) การทําชิ้นสวนหรืออุปกรณของผลิตภัณฑโลหะตาม (๑) ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
ถึง (๑๐)
๖๕ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องยนต ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
เครื่องกังหัน และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณ
ของเครื่องยนตหรือเครื่องกังหันดังกลาว
๖๖ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องจักร ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑ ๑
สําหรับใชในการกสิกรรมหรือการเลี้ยงสัตว และรวมถึง
สวนประกอบหรืออุปกรณของเครื่องจักรดังกลาว
๖๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องจักร สวนประกอบ
หรืออุปกรณของเครื่องจักรสําหรับประดิษฐโลหะหรือไม
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องจักรสําหรับโรงเลื่อย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ไส ทําเครื่องเรือนหรือทําไมวีเนียร
(๒) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องกลึง เครื่องควาน เครื่องเจาะ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
เครื่องกัด (Milling Machines) เครื่องเจียน เครื่องตัด
(Shearing Machines) หรือเครื่องไส (Shaping Machines)
(เฉพาะดัดแปลง)
(๓) การดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องเลื่อยตัดโลหะดวยเครื่องยนต ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือเครื่องขัด
๑๗
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๔) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องทุบโลหะ (Drop Forges ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
or Forging Machines) (เฉพาะดัดแปลง)
(๕) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องรีดโลหะ เครื่องอัดโลหะ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือเครื่องดึงรีดโลหะ (เฉพาะดัดแปลง)
(๖) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องดันรีด เครื่องทําใหหลอมละลาย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือเชื่อมโดยไมใชไฟฟา (เฉพาะดัดแปลง)
(๗) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมแบบ (Dies) หรือเครื่องจับ (Jigs) ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
สําหรับใชกับเครื่องมือกล (เฉพาะดัดแปลง)
(๘) การทําสวนประกอบหรืออุปกรณสําหรับเครื่องจักรตาม (๑) ๒,๓ ๓
ถึง (๗)
๖๘ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องจักร ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
สําหรับอุตสาหกรรมกระดาษ เคมี อาหาร การปนทอ การพิมพ
การผลิตซีเมนตหรือผลิตภัณฑดินเหนียว การกอสราง การทํา
เหมืองแร การเจาะหาปโตรเลียม หรือการกลั่นน้ํามัน และรวมถึง
สวนประกอบหรืออุปกรณของเครื่องจักรดังกลาว
๖๙ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องคํานวณ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
เครื่องทําบัญชี เครื่องจักรสําหรับระบบบัตรเจาะ เครื่องจักร
สําหรับใชในการคํานวณชนิดดิจิตัลหรือชนิดอนาลอก
หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกสสําหรับปฏิบัติกับขอมูลที่เกี่ยวของกัน
๑๘
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
หรืออุปกรณ (Digital or Analog Computers or
Associated Electronic Data Processing Equipment or
Accessories) เครื่องรวมราคาของขาย (Cash Registers)
เครื่องพิมพดีด เครื่องชั่งซึ่งมิใชเครื่องชั่งที่ใชในหองทดลอง
วิทยาศาสตร เครื่องอัดสําเนาซึ่งมิใชเครื่องอัดสําเนา
ดวยการถายภาพ และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณ
ของผลิตภัณฑดังกลาว
๗๐ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องสูบน้ํา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
เครื่องอัดอากาศหรือกาซ เครื่องเปาลม เครื่องปรับหรือถายเท
อากาศ เครื่องโปรยน้ําดับไฟ ตูเย็นหรือเครื่องประกอบตูเย็น
เครื่องขายสินคาอัตโนมัติ เครื่องลาง ซัก ซักแหง หรือรีดผา
เครื่องเย็บ เครื่องสงกําลังกล เครื่องยก ปนจั่น ลิฟต บันไดเลื่อน
รถบรรทุก รถแทรกเตอร รถพวงสําหรับใชในการอุตสาหกรรม
รถยกซอนของ (Stackers) เตาไฟหรือเตาอบสําหรับใชใน
การอุตสาหกรรมหรือสําหรับใชในบานแตผลิตภัณฑนั้นตอง
ไมใชพลังงานไฟฟา และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณ
ของผลิตภัณฑดังกลาว
๑๙
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๗๑ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องจักรหรือ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ผลิตภัณฑที่ระบุไวในลําดับที่ ๗๐ เฉพาะที่ใชไฟฟา เครื่องยนตไฟฟา
เครื่องกําเนิดไฟฟา หมอแปลงแรงไฟฟา เครื่องสับหรือบังคับไฟฟา
เครื่องใชสําหรับแผงไฟฟา เครื่องเปลี่ยนทางไฟฟา เครื่องสง
หรือจําหนายไฟฟา เครื่องสําหรับใชบังคับไฟฟา หรือเครื่องเชื่อม
ไฟฟา
๗๒ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องรับวิทยุ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
เครื่องรับโทรทัศน เครื่องกระจายเสียงหรือบันทึกเสียง
เครื่องเลนแผนเสียง เครื่องบันทึกคําบอก เครื่องบันทึกเสียง
ดวยเทป เครื่องเลนหรือเครื่องบันทึกแถบภาพ (วิดิทัศน)
แผนเสียง เทปแมเหล็กที่ไดบันทึกเสียงแลว เครื่องโทรศัพท
หรือโทรเลขชนิดมีสายหรือไมมีสาย เครื่องสงวิทยุ เครื่องสง
โทรทัศน เครื่องรับสงสัญญาณหรือจับสัญญาณ เครื่องเรดาร
ผลิตภัณฑที่เปนตัวกึ่งนําหรือตัวกึ่งนําชนิดไวที่เกี่ยวของ
(Semi - Conductor or Related Sensitive Semi -
Conductor Devices) คาปาซิเตอรหรือคอนเดนเซอร
อิเล็กทรอนิกสชนิดคงที่หรือเปลี่ยนแปลงได (Fixed or Variable
Electronic Capacitors or Condensers) เครื่องหรือหลอด
เรดิโอกราฟ เครื่องหรือหลอดฟลูโรสโคป หรือเครื่องหรือหลอด
๒๐
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
เอกซเรย และรวมถึงการผลิตอุปกรณหรือชิ้นสวนสําหรับใชกับ
เครื่องอิเล็กทรอนิกสดังกลาว
๗๓ โรงงานผลิต ประกอบ หรือดัดแปลงเครื่องมือหรือเครื่องใชไฟฟา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ที่ไมไดระบุไวในลําดับใด และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณ
ของผลิตภัณฑดังกลาว
๗๕ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเรือ อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การตอ ซอมแซม ทาสี หรือตอกหมันเรือในอูตอเรือนอกจาก ๑ ๑
เรือยาง (เฉพาะซอมแซมและทาสี)
(๒) การทําชิ้นสวนพิเศษสําหรับเรือหรือเครื่องยนตเรือ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๗๖ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับรถไฟ รถรางไฟฟา หรือกระเชาไฟฟา
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การสราง ดัดแปลง หรือซอมแซมรถที่ใชในการรถไฟ รถรางไฟฟา ๒,๓ ๓
หรือกระเชาไฟฟา (เฉพาะดัดแปลงหรือซอมแซม)
(๒) การทําชิ้นสวนพิเศษหรืออุปกรณสําหรับรถที่ใชในการรถไฟ ๒,๓ ๓
รถรางไฟฟา หรือกระเชาไฟฟา
๗๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับรถยนตหรือรถพวง อยางใด
อยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การสราง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
รถยนตหรือรถพวง
๒๑
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
(๒) การทําชิ้นสวนพิเศษหรืออุปกรณสําหรับรถยนตหรือรถพวง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
๗๘ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับจักรยานยนต จักรยานสามลอ
หรือจักรยานสองลอ อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การสราง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
จักรยานยนต จักรยานสามลอ หรือจักรยานสองลอ
(๒) การทําชิ้นสวนพิเศษหรืออุปกรณสําหรับจักรยานยนต ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
จักรยานสามลอ หรือจักรยานสองลอ
๘๐ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมลอเลื่อน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ที่ขับเคลื่อนดวยแรงคนหรือสัตวซึ่งมิใชจักรยาน และรวมถึง
สวนประกอบหรืออุปกรณของผลิตภัณฑดังกลาว
๘๑ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช หรืออุปกรณ
วิทยาศาสตรหรือการแพทย อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
ดังตอไปนี้
(๑) การทํา ดัดแปลง หรือซอมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณวิทยาศาสตร ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
ที่ใชในหองทดลองหรืออุปกรณที่ใชในการชั่ง ตวง วัด หรือบังคับ
ควบคุม (เฉพาะซอมแซม)
(๓) การทําเครื่องมือ เครื่องใช หรืออุปกรณการแพทย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓
๒๒
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๘๒ โรงงานผลิตเครื่องมือหรือเครื่องใชเกี่ยวกับนัยนตาหรือการวัด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓
สายตา เลนส เครื่องมือหรือเครื่องใชที่ใชแสงเปนอุปกรณ
ในการทํางาน หรือเครื่องอัดสําเนาดวยการถายภาพ
๘๓ โรงงานผลิตหรือประกอบนาฬิกา เครื่องวัดเวลา หรือชิ้นสวน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ของนาฬิกาหรือเครื่องวัดเวลา
๘๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเพชร พลอย ทอง เงิน นาก
หรืออัญมณี อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การทําเครื่องประดับโดยใชเพชร พลอย ไขมุก ทองคํา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
ทองขาว เงิน นาก หรืออัญมณี
(๒) การทําเครื่องใชดวยทองคํา ทองขาว เงิน นาก หรือกะไหลทอง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรือโลหะที่มีคา
(๓) การตัด เจียระไน หรือขัดเพชร พลอย หรืออัญมณี ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การเผาหรืออบพลอยหรืออัญมณีอื่น ๆ ๒ ๒
(๕) การทําดวงตราหรือเหรียญตราของเครื่องราชอิสริยาภรณ ๓ ๓
หรือเหรียญอื่น
๘๕ โรงงานผลิตหรือประกอบเครื่องดนตรี และรวมถึงชิ้นสวน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
หรืออุปกรณของเครื่องดนตรีดังกลาว
๒๓
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๘๖ โรงงานผลิตหรือประกอบเครื่องมือหรือเครื่องใชในการกีฬา ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
การบริหารรางกาย การเลนบิลเลียด โบวลิ่ง หรือตกปลา
และรวมถึงชิ้นสวนหรืออุปกรณของเครื่องมือหรือเครื่องใช
ดังกลาว
๘๗ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องเลน เครื่องมือ หรือเครื่อง
ใชที่มิไดระบุไวในลําดับอื่น อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
ดังตอไปนี้
(๑) การทําเครื่องเลน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๒) การทําเครื่องเขียนหรือเครื่องวาดภาพ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๓) การทําเครื่องเพชรหรือพลอยหรือเครื่องประดับสําหรับการแสดง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๔) การทํารม ไมถือขนนก ดอกไมเทียม ซิป กระดุม ไมกวาด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
แปรง ตะเกียง โปะตะเกียงหรือไฟฟา กลองสูบยา
หรือกลองบุหรี่ กนกรองบุหรี่ หรือไฟแช็ก
(๕) การทําปาย ตรา เครื่องหมาย ปายติดของ หรือเครื่อง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
โฆษณาสินคา ตราโลหะหรือยาง แมพิมพลายฉลุ (Stencils)
(๖) การทําแหคลุมผม ชองผม หรือผมปลอม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๗) การทําผลิตภัณฑจากวัสดุเหลือใชที่มิไดระบุไวในลําดับใด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๙๐ โรงงานจัดหาน้ํา ทําน้ําใหบริสุทธิ์ หรือจําหนายน้ําไปยังอาคาร ๓ ๓ ๓
หรือโรงงานอุตสาหกรรม
๒๔
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๙๑ โรงงานบรรจุสินคาในภาชนะโดยไมมีการผลิต อยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การบรรจุสินคาทั่วไป ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
(๒) การบรรจุกาซ แตไมรวมถึงการบรรจุกาซที่เปนน้ํามันเชื้อเพลิง ๓
ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
๙๒ โรงงานหองเย็น ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๙๓ โรงงานซอมรองเทาหรือเครื่องหนัง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๙๔ โรงงานซอมเครื่องมือไฟฟาหรือเครื่องใชไฟฟาสําหรับใชในบาน ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
หรือใชประจําตัว
๙๕ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยานที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต
รถพวง จักรยานสามลอ จักรยานสองลอ หรือสวนประกอบ
ของยานดังกลาว อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๑) การซอมแซมยานที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓
หรือสวนประกอบของยานดังกลาว
(๒) การซอมแซมรถพวง จักรยานสามลอ จักรยานสองลอ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓
หรือสวนประกอบของยานดังกลาว
(๓) การพนสีกันสนิมยานที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต ๓ ๓
(๔) การลางหรืออัดฉีดยานที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๙๖ โรงงานซอมนาฬิกา เครื่องวัดเวลา หรือเครื่องประดับที่ทําดวย ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
เพชร พลอย ทองคํา ทองขาว เงิน นาก หรืออัญมณี
๒๕
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๙๗ โรงงานซอมผลิตภัณฑที่มิไดระบุการซอมไวในลําดับใด ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑ ๑
๙๘ โรงงานซักรีด ซักแหง ซักฟอก รีด อัด หรือยอมผา เครื่องนุงหม ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒,๓ ๓ ๑
พรม หรือขนสัตว
๑๐๐ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการตบแตงหรือเปลี่ยนแปลง
คุณลักษณะของผลิตภัณฑหรือสวนประกอบของผลิตภัณฑ
โดยไมมีการผลิต อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(๓) การลงรักหรือการประดับตบแตงดวยแกว กระจก มุก ทอง ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๓ ๓ ๑ ๑
หรืออัญมณี
๑๐๑ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste Treatment Plant) ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓
(เฉพาะโรงงานบําบัดน้ําเสีย)
๑๐๔ โรงงานผลิต ประกอบ ดัดแปลง หรือซอมแซมหมอไอน้ํา (Boiler) ๓ ๓
หรือหมอตมที่ใชของเหลวหรือกาซเปนสื่อนําความรอน ภาชนะ
ทนแรงดัน และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณของผลิตภัณฑ
ดังกลาว
๑๐๕ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝงกลบ ๓
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีลักษณะและคุณสมบัติ
ตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
๒๖
ที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย อุตสาหกรรม ชนบทและ อนุรักษชนบทและ
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน หนาแนน พาณิชยกรรม
หนาแนนนอย หนาแนนมาก และคลังสินคา เกษตรกรรม เกษตรกรรม
ปานกลาง
ย.๑ ย.๒ ย.๓ ย.๔ ย.๕ ย.๖ พ.๑ พ.๒ พ.๓ อ.๑ อ.๓ ก.๑ ก.๒ ก.๓
๑๐๖ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ๓ ๓
ที่ไมใชแลวหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบหรือ
ผลิตภัณฑใหมโดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม

หมายเหตุ ลําดับที่ หมายถึง ลําดับที่ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน


๑ หมายถึง ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการโรงงานจําพวกที่ ๑ ตามกฎหมายวาดวยโรงงานได
๒ หมายถึง ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการโรงงานจําพวกที่ ๒ ตามกฎหมายวาดวยโรงงานได
๓ หมายถึง ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการโรงงานจําพวกที่ ๓ ตามกฎหมายวาดวยโรงงานได
รายการประกอบแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภทท้ายกฎกระทรวง
ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร
พ.ศ. ๒๕๖๒

การใช้ประโยชน์ที่ดนิ ให้เป็นไปตามแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
ท้ายกฎกระทรวง ตามที่กาหนดไว้ในข้อ ๖ คือ
๑. ที่ดินในบริเวณ ย. ๑ ถึง ย. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีเหลือง ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย
หนาแน่นน้อย มีรายการดังต่อไปนี้
ย. ๑ - ๑ ด้านเหนือ จดเส้ น ตรงที่ ลากต่ อ จากถนนไม่ ป รากฏชื่อ ฟากใต้
ไปทางทิศตะวันตกจนบรรจบกับคลองสหราษฎร์ (วั ดใหม่) ฝั่งตะวันออก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้
สานักงานแขวงการทางสมุทรสาคร และเส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันออก จดซอยเพชรเกษม ๘๕ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ข ๔ ฟากเหนือ และโรงเรียนเทศบาลอ้อมน้อย
ด้านตะวันตก จดคลองสหราษฎร์ (วัดใหม่) ฝั่งตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ส. - ๔ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน
ย. ๑ - ๒ ด้านเหนือ จดคลองอ้อมใหญ่ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นตรงที่ลากต่อจากถนนไม่ ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก
ไปทางทิศเหนือจนบรรจบกับเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือและฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ นแบ่ งเขตการปกครองระหว่างต าบลอ้ อมน้ อย
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ย. ๑ - ๓ ด้านเหนือ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ทางหลวงชนบท
สค. ๔๐๑๔ ฟากใต้ ถนนสาย ค ๓ ฟากตะวันตก และเส้นตรงที่ลากต่อจากถนนไม่ปรากฏชื่อ
ฟากตะวันออก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จนบรรจบกับเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก

ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ส. - ๗ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน
ย. ๑ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งใต้
ฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก
ด้านตะวันออก จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๑
กับหลักเขตที่ ๒ โรงเรียนวัดดอนไก่ดี และโรงเรียนกระทุ่มแบนวิเศษสมุทคุณ
ด้านใต้ จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๑
กับหลักเขตที่ ๙
ด้านตะวันตก จดคลองท่าตอ ฝั่งตะวันออก
ย. ๑ - ๕ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดวัดดอนไก่ดี
ด้านใต้ จดโรงเรี ย นวัด ดอนไก่ ดี และโรงเรี ย นกระทุ่ ม แบน
วิเศษสมุทคุณ
ด้านตะวันตก จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๑
กับหลักเขตที่ ๒ โรงเรียนวัดดอนไก่ดี และโรงเรียนกระทุ่มแบนวิเศษสมุทคุณ
ย. ๒ - ๑ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านตะวันออก จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านใต้ จดคลองอ้อมน้อย ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ย. ๒ - ๒ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านตะวันออก จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓๐๐ เมตร กับริมฝั่งคลองตัน ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ย. ๒ - ๓ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๔ ฟากใต้

ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ซอยเพชรเกษม ๘๗ และเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันตก จดคลองสหราษฎร์ (วัดใหม่) ฝั่งตะวันออก
ย. ๒ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้อยกับ
ตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านตะวันตก จดคลองสหราษฎร์ (วัดใหม่) ฝั่งตะวันออก
ย. ๒ - ๕ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๕ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ
สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และถนนสาย ข ๙ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันออก
ย. ๒ - ๖ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ
ด้านตะวันตก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ และค่ายกาแพงเพชรอัครโยธิน
ย. ๒ - ๗ ด้านเหนือ จดถนนสาย ค ๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดคลองแนวลิขิต ๒ ฝัง่ ตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑

ย. ๒ - ๘ ด้านเหนือ จดถนนสาย ค ๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลท่าไม้
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันตก จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ย. ๒ - ๙ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ก ๘ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๘ ฟากเหนือ และถนนสาย ข ๑๐
ฟากตะวันออก
ย. ๒ - ๑๐ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๑
กับหลักเขตที่ ๙
ด้านตะวันออก จดทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๒ ฟากตะวั น ตก
และเส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางซอยเทศบาล ๑
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ และเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดคลองท่าตอ ฝั่งตะวันออก
ย. ๒ - ๑๑ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน
กับ ต าบลดอนไก่ดี คลองเกาะโพธิ์ ฝั่งตะวัน ตก คลองยายสุ ข ฝั่งใต้ ถนนสาย ข ๑๓ ฟากใต้
ถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวัน ออกและฟากตะวันตก เส้น ขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูน ย์กลาง
ทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ถนนสาย ก ๙ ฟากตะวั น ออกและฟากตะวั น ตก เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่ า งต าบลดอนไก่ ดี กั บ ต าบลคลองมะเดื่ อ ถนนสาย ก ๑๑ ฟากตะวั น ตก
และถนนสาย ก ๑๖ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นตรงที่ลากต่อจากคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันออก
ไปทางทิศตะวันตกจนบรรจบกับซอยบ้านคลองตะโก ซอย ๓ ฟากตะวันออก ถนนเลียบคลองมะเดื่อ
ฟากเหนือ ซอยบ้านคลองตะโก ซอย ๒ ฟากเหนือ เส้นตรงที่ลากต่อจากซอยบ้านคลองตะโก ซอย ๒

ฟากเหนือ ไปทางทิศตะวันตกจนบรรจบกับคลองต้นตะโก ฝั่งตะวันออก คลองต้นตะโก ฝั่งตะวันตก
คลองสาธารณะ ฝั่งเหนือ คลองหนองรี ฝั่งตะวันตก ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ และเส้นแบ่งเขต
การปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลท่าเสา
ด้านตะวันตก จดวิ ท ยาลั ย ประมงสมุ ท รสาคร และเส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลท่าเสา
ย. ๒ - ๑๒ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
และโครงการส่งน้าและบารุงรักษาภาษีเจริญ
ด้านตะวันออก จดสวนสุขภาพ ๗๒ พรรษา ร.๙
ด้านใต้ จดถนนสุคนธวิท ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ย. ๒ - ๑๓ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท
สค. ๒๐๕๖
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๓ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ก ๑๖ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดวั ด ราษฎร์ บ ารุ ง (หงอนไก่ ) และเส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลคลองมะเดื่อ
ย. ๒ - ๑๔ ด้านเหนือ จดถนนสุคนธวิท ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๔ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน
กับตาบลดอนไก่ดี และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบนกับตาบลท่าเสา
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ย. ๒ - ๑๕ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน
กับตาบลท่าเสา
ด้านตะวันออก จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า เสา
กับตาบลดอนไก่ดี
ด้านใต้ จดคลองท่าเสา ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ย. ๒ - ๑๖ ด้านเหนือ จดคลองท่าเสา ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดคลองน้อย ฝั่งตะวันตก

ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๓๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๑๘
ด้านตะวันตก จดคลองรางกระทุ่ม ฝั่งตะวันออก และถนนสาย ก ๑๕
ฟากตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ส. - ๒๑ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน
ย. ๓ - ๑ ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ และคลองวัดนางสาว ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค ๓ ฟากตะวัน ตก เส้ น ตั้ ง ฉากกั บ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
บรรจบกับคลองวัดนางสาว ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
เป็นระยะ ๑,๐๐๐ เมตร และเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๑๗๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ฟากเหนื อและฟากตะวัน ออก คลองวัด นางสาว ฝั่ งเหนื อ
และเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้ น ตรงที่ ล ากต่ อ จากเส้ น ขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งเหนือ ไปทางทิศใต้จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนไม่ปรากฏชื่อ
ฟากตะวันออก
ย. ๓ - ๒ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๑๓ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างส่วนตาบลดอนไก่ดี
กับตาบลท่าเสา และถนนสาย ก ๑๗ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดคลองท่าเสา ฝั่งตะวันออก
ย. ๓ - ๓ ด้านเหนือ จดเส้ น แบ่ งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ ดี
กับตาบลท่าเสา
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดโรงเรียนวัดท่าเสา วัดท่าเสา และถนนสาย ก ๑๘
ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดคลองน้อย ฝั่งตะวันออก และคลองท่าเสา ฝั่งตะวันออก
ย. ๓ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้ น แบ่ งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ ดี
กับตาบลท่าเสา
ด้านตะวันออก จดวิทยาลัยประมงสมุทรสาคร และเส้นขนานระยะ
๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ก ๑๘

ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖ ฟากตะวัน ออก
ด้านตะวันตก จดเส้ น ขนานระยะ ๑๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๑๘
๒. ที่ดินในบริเวณ ย. ๔ และ ย. ๕ ที่กาหนดไว้เป็นสีส้ม ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย
หนาแน่นปานกลาง มีรายการดังต่อไปนี้
ย. ๔ - ๑ ด้านเหนือ จดเส้ น ขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) และถนนสาย ข ๔ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๓ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค ๑ ฟากตะวันออก
ย. ๔ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๓ ฟากตะวันตก คลองสหราษฎร์
(วัดใหม่) ฝั่งตะวันตก และเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ข ๙ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค ๑ ฟากตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ส. - ๖ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน
ย. ๔ - ๓ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๙ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ และโรงเรียนบ้านสวนหลวง
ด้านตะวันตก จดคลองแนวลิขิต ๒ ฝั่งตะวันออก ถนนสาย ค ๑
ฟากใต้และฟากตะวันออก
ย. ๔ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดค่ายกาแพงเพชรอัครโยธิน
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑

ย. ๔ - ๕ ด้านเหนือ จดถนนบุญมี ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดซอยเทศบาล ๕ ฟากตะวันตก และเส้นตรงที่ลาก
ต่ อ จากซอยเทศบาล ๕ ฟากตะวั น ตก ไปทางทิ ศ ใต้ จ นบรรจบกั บ เส้ น ขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งเหนือ
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดคลองกระทุ่มแบน ฝั่งตะวันออก
ย. ๔ - ๖ ด้านเหนือ จดถนนสาย ก ๘ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก และเส้นตรงที่ลาก
ต่อจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ไปทางทิศเหนือจนบรรจบกับถนนสาย ก ๘
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณสถานีถ่ายทอดโทรคมนาคมกระทุ่มแบน
ย. ๔ - ๗ ด้านเหนือ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ข ๑๒
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๕ ฟากตะวั นตก และถนนไม่ ปรากฏชื่ อ
ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ข ๑๒ เส้นขนานระยะ ๗๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนเลียบคลองเทพกาญจนา เส้นขนานระยะ
๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒ และเส้นขนานระยะ ๔๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒
ด้านตะวันตก จดคลองแคราย ฝั่งตะวันออก
ย. ๔ - ๘ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดโรงเรียนบ้านคลองกระทุ่มแบน ที่ทาการองค์การบริหาร
ส่วนตาบลคลองมะเดื่อ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองมะเดื่อ ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือ
และถนนสาย ก ๑๖ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๓ ฟากตะวันออก

ย. ๔ - ๙ ด้านเหนือ จดซอยคลองมะเดื่อ ๑๒ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ซอยคลองมะเดื่อ ๑๒
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ย. ๔ - ๑๐ ด้านเหนือ จดถนนสาย ก ๒๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดคลองแสนสุข ฝั่งตะวันออก
ย. ๕ - ๑ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดกรุงเทพมหานคร
ด้านตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร
ด้านใต้ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๓๑๐ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๒ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๓๑๐ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐
ย. ๕ - ๓ ด้านเหนือ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันออก จดคลองอ้อมน้อย ฝั่งตะวันตก
๑๐
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๔๑๔ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๓๑๐ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๕ ด้านเหนือ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๓๑๐ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากเหนื อ วัดศรีสาราญราษฎร์บ ารุง และโรงเรียนวัดศรีสาราญราษฎร์บารุง
(แช่มประชาอุทิศ)
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐
ย. ๕ - ๖ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนไม่ ป รากฏชื่อ ฟากตะวัน ตกและฟากเหนื อ
เส้น ตรงที่ ลากต่ อจากถนนไม่ ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ไปทางทิ ศตะวัน ตกจนบรรจบกั บถนนสาย ข ๓
และคลองสหราษฎร์ (วัดใหม่) ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ข ๔ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดซอยเพชรเกษม ๙๓ ฟากตะวันออก และคลองอ้อมแช่ม
ฝั่งตะวันออก
ย. ๕ - ๗ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้
๑๑
ด้านตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๘ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันตก จดเส้ น ขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ซอยเพชรเกษม ๘๗ ซอยเพชรเกษม ๘๕ ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลาง
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) และสานักงานแขวงการทางสมุทรสาคร
ย. ๕ - ๙ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๙ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๑๐ ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ฟากตะวัน ตก ที่จุด ซึ่งอยู่ห่ างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบกับคลองวัด นางสาว
ไปทางทิศตะวัน ตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ เป็นระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
และซอยวัดนางสาว ๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลท่าไม้ กับตาบลสวนหลวง
ด้านใต้ จดเขตเทศบาลเมื องกระทุ่ มแบน ระหว่ างหลั กเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ด้านตะวันตก จดเส้ นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก และเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
๑๒
ย. ๕ - ๑๑ ด้านเหนือ จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบกับคลองวัดนางสาว
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ เป็นระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
ด้านตะวันออก จดเส้นตรงที่ ลากต่อจากถนนไม่ ปรากฏชื่ อ ฟากตะวั นตก
ไปทางทิศเหนือจนบรรจบกับเส้นขนานระยะ ๔๒๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ ถนนไม่ปรากฏชื่อ
ฟากตะวั น ตก ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ ฟากเหนื อ และเส้ น ขนานระยะ ๕๐๐ เมตร
กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ด้านใต้ จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า ไม้
กับตาบลสวนหลวง และถนนสาย ค ๑ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๑๒ ด้านเหนือ จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า ไม้
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ และเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๑๓ กับหลักเขตที่ ๑๔
ด้านตะวันตก จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า ไม้
กับตาบลสวนหลวง
ย. ๕ - ๑๓ ด้านเหนือ จดถนนสาย ค ๑ ฟากใต้ และเส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างตาบลท่าไม้กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันออก จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๑๔ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งใต้
และโรงพยาบาลกระทุ่มแบน
ด้านตะวันออก จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๒ กับ
หลักเขตที่ ๓ และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างเทศบาลตาบลสวนหลวงกับตาบลตลาดกระทุ่มแบน
๑๓
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้ น ขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ซอยเทศบาล ๑ โรงเรียนกระทุ่มแบนวิเศษสมุทคุณ โรงเรียนวัดดอนไก่ดี และวัดดอนไก่ดี
ย. ๕ - ๑๕ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๑๖ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กั บ ต าบลคลองมะเดื่ อ และเขตเทศบาลเมื อ งกระทุ่ ม แบน ระหว่างหลั ก เขตที่ ๒ หลั ก เขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๔
ย. ๕ - ๑๗ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ และถนนสาย ก ๘ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก และเส้นตรงที่ ลาก
ต่อจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ไปทางทิศเหนือจนบรรจบกับถนนสาย ก ๘ และถนนสาย ข ๑๐
ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้ น ขนานระยะ ๖๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ย. ๕ - ๑๘ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดซอยเทศบาล ๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสุคนธวิท ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดคลองเกาะโพธิ์ ฝั่งตะวันออก
๑๔
ย. ๕ - ๑๙ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากใต้ และทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๓ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท
สค. ๒๐๕๖ โรงเรียนวัดราษฎร์บารุง วัดราษฎร์บารุง (หงอนไก่) และคลองกระทุ่มแบน ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดคลองกระทุ่มแบน ฝั่งตะวันออก
ย. ๕ - ๒๐ ด้านเหนือ จดถนนสุคนธวิท ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน
กับตาบลดอนไก่ดี
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๔ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๒๑ ด้านเหนือ จดทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดคลองกระทุ่มแบน ฝั่งตะวันตก และถนนสาย ก ๙
ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท
สค. ๒๐๕๖
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวันออก
ย. ๕ - ๒๒ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน
กับตาบลดอนไก่ดี
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ข ๑๓ ฟากเหนือ และคลองยายสุข
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๔ ฟากตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ล. ๓ - ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน
๓. ที่ดินในบริเวณ ย. ๖ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าตาล ให้เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
มีรายการดังต่อไปนี้
ย. ๖ - ๑ ด้านเหนือ จดถนนสาย ก ๘ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๖๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากเหนือ
๑๕
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ย. ๖ - ๒ ด้านเหนือ จดทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากใต้
และเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดโรงเรี ย นวั ด ราษฎร์ บ ารุ ง (ไสวราษฎร์ อุ ป ถั ม ภ์ )
และถนนสาย ก ๑๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๙ ฟากตะวัน ออก และไปรษณี ย์
กระทุ่มแบน
๔. ที่ดินในบริเวณ พ. ๑ ถึง พ. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีแดง ให้เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม
มีรายการดังต่อไปนี้
พ. ๑ - ๑ ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๑๗๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนสาย ค ๓ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดซอยวัดนางสาว ๑ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก
พ. ๑ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า เสา
กับตาบลดอนไก่ดี
ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๑๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๑๘
ด้านใต้ จดถนนสาย ก ๒๐ ฟากตะวันออก
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๘ ฟากตะวันออก
พ. ๒ - ๑ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
สานักงานเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน และที่ว่าการอาเภอกระทุ่มแบน
ด้านตะวันออก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน
กับตาบลสวนหลวง และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลตลาดกระทุ่มแบน กับตาบลคลองมะเดือ่
ด้านใต้ จดถนนสุคนธวิท ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดซอยเทศบาล ๑ ฟากตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ษ. - ๑๔ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก
พ. ๒ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลคลองมะเดื่อ
๑๖
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๔
กับหลักเขตที่ ๕ และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลคลองมะเดื่อ
พ. ๒ - ๓ ด้านเหนือ จดถนนสุ ค นธวิ ท ฟากใต้ และทางหลวงแผ่ น ดิ น
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๔
กับหลักเขตที่ ๕
ด้านใต้ จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๕
กับหลักเขตที่ ๖
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวันออก
พ. ๒ - ๔ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๔
กับหลักเขตที่ ๕ และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๙ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ฟากเห นื อ
และคลองกระทุ่มแบน ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๔
กับหลักเขตที่ ๕ และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลคลองมะเดื่อ
พ. ๒ - ๕ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ระหว่างหลักเขตที่ ๖
กับหลักเขตที่ ๗ และชุมสายโทรศัพท์กระทุ่มแบน
ด้านตะวันออก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับ
ตาบลคลองมะเดื่อ
ด้านใต้ จดทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ฟากเหนือ และ
ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลดอนไก่ดี
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๑๒ ฟากตะวันออก
พ. ๓ - ๑ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
๑๗
ด้านใต้ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันตก จดเส้นขนาน ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ วัดอ้อมน้อย โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชณูปถัมภ์ และโรงเรียนวัดอ้อมน้อย
พ. ๓ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้ และชุมสายโทรศัพท์หนองแขม
ด้านตะวันออก จดคลองอ้ อ มน้ อ ย ฝั่ ง ตะวั น ตก คลองอ้ อ มแช่ ม
ฝั่งตะวันตก และซอยเพชรเกษม ๙๓ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ถนนสาย ค ๑ ฟากตะวันออก และเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร
กับศูนย์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
๕. ที่ดินในบริเวณ อ. ๑ ถึง อ. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีมว่ ง ให้เป็นที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินค้า มีรายการดังต่อไปนี้
อ. ๑ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม เส้นขนานระยะ ๓๐๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองตัน
และคลองอ้อมน้อย ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐
ด้านใต้ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับ ริมเขตทางหลวงแผ่นดิ น
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากเหนือ และหน่วยบริการตารวจทางหลวงศรีสาราญ
ด้านตะวันตก จดคลองอ้อมน้อย ฝั่งตะวันออก และเส้นขนานระยะ
๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๔ ฟากตะวันออก
อ. ๒ - ๑ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๔๑๔ ฟากตะวันตก
๑๘
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้น แบ่งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
อ. ๒ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชณูปถัมภ์ โรงเรียนวัดอ้อมน้อย
วั ด อ้ อ มน้ อ ย เส้ น ขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลางทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑
เส้ น ขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลางทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก สถานีควบคุม
การจ่ายไฟฟ้าสามพราน สถานีไฟฟ้าย่อยสามพราน และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้อย
กับตาบลท่าไม้
ด้านใต้ จดเส้ นแบ่ งเขตการปกครองระหว่างต าบลอ้ อมน้ อย
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันตก จดถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ฟากตะวั น ออกและฟากใต้
และเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ษ. - ๕ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก
อ. ๒ - ๓ ด้านเหนือ จดเส้ นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บศู นย์ กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค ๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลสวนหลวง และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้อยกับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้น บริเวณหมายเลข ล. ๓ - ๑ ที่ก าหนดไว้เป็ นสีเขียวอ่อ น
และบริเวณหมายเลข ษ. - ๔ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก
อ. ๒ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่ างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ค ๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ค ๑ ฟากเหนือ
๑๙
ด้านตะวันตก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลท่าไม้ และถนนสาย ข ๖ ฟากตะวันออก
อ. ๒ - ๕ ด้านเหนือ จดเส้ นแบ่ งเขตการปกครองระหว่างต าบลอ้ อมน้ อย
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๖ ฟากตะวันตก และเส้น แบ่งเขต
การปกครองระหว่างตาบลสวนหลวงกับตาบลท่าไม้
ด้านใต้ จดถนนสาย ค ๑ ฟากเหนื อ ถนนไม่ ป รากฏชื่ อ
ฟากตะวันออก เส้นตรงที่ลากต่อจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก ไปทางทิศเหนื อจนบรรจบกับ
เส้ น ขนานระยะ ๔๒๐ เมตร กั บ กึ่ งกลางคลองภาษี เจริญ และเส้ น ขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
กับศูนย์กลางถนนสาย ก ๒
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก
อ. ๒ - ๖ ด้านเหนือ จดเส้ นแบ่ งเขตการปกครองระหว่างต าบลอ้ อมน้ อย
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านตะวันตก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลสวนหลวง
กับตาบลท่าไม้
อ. ๒ - ๗ ด้านเหนือ จดเส้ นแบ่ งเขตการปกครองระหว่างต าบลอ้ อมน้ อย
กับตาบลท่าไม้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นตั้งฉากกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบกับคลองวัดนางสาว
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ เป็นระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ค ๓ ฟากตะวันออก ถนนเศรษฐกิจ ๑
ซอย ๘ (วิรุณราษฎร์) ฟากเหนือ และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก
อ. ๒ - ๘ ด้านเหนือ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ข ๑๒
๒๐
ด้านตะวันออก จดเส้ น ตั้ ง ฉากกั บ ถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนื อ
และฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสาย ข ๑๒ บรรจบกับถนนเลียบคลองแคราย ไปทางทิศตะวันตก
ตามแนวถนนสาย ข ๑๒ เป็นระยะ ๕๐๐ เมตร
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ข ๑๒
ด้านตะวันตก จดเส้ น ตั้ ง ฉากกั บ ถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนื อ
และฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่ างจากถนนสาย ข ๑๒ บรรจบกับถนนเลียบคลองหมื่นปรารมย์ ไปทาง
ทิศตะวันตกตามแนวถนนสาย ข ๑๒ เป็นระยะ ๕๕๐ เมตร
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ส. - ๑๗ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน
อ. ๒ - ๙ ด้านเหนือ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ข ๑๒ เส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒ และเส้นขนานระยะ
๔๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒
ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๑,๑๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนเลียบคลองเทพกาญจนา
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนเลียบคลองเทพกาญจนา ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ เส้นขนานระยะ ๖๐๐ เมตร กับศูนย์กลาง
ถนนเลียบคลองเทพกาญจนา เส้นขนานระยะ ๗๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนเลียบคลองเทพกาญจนา
และเส้นขนานระยะ ๓๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนเลียบคลองเทพกาญจนา
อ. ๒ - ๑๐ ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ และถนนสาย ก ๑๖
ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดถนนสาย ก ๒๑ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๔๕๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองแสนสุข
เส้น ขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศู น ย์ก ลางถนนสาย ก ๒๑ ถนนสาย ก ๑๙ ฟากตะวันออก
เส้นตรงที่ลากต่อจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ไปทางทิศตะวันออกจนบรรจบกับถนนสาย ก ๑๙
และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากเหนือและฟากตะวันออก
อ. ๓ - ๑ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ
และสถานีวิทยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
๒๑
ด้านตะวันออก จดคลองศรีสาราญ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดวั ด หนองพะอง โรงเรี ย นวั ด ใหม่ ห นองพะอง
และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก
อ. ๓ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้ น ขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๒๑
ด้านตะวันออก จดคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๒๑
ด้านตะวันตก จดคลองต้ น ตะโก ฝั่ งตะวัน ออก และเส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลท่าเสา
๖. ที่ดินในบริเวณ ก. ๑ และ ก. ๒ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม มีรายการดังต่อไปนี้
ก. ๑ - ๑ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ด้านตะวันออก จดคลองศรีสาราญ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้อ ย
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๒ ด้านเหนือ จดเส้น แบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลอ้อมน้ อ ย
กับตาบลสวนหลวง
ด้านตะวันออก จดคลองศรีสาราญ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับกึ่งกลางคลองภาษีเจริญ
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข ๕ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๓ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดคลองสี่วา ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๘
กับหลักเขตที่ ๙
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ข ๕ ฟากตะวันออก
๒๒
ก. ๑ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๕ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๘
กับหลักเขตที่ ๙
ด้านตะวันตก จดคลองแครายเดิม ฝั่งตะวันออก
ก. ๑ - ๕ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๓ เมตร กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดถนนเลียบคลองแคราย ฟากตะวันตก และถนนสาย ก ๖
ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๙
หลักเขตที่ ๑๐ กับหลักเขตที่ ๑๑
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๖ ด้านเหนือ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดคลองท่าตอ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งเหนือ วัดอ่างทอง และโรงเรียนวัดอ่างทอง
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
ก. ๑ - ๗ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๘
กับหลักเขตที่ ๙
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๕ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ข ๑๒
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๖ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๘ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๙
กับหลักเขตที่ ๑๐
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๖ ฟากตะวันตก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลแคราย วัดเกษตรพันธาราม และโรงเรียนแครายเกษตรพันธ์พิทยาคาร
ด้านใต้ จดถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนื อ เส้ น ตั้ ง ฉากกั บ
ถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสาย ข ๑๒ บรรจบกับถนนสาย ก ๖ ไปทาง
ทิศตะวัน ตกตามแนวถนนสาย ข ๑๒ เป็นระยะ ๕๐๐ เมตร และเส้นขนานระยะ ๒๕๐ เมตร
กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒
๒๓
ด้านตะวันตก จดถนนสาย ก ๗ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๙ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๘
กับหลักเขตที่ ๙ คลองสี่วา ฝั่งตะวัน ตก และเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้น แบ่งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร
ด้านตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร
ด้านตะวันตก จดคลองสี่วา ฝั่งเหนือ ถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนือ
และถนนสาย ข ๕ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๑๐ ด้านเหนือ จดเขตเทศบาลตาบลสวนหลวง ระหว่างหลักเขตที่ ๑๐
กับหลักเขตที่ ๑๑
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ก ๗ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนน
สาย ข ๑๒ เส้นตั้งฉากกับถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสาย ข ๑๒ บรรจบ
กับถนนสาย ก ๗ ไปทางทิศตะวันตกตามแนวถนนสาย ข ๑๒ เป็นระยะ ๕๕๐ เมตร และถนน
สาย ข ๑๒ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลแครายกับ
ตาบลคลองมะเดื่อ
ก. ๑ - ๑๑ ด้านตะวันออก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลแครายกับ
ตาบลคลองมะเดื่อ
ด้านใต้ จดถนนสาย ข ๑๒ ฟากเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๑๒ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๑๒ ฟากใต้ เส้นตั้งฉากกับถนนสาย ข ๑๒
ฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสาย ข ๑๒ บรรจบกับถนนสาย ก ๗ ไปทางทิศตะวันออกตามแนว
ถนนสาย ข ๑๒ เป็นระยะ ๕๕๐ เมตร เส้นขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒
เส้นตั้งฉากกับถนนสาย ข ๑๒ ฟากใต้ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสาย ข ๑๒ บรรจบกับถนนสาย ก ๖
ไปทางทิ ศตะวัน ตกตามแนวถนนสาย ข ๑๒ เป็นระยะ ๕๐๐ เมตร ถนนสาย ข ๑๒ ฟากใต้
และเส้นขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒
๒๔
ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๓๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนเลียบคลองเทพกาญจนา เส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒ เส้นขนานระยะ
๖๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนเลียบคลองเทพกาญจนา ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันตก เส้นขนาน
ระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนเลียบคลองเทพกาญจนา และเขตผังเมืองรวมด้านใต้ ซึ่งเป็น
เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลแคราย
กับตาบลคลองมะเดื่อ
ก. ๑ - ๑๓ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๑๒ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลแคราย
กับตาบลคลองมะเดื่อ โรงเรียนวัดสุวรรณรัตนาราม และวัดสุวรรณรัตนาราม
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนย์กลางซอยคลองมะเดื่อ ๑๒
ถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก และซอยคลองมะเดื่อ ๑๒ ฟากเหนือ
ก. ๑ - ๑๔ ด้านเหนือ จดถนนสาย ข ๑๒ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนสาย ข ๑๑ ฟากตะวันตก
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๑,๑๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนน
เลียบคลองเทพกาญจนา เส้นขนานระยะ ๔๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ข ๑๒ เส้นขนานระยะ
๗๕๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนเลียบคลองเทพกาญจนา เส้นขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลาง
ถนนสาย ข ๑๒ และถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก
ก. ๑ - ๑๕ ด้านเหนือ จดถนนสาย ก ๑๖ ฟากใต้
ด้านตะวันออก จดถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ฟากตะวั น ตกและฟากใต้
เส้นตรงที่ลากต่อจากถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ ไปทางทิศตะวันออกจนบรรจบกับถนนสาย ก ๑๙
คลองแสนสุ ข ฝั่ งตะวั น ตก เส้ น ขนานระยะ ๔๕๐ เมตร กั บ ริ ม ฝั่ งคลองแสนสุ ข ฝั่ ง ตะวั น ตก
เส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนย์กลางถนนสาย ก ๒๑ และถนนสาย ก ๒๑ ฟากเหนือ
๒๕
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันออก โรงเรียนบ้านดอนไก่ดี
และคลองกระทุ่มแบน ฝั่งตะวันออก
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ศน. - ๑๕ ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน
ก. ๑ - ๑๖ ด้านเหนือ จดถนนไม่ปรากฏชื่อ ฟากใต้ คลองสาธารณะ ฝั่งใต้
คลองต้น ตะโก ฝั่งตะวัน ออก เส้น ตรงที่ลากต่อจากซอยบ้านคลองตะโก ซอย ๒ ฟากใต้ ไปทาง
ทิ ศ ตะวั น ตกจนบรรจบกั บ คลองต้ น ตะโก ฝั่ งตะวั น ออก ซอยบ้ านคลองตะโก ซอย ๒ ฟากใต้
ถนนเลียบคลองมะเดื่อ ฟากใต้ ซอยบ้านคลองตะโก ซอย ๓ ฟากใต้ และเส้นตรงที่ลากต่อจาก
ซอยบ้านคลองตะโก ซอย ๓ ฟากเหนือ ไปทางทิศตะวันออกจนบรรจบกับคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันตก
ด้านตะวันออก จดคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ น ขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๒๑
ด้านตะวันตก จดเส้ น แบ่ งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ ดี
กับตาบลท่าเสา
ก. ๑ - ๑๗ ด้านเหนือ จ ด ค ล อ ง ท่ า เส า ฝั่ ง ใต้ ถ น น ส า ย ก ๑ ๕
ฟากตะวันตก ถนนสาย ก ๑๘ ฟากใต้ คลองรางกระทุ่ม ฝั่งตะวันตก เส้นขนานระยะ ๓๐๐ เมตร
กับศูนย์กลางถนนสาย ก ๑๘ ถนนสาย ก ๒๐ ฟากตะวันออก เส้นขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนย์กลาง
ถนนสาย ก ๑๘ วิทยาลัยประมงสมุทรสาคร และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ดีกับตาบลท่าเสา
ด้านตะวันออก จดเส้ น แบ่ งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ ดี
กับตาบลท่าเสา และคลองต้นตะโก ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านท้องคุ้ง
ทั้ ง นี้ ยกเว้ น บริ เวณหมายเลข ษ. - ๒๖ และหมายเลข ษ. - ๒๘
ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก
ก. ๑ - ๑๘ ด้านเหนือ จดเส้ น ขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนสาย ก ๒๑
ด้านตะวันออก จดคลองมะเดื่อ ฝั่งตะวันตก
๒๖
ด้านใต้ จดเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นใต้ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ ง เขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอเมืองสมุทรสาคร
ด้านตะวันตก จดเส้ น แบ่ งเขตการปกครองระหว่างตาบลดอนไก่ ดี
กับตาบลท่าเสา และคลองต้นตะโก ฝั่งตะวันออก
ก. ๒ - ๑ ด้านเหนือ จดคลองแนวนิยม ฝั่งใต้
ด้านตะวันออก จดคลองชูกั๊ง ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้ น ตั้ ง ฉากกั บ ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๒
ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๒ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๗๔๐๐๑
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๒ เป็นระยะ ๓๐๐ เมตร
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับศูนย์กลางทางหลวงชนบท
สค. ๗๔๐๐๑
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ส. - ๙ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน บริเวณ
หมายเลข ษ. - ๘ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณหมายเลข ศน. - ๕ ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน
ก. ๒ - ๒ ด้านเหนือ จดถนนรุ่งประชาบุญวัฒน์ ซอย ๑ ฟากใต้ เส้นตั้งฉากกับ
ถนนรุ่งประชาบุญวัฒน์ ซอย ๑ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งถนนรุ่งประชาบุญวัฒน์ ซอย ๑ บรรจบกับ
ถนนรุ่งประชาบุญวัฒน์
ด้านตะวันออก จดเส้ น ขนานระยะ ๑๐๐ เมตร กั บ ศู น ย์ ก ลาง
ถนนรุ่งประชาบุญวัฒน์ และเส้นตั้งฉากกับทางหลวงชนบท สค. ๔๐๑๔ ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยู่ห่างจาก
ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๑๔ บรรจบกั บ ถนนรุ่งประชาบุ ญ วัฒ น์ ไปทางทิ ศ ตะวัน ออกตามแนว
ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๑๔ เป็นระยะ ๑๐๐ เมตร
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งเหนือ และวัดท่ากระบือ
ด้านตะวันตก จดโรงเรียนวัดท่ากระบือ และเส้นขนานระยะ ๑๐๐ เมตร
กับศูนย์กลางถนนรุ่งประชาบุญวัฒน์
ทั้ ง นี้ ยกเว้ น บริ เวณหมายเลข ส. - ๑๐ ที่ ก าหนดไว้ เ ป็ น สี น้ าเงิ น
และบริเวณหมายเลข ษ. - ๑๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก
๗. ที่ดินในบริเวณ ก. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว ให้เป็นที่ดิน
ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม มีรายการดังต่อไปนี้
ก. ๓ - ๑ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
๒๗
ด้านตะวันออก จดเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลหนองนกไข่
กับตาบลบางยาง
ด้านใต้ จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้น แบ่งเขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอบ้านแพ้ว
ด้านตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้น แบ่งเขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอบ้านแพ้ว และเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็น
เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ก. ๒ - ๑ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว บริเวณ
หมายเลข ษ. - ๖ และหมายเลข ษ. - ๘ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก บริเวณหมายเลข ศน. - ๕
ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน และบริเวณหมายเลข ส. - ๙ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน
ก. ๓ - ๒ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านตะวันออก จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลบางยาง
กับตาบลท่าไม้
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งเหนือ เขตผังเมืองรวมด้านตะวัน ตก ซึ่งเป็นเส้นแบ่ งเขตการปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบน
กับอาเภอบ้านแพ้ว และคลองดาเนินสะดวก ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมด้านตะวันตก ซึ่งเป็นเส้น แบ่งเขต
การปกครองระหว่างอาเภอกระทุ่มแบนกับอาเภอบ้านแพ้ว วัดบางยาง และเส้นแบ่งเขตการปกครอง
ระหว่างตาบลหนองนกไข่กับตาบลบางยาง
ทั้งนี้ ยกเว้นบริเวณหมายเลข ก. ๒ - ๒ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียว บริเวณ
หมายเลข ส. - ๑๐ ที่กาหนดไว้เป็นสีน้าเงิน บริเวณหมายเลข ษ. - ๑๒ หมายเลข ษ. - ๑๓
หมายเลข ษ. - ๒๐ และหมายเลข ษ. - ๒๑ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก และบริเวณหมายเลข ศน. - ๗
ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน
ก. ๓ - ๓ ด้านเหนือ จดเขตผั งเมื อ งรวมด้ า นเหนื อ ซึ่ ง เป็ น เส้ น แบ่ งเขต
การปกครองระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับจังหวัดนครปฐม
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันตก และวัดท่าไม้
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งเหนือ โรงเรียนปล่องเหลี่ยม และเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างตาบลท่าไม้กับตาบลบางยาง
๒๘
ด้านตะวันตก จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า ไม้
กับตาบลบางยาง
ก. ๓ - ๔ ด้านเหนือ จดเส้ น แบ่ ง เขตการปกครองระหว่ า งต าบลท่ า ไม้
กับตาบลบางยาง
ด้านตะวันออก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันตก
ด้านใต้ จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งเหนือ
ด้านตะวันตก จดเส้นขนานระยะ ๖ เมตร กับ ริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ฝั่งตะวันออก
๘. ที่ดินในบริเวณ ล. ๑ ถึง ล. ๓ ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อน ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่ง
เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ดังมีรายการต่อไปนี้
ล. ๑ - ๑ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๒ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๓ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๔ ที่ดิ น บริเวณฝั่ งใต้ของคลองภาษี เจริญ ซึ่งเป็ น เส้ น ขนานระยะ ๓ เมตร
ริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๕ ที่ดินบริเวณฝั่งเหนือของคลองภาษีเจริญ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๖ ที่ดินบริเวณฝั่งเหนือของคลองภาษีเจริญ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๗ ที่ดิ น บริเวณฝั่งใต้ของคลองภาษี เจริญ ซึ่งเป็ น เส้ น ขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๘ ที่ ดิ น บริ เวณฝั่ งเหนื อ ของแม่ น้ าท่ าจี น ซึ่ งเป็ น เส้ น ขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๙ ที่ ดิ น บริ เ วณฝั่ ง ใต้ ข องแม่ น้ าท่ า จี น ซึ่ ง เป็ น เส้ น ขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
๒๙
ล. ๑ - ๑๐ ที่ดิน บริเวณฝั่งเหนื อของแม่น้ าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๑๑ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๑๒ ที่ ดิ น บริ เวณฝั่ ง ใต้ ข องแม่ น้ าท่ า จี น ซึ่ ง เป็ น เส้ น ขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๑๓ ที่ ดิ น บริ เวณฝั่ ง ใต้ ข องแม่ น้ าท่ า จี น ซึ่ ง เป็ น เส้ น ขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๑๔ ที่ดินบริเวณฝั่งเหนือของคลองภาษีเจริญ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๑๕ ที่ดิน บริเวณฝั่งใต้ของคลองภาษีเจริญ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๑๖ ที่ดินบริเวณฝั่งเหนือของคลองภาษีเจริญ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๑๗ ที่ดิน บริเวณฝั่งใต้ของคลองภาษีเจริญ ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๓ เมตร
กับริมฝั่งคลองภาษีเจริญ
ล. ๑ - ๑๘ ที่ดิน บริเวณฝั่งเหนื อของแม่น้ าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๑๙ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๒๐ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๑ - ๒๑ ที่ดินบริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๖ เมตร
กับริมฝั่งแม่น้าท่าจีน
ล. ๒ - ๑ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐
ล. ๒ - ๒ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐
ล. ๒ - ๓ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๔ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๔
๓๐
ล. ๒ - ๔ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๔ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑๔
ล. ๒ - ๕ ที่ดินบริเวณฟากเหนือของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ล. ๒ - ๖ ที่ดินบริเวณฟากใต้ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ล. ๒ - ๗ ที่ดินบริเวณฟากเหนือของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ล. ๒ - ๘ ที่ดินบริเวณฟากใต้ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ล. ๒ - ๙ ที่ ดิ น บริ เวณฟากตะวั น ตกของทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๑๐ ที่ ดิ น บริ เวณฟากตะวั น ออกของทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๑๑ ที่ดินบริเวณฟากเหนือของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ล. ๒ - ๑๒ ที่ดินบริเวณฟากใต้ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ซึ่งเป็นเส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม)
ล. ๒ - ๑๓ ที่ดิ น บริเวณฟากตะวัน ออกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ งเป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๑๔ ที่ ดิ น บริ เวณฟากตะวั น ตกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ ง เป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๑๕ ที่ดิ น บริเวณฟากตะวัน ออกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ งเป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๑๖ ที่ ดิ น บริ เวณฟากตะวั น ตกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ ง เป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๑๗ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๑๘ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
๓๑
ล. ๒ - ๑๙ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๐ ที่ดิ น บริเวณฟากตะวัน ออกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ งเป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๒๑ ที่ ดิ น บริ เวณฟากตะวั น ตกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ ง เป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๒๒ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๓ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๔ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๕ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๖ ที่ดินบริเวณฟากตะวันตกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๗ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๒๘ ที่ ดิ น บริ เวณฟากตะวั น ตกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ ง เป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๒๙ ที่ดิ น บริเวณฟากตะวัน ออกของทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ซึ่ งเป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ล. ๒ - ๓๐ ที่ดิน บริเวณฟากเหนือของทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๓๑ ที่ ดิ น บริ เวณฟากใต้ ข องทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่ ง เป็ น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๒ - ๓๒ ที่ดินบริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ซึ่งเป็น
เส้นขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมเขตทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ล. ๓ - ๑ สนามกีฬาเทศบาลนครอ้อมน้อย
ล. ๓ - ๒ สวนสุขภาพ ๗๒ พรรษา ร.๙
ล. ๓ - ๓ สวนสาธารณะเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน
๓๒
๙. ที่ดินในบริเวณ ษ. ที่กาหนดไว้เป็นสีเขียวมะกอก ให้เป็นที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา
มีรายการดังต่อไปนี้
ษ. - ๑ โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชณูปถัมภ์ และโรงเรียนวัดอ้อมน้อย
ษ. - ๒ โรงเรียนวัดศรีสาราญราษฎร์บารุง (แช่มประชาอุทิศ)
ษ. - ๓ โรงเรียนเทศบาลอ้อมน้อย
ษ. - ๔ วิทยาลัยอาชีวะศึกษาเทศบาลอ้อมน้อย
ษ. - ๕ โรงเรียนบ้านคลองแค
ษ. - ๖ โรงเรียนวังนกไข่
ษ. - ๗ โรงเรียนวัดใหม่หนองพะอง
ษ. - ๘ โรงเรียนวัดหนองนกไข่
ษ. - ๙ โรงเรียนบ้านสวนหลวง
ษ. - ๑๐ โรงเรียนวัดนางสาว (ถาวรราษฎร์บารุง)
ษ. - ๑๑ โรงเรียนปล่องเหลี่ยม
ษ. - ๑๒ โรงเรียนวัดท่ากระบือ
ษ. - ๑๓ โรงเรียนวัดท่ากระบือ
ษ. - ๑๔ โรงเรียนศรีบุณยานุสสรณ์
ษ. - ๑๕ โรงเรียนวัดดอนไก่ดีและโรงเรียนกระทุ่มแบนวิเศษสมุทคุณ
ษ. - ๑๖ โรงเรียนวัดราษฎร์บารุง (ไสวราษฎร์อุปถัมภ์)
ษ. - ๑๗ โรงเรียนแครายเกษตรพันธ์พิทยาคาร
ษ. - ๑๘ โรงเรียนวัดราษฎร์บารุง
ษ. - ๑๙ โรงเรียนวัดอ่างทอง
ษ. - ๒๐ โรงเรียนกุศลวิทยา
ษ. - ๒๑ โรงเรียนบางยาง
ษ. - ๒๒ วิทยาลัยประมงสมุทรสาคร
ษ. - ๒๓ โรงเรียนวัดท่าเสา
ษ. - ๒๔ โรงเรียนบ้านคลองกระทุ่มแบน
ษ. - ๒๕ โรงเรียนวัดสุวรรณรัตนาราม
ษ. - ๒๖ โรงเรียนบ้านท้องคุ้ง
ษ. - ๒๗ โรงเรียนบ้านดอนไก่ดี
ษ. - ๒๘ โรงเรียนบ้านปลายคลองน้อย
๓๓
๑๐. ที่ดินในบริเวณ ศน. ที่กาหนดไว้เป็นสีเทาอ่อน ให้เป็นที่ดิ นประเภทสถาบันศาสนา
มีรายการดังต่อไปนี้
ศน. - ๑ วัดศรีสาราญราษฎร์บารุง
ศน. - ๒ วัดอ้อมน้อย
ศน. - ๓ วัดท่าไม้
ศน. - ๔ วัดหนองพะอง
ศน. - ๕ วัดหนองนกไข่
ศน. - ๖ วัดนางสาว
ศน. - ๗ วัดท่ากระบือ
ศน. - ๘ วัดดอนไก่ดี
ศน. - ๙ วัดเกษตรพันธาราม
ศน. - ๑๐ วัดราษฎร์บารุง (หงอนไก่)
ศน. - ๑๑ วัดบางยาง
ศน. - ๑๒ วัดอ่างทอง
ศน. - ๑๓ วัดท่าเสา
ศน. - ๑๔ วัดสุวรรณรัตนาราม
ศน. - ๑๕ วัดคลองมะเดื่อ
๑๑. ที่ ดิ น ในบริ เวณ ส. ที่ ก าหนดไว้ เป็ น สี น้ าเงิ น ให้ เป็ น ที่ ดิ น ประเภทสถาบั น ราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ มีรายการดังต่อไปนี้
ส. - ๑ หน่วยบริการตารวจทางหลวงศรีสาราญ
ส. - ๒ ชุมสายโทรศัพท์หนองแขม
ส. - ๓ สานักงานแขวงการทางสมุทรสาคร
ส. - ๔ สานักงานเทศบาลนครอ้อมน้อย
ส. - ๕ สถานีควบคุมการจ่ายไฟฟ้าสามพราน สถานีไฟฟ้าย่อยสามพราน
ส. - ๖ ที่ทาการเทศบาลตาบลสวนหลวง
ส. - ๗ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลท่าไม้
ส. - ๘ สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ส. - ๙ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลหนองนกไข่
ส. - ๑๐ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลบางยาง
ส. - ๑๑ ที่ว่าการอาเภอกระทุ่มแบน
ส. - ๑๒ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน
๓๔
ส. - ๑๓ ไปรษณีย์กระทุ่มแบน
ส. - ๑๔ สานักงานเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน
ส. - ๑๕ ชุมสายโทรศัพท์กระทุ่มแบน
ส. - ๑๖ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแคราย
ส. - ๑๗ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลแคราย
ส. - ๑๘ โครงการส่งน้าและบารุงรักษาคลองภาษีเจริญ
ส. - ๑๙ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลดอนไก่ดี
ส. - ๒๐ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลคลองมะเดื่อ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลคลองมะเดื่อ
ส. - ๒๑ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลท่าเสา
ส. - ๒๒ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านท้องคุ้ง
รายการประกอบแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งท้ายกฎกระทรวง
ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
พ.ศ. ๒๕๖๒

ถนนตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง แบ่งเป็น ๓ ขนาด คือ


๑. ถนนแบบ ก ขนาดเขตทาง ๑๕.๐๐ เมตร จํานวน ๒๑ สาย ดังนี้
ถนนสาย ก ๑ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ถนนเศรษฐกิจ ๑ ซอย ๗
เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเศรษฐกิจ ๑
ซอย ๗ จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข ๖)
ถนนสาย ก ๒ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอย ว.ป.อ. ๑๑ และถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยสุจินต์อุทิศ (ถนนสาย ค ๓) ที่บริเวณห่างจากซอยสุจินต์อุทิศ
(ถนนสาย ค ๓) บรรจบกับถนนเศรษฐกิจ ๑ ซอย ๘ (วิรุณราษฎร์) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ตามแนวซอยสุจินต์อุทิศ (ถนนสาย ค ๓) ระยะประมาณ ๒๓๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ระยะประมาณ ๙๕๐ เมตร บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ที่บริเวณทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบกั บ ซอย ว.ป.อ. ๑๑ (ถนนสาย ก ๒) ไปทางทิ ศตะวัน ออกเฉี ยงใต้
ตามแนวซอย ว.ป.อ. ๑๑ (ถนนสาย ก ๒) ระยะประมาณ ๘๑๐ เมตร และไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ระยะประมาณ ๑๕๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข ๖ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๖ บรรจบกับ
ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ค ๑) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข ๖
ระยะประมาณ ๔๕๐ เมตร
ถนนสาย ก ๓ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑
เริ่ ม ต้ น จากทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ต ามแนวทางหลวงชนบท
สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓) ระยะประมาณ ๑,๖๑๐ เมตร จนบรรจบกั บ ถนนสาย ค ๑
ที่บริเวณถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับถนนสาย ค ๑
ถนนสาย ก ๔ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ถนนสวนหลวง ๓ และถนนไม่ปรากฏชื่อ
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓)
ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ต ามแนวถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ระยะประมาณ ๒๔๐ เมตร ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๘๐ เมตร บรรจบกับถนนสวนหลวง ๓ (ถนนสาย ก ๔)
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศใต้ตามแนวถนนสวนหลวง ๓ (ถนนสาย ก ๔) ระยะประมาณ
๑,๓๗๐ เมตร จนบรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ถนนสาย ก ๕ เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสวนหลวง ๓ (ถนนสาย ก ๔) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

ระยะประมาณ ๓๒๐ เมตร บรรจบกับถนนเลียบคลองหมื่นปรารมย์ (ถนนสาย ก ๗) ที่บริเวณห่างจาก
ถนนเลียบคลองหมื่นปรารมย์ (ถนนสาย ก ๗) บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒)
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนเลียบคลองหมื่นปรารมย์ (ถนนสาย ก ๗) ระยะประมาณ
๒,๐๐๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๖๖๐ เมตร บรรจบกับถนนเลียบคลองแคราย
(ถนนสาย ก ๖) ที่บริเวณห่างจากถนนเลียบคลองแคราย (ถนนสาย ก ๖) บรรจบกับทางหลวงชนบท
สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนว
ถนนเลียบคลองแคราย (ถนนสาย ก ๖) ระยะประมาณ ๑,๙๙๐ เมตร และไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะประมาณ ๑,๒๓๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข ๕ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๕ บรรจบกับ
ถนนสวนหลวง - ร่วมใจ (ถนนสาย ข ๙) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ข ๕
ระยะประมาณ ๑,๑๘๐ เมตร
ถนนสาย ก ๖ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ถนนเลียบคลองแคราย เริ่มต้นจาก
ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒) ไปทางทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนว
ถนนเลียบคลองแคราย (ถนนสาย ก ๖) ระยะประมาณ ๑,๙๙๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ก ๕
ที่บริเวณห่างจากถนนเลียบคลองแครายบรรจบคลองภาษีเจริญ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนว
ถนนเลียบคลองแคราย ระยะประมาณ ๙๕๐ เมตร
ถนนสาย ก ๗ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ถนนเลียบคลองหมื่นปรารมย์
เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนว
ถนนเลียบคลองหมื่นปรารมย์ ระยะประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ก ๕ ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสาย ก ๕ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ก ๕
ระยะประมาณ ๓๒๐ เมตร
ถนนสาย ก ๘ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ที่บริเวณห่างจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบกับถนนสุคนธวิท
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ระยะประมาณ ๓๑๐ เมตร
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๓๗๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๑๐ ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสาย ข ๑๐ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันออกเหนือตามแนว
ถนนสาย ข ๑๐ ระยะประมาณ ๔๖๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๗๒๐ เมตร
จนบรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙ บรรจบกับ
ทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ระยะประมาณ ๔๐๐ เมตร
ถนนสาย ก ๙ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยคลองมะเดื่อ ๑ และถนนไม่ปรากฏชื่อ
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้ างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๑ ระยะประมาณ ๕๑๐ เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท
สค. ๒๐๕๖ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑๕๐ เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ

ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ต ามแนวถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ระยะประมาณ ๑๙๐ เมตร ไปทางทิ ศ ใต้
ระยะประมาณ ๑๑๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ก ๑๖ ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๕
บรรจบกับถนนสาย ก ๑๖ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ก ๑๖ ระยะประมาณ ๑,๑๔๐ เมตร
ถนนสาย ก ๑๐ ถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยสุคนธวิท ๙ และถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสุคนธวิท ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยสุคนธวิท ๙
ระยะประมาณ ๓๒๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๒๔๐ เมตร จนบรรจบทางหลวงชนบท
สค. ๒๐๕๖ ที่บริเวณห่างจากซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒) บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ระยะประมาณ ๗๘๐ เมตร
ถนนสาย ก ๑๑ เป็ น ถนนเดิ ม กํ า หนดให้ ข ยายเขตทางคื อ ซอยคลองมะเดื่ อ ๗
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้ างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๗ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๗ ระยะประมาณ ๓๒๐ เมตร และไปทางทิศใต้
ระยะประมาณ ๑๓๐ เมตร จนบรรจบถนนสาย ก ๑๖ ที่บริเวณห่างจากซอยคลองมะเดื่อ ๗ บรรจบกับ
ถนนสาย ก ๑๖ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ก ๑๖ ระยะประมาณ ๑๑๐ เมตร
ถนนสาย ก ๑๒ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยเทศบาล ๔ เริ่มต้นจาก
ถนนสุคนธวิท ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยเทศบาล ๔ จนบรรจบกับทางหลวงชนบท
สค. ๕๐๔๕ (ถนนสาย ก ๑๖)
ถนนสาย ก ๑๓ เป็ น ถนนเดิ ม กํ า หนดให้ ข ยายเขตทางคื อ ซอยคลองมะเดื่ อ ๑๑
และถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๑๑ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖
ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ต ามแนวถนนไม่ ป รากฏชื่ อ ระยะประมาณ ๑๗๐ เมตร บรรจบกั บ
คลองกระทุ่มแบน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๒๗๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ก ๑๖
ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก ๑๖ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ตามแนวถนนสาย ก ๑๖ ระยะประมาณ ๑,๑๗๐ เมตร
ถนนสาย ก ๑๔ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสุคนธวิท
ที่บริเวณห่างจากซอยสุคนธวิท ๒๕ (ถนนสาย ก ๑๕) บรรจบกับถนนสุคนธวิท ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ตามแนวถนนสุคนธวิท ระยะประมาณ ๕๕๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ
๕๐๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ข ๑๓ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๑๓ บรรจบกับซอยสุคนธวิท ๒๕
(ถนนสาย ก ๑๕) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข ๑๓ ระยะประมาณ ๕๔๐ เมตร
ถนนสาย ก ๑๕ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยสุคนธวิท ๒๕ เริ่มต้น
จากถนนสุคนธวิท ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยสุคนธวิท ๒๕
(ถนนสาย ก ๑๕) จนบรรจบกับซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๘)

ถนนสาย ก ๑๖ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๕
ถนนไม่ปรากฏชื่อ และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒)
ที่ บ ริ เ วณห่ า งจากซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒) บรรจบกั บ ทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒) ระยะประมาณ ๓๖๐ เมตร
ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แ ละทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๕
ระยะประมาณ ๕๒๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๑,๑๖๐ เมตร บรรจบกับ
ถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก ๙) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก ๙) บรรจบกับ
ทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก ๙)
ระยะประมาณ ๔๕๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๗๕๐ เมตร
บรรจบกับซอยคลองมะเดื่อ ๗ (ถนนสาย ก ๑๑) ที่บริเวณห่างจากซอยคลองมะเดื่อ ๗ (ถนนสาย ก ๑๑)
บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๗
(ถนนสาย ก ๑๑) ระยะประมาณ ๔๕๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๒๖๐ เมตร
บรรจบกับถนนสาย ก ๑๓ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก ๑๓ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ก ๑๓ ระยะประมาณ ๔๔๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ ๑,๑๖๐ เมตร จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ที่ บ ริ เ วณห่ า งจากทางหลวงชนบท สค. ๒๐๕๖ บรรจบกั บ ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ระยะประมาณ ๓๕๐ เมตร
ถนนสาย ก ๑๗ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยสุคนธวิท ๒๕
(ถนนสาย ก ๑๕) ที่บริเวณห่างจากซอยสุคนธวิท ๒๕ (ถนนสาย ก ๑๕) บรรจบกับซอยเทศบาล ๔
(ถนนสาย ก ๑๘) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวซอยสุคนธวิท ๒๕ (ถนนสาย ก ๑๕)
ระยะประมาณ ๕๐๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๑,๕๒๐ เมตร จนบรรจบกับ
ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๕ (ถนนสาย ก ๑๖)
ถนนสาย ก ๑๘ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยเทศบาล ๔ เริ่มต้นจาก
ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๑๖ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวซอยเทศบาล ๔ จนบรรจบกับ
ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๕ (ถนนสาย ก ๑๖)
ถนนสาย ก ๑๙ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยคลองมะเดื่อ ๑๗
(ถนนสาย ก ๒๑) ที่บริเวณห่างจากซอยคลองมะเดื่อ ๑๗ (ถนนสาย ก ๒๑) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๑๗ (ถนนสาย ก ๒๑)
ระยะประมาณ ๑,๐๔๐ เมตร ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ระยะประมาณ ๑,๘๐๐ เมตร
จนบรรจบกับถนนสาย ก ๑๓ และถนนสาย ก ๑๖ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก ๑๖ บรรจบกับ
ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ตามแนวถนนสาย ก ๑๖
ระยะประมาณ ๑,๑๖๐ เมตร

ถนนสาย ก ๒๐ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๘) ที่บริเวณห่างจาก
ซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๘) บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๔๐๑๖ (ถนนสาย ก ๑๕)
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๘) ระยะประมาณ ๑,๔๒๐ เมตร
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ระยะประมาณ ๒๒๐ เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖ ระยะประมาณ ๑,๒๑๐ เมตร
จนบรรจบกับถนนสาย ก ๒๑
ถนนสาย ก ๒๑ เป็ น ถนนเดิ ม กํ า หนดให้ ข ยายเขตทางคื อ ซอยคลองมะเดื่ อ ๑๗
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้ างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวซอยคลองมะเดื่อ ๑๗ ระยะประมาณ ๒,๘๖๐ เมตร
ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ระยะประมาณ ๑,๒๐๐ เมตร จนบรรจบกั บ ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖
(ถนนสาย ก ๒๐) ที่บริเวณห่างจากถนนเลียบคลองบางกรูด บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๕๐๔๖ ระยะประมาณ ๘๗๐ เมตร
๒. ถนนแบบ ข ขนาดเขตทาง ๒๐.๐๐ เมตร จํานวน ๑๓ สาย ดังนี้
ถนนสาย ข ๑ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยสุขาภิบาล ๒ และถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ตามแนวซอยสุขาภิบาล ๒ ระยะประมาณ ๕๙๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ระยะประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๒ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๒ บรรจบกับ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนสาย ข ๒ ระยะประมาณ
๑,๑๕๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข ๑ ระยะประมาณ ๙๔๐ เมตร
จนบรรจบกับแนวเขตผังเมืองรวมด้านทิศตะวันตก
ถนนสาย ข ๒ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ที่บริเวณห่างจากซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓) บรรจบกับ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ระยะประมาณ ๗๐๐ เมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะประมาณ ๑,๑๕๐ เมตร
จนบรรจบกับถนนสาย ข ๑ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๑ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๓๑๐
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข ๑ ระยะประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร
ถนนสาย ข ๓ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยเพชรเกษม ๙๑ เริ่มต้นจาก
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศใต้ตามแนวซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓)
จนบรรจบกับถนนสาย ข ๗ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๗ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ไปทางทิศตะวันตกตามแนวถนนสาย ข ๗ ระยะประมาณ ๔๐๐ เมตร
ถนนสาย ข ๔ เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘

บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนว
ทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ระยะประมาณ ๘๐๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตก ระยะประมาณ ๕๕๐ เมตร
บรรจบกับซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๙๐ เมตร
บรรจบกั บ ซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓) ที่ บ ริ เ วณห่ า งจากซอยเพชรเกษม ๙๑
(ถนนสาย ข ๓) บรรจบกั บ ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิ ศ ใต้
ตามซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓) ระยะประมาณ ๘๔๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๑,๒๙๐ เมตร จนบรรจบกับถนนสาย ค ๑ ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสาย ค ๑ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ตามแนวถนนสาย ค ๑ ระยะประมาณ ๗๔๐ เมตร
ถนนสาย ข ๕ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ถนนสะแกงามและถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนว
ถนนสะแกงาม (ถนนสาย ข ๕) ระยะประมาณ ๘๖๐ เมตร ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้
ระยะประมาณ ๗๐๐ เมตร บรรจบกับถนนสวนหลวง - ร่วมใจ (ถนนสาย ข ๙) ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสวนหลวง - ร่ ว มใจ (ถนนสาย ข ๙) บรรจบกั บ ทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสวนหลวง - ร่วมใจ (ถนนสาย ข ๙) ระยะประมาณ ๑,๓๐๐ เมตร
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๑๘๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ก ๕ ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสาย ก ๕ บรรจบกับถนนเลียบคลองแคราย ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ก ๕
ระยะประมาณ ๑,๑๓๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ
๒,๓๘๐ เมตร จนบรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒) ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท
สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒) บรรจบกั บ ถนนเลี ย บคลองแคราย (ถนนสาย ก ๖) ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙ (ถนนสาย ข ๑๒) ระยะประมาณ ๙๕๐ เมตร
ถนนสาย ข ๖ เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ถนนไม่ปรากฏชื่อ
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ค ๑)
ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ค ๑) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ค ๑) ระยะประมาณ
๑,๘๐๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๔๕๐ เมตร บรรจบถนนสาย ก ๒
ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก ๒ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ตามแนวถนนสาย ก ๒ ระยะประมาณ ๙๓๐ เมตร และไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
ระยะประมาณ ๖๗๐ เมตร บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนว
ถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ ๓๒๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๘ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๘
บรรจบกับถนนสาย ค ๑ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ข ๘ ระยะประมาณ
๑,๒๗๐ เมตร และไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ ๕๖๐ เมตร
จนบรรจบกับถนนสาย ก ๑ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก ๑ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑

ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนเศรษฐกิจ ๑ ซอย ๗ (ถนนสาย ก ๑) ระยะประมาณ
๕๑๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อระยะประมาณ ๒๗๐ เมตร
และไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ระยะประมาณ ๔๔๐ เมตร จนบรรจบกั บ ถนนสาย ค ๒
ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ค ๒ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ตามแนวถนนสาย ค ๒ ระยะประมาณ ๔๙๐ เมตร
ถนนสาย ข ๗ เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง และถนนโครงการ
กําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ที่บริเวณห่างจากถนนสะแกงาม
(ถนนสาย ข ๕) บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ระยะประมาณ ๖๖๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตก ระยะประมาณ ๔๐๐ เมตร บรรจบกับ
ซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓) ที่บริเวณห่างจากซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓)
บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยเพชรเกษม ๙๑
(ถนนสาย ข ๓) ระยะประมาณ ๒,๑๘๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๓๐๐ เมตร
บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ และไปทางทิศตะวันตกตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ ระยะประมาณ ๒๗๐ เมตร
จนบรรจบถนนสาย ค ๑ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ค ๑ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ค ๑ ระยะประมาณ ๒,๒๗๐ เมตร
ถนนสาย ข ๘ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ค ๑
ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓) บรรจบกับถนนสาย ค ๑ ไปทาง
ทิ ศ เหนื อ ตามแนวถนนสาย ค ๑ ระยะประมาณ ๗๐๐ เมตร ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ
ระยะประมาณ ๑,๒๓๐ เมตร จนบรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข ๖) ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสาย ข ๖ บรรจบกับถนนเศรษฐกิจ ๑ ซอย ๗ (ถนนสาย ก ๑) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข ๖) ระยะประมาณ ๕๖๐ เมตร
ถนนสาย ข ๙ เป็ น ถนนเดิ มกํ าหนดให้ ข ยายเขตทางคื อ ถนนสวนหลวง - ร่ ว มใจ
และถนนโครงการกํ า หนดให้ ก่ อ สร้ า งใหม่ เริ่ ม ต้ น จากเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสวนหลวง - ร่วมใจ (ถนนสาย ข ๙) ระยะประมาณ ๔๔๐ เมตร
บรรจบกับถนนสาย ข ๕ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๕ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘
ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ต ามแนวถนนสาย ข ๕ ระยะประมาณ ๑,๕๔๐ เมตร ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสวนหลวง - ร่วมใจ (ถนนสาย ข ๙) บรรจบกับทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ระยะประมาณ ๑,๖๑๐ เมตร จนบรรจบกั บ ถนนสาย ค ๑
ที่บริเวณห่างจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓) บรรจบกับถนนสาย ค ๑ ไปทาง
ทิศเหนือตามแนวถนนสาย ค ๑ ระยะประมาณ ๔๕๐ เมตร
ถนนสาย ข ๑๐ เป็นถนนเดิมไม่ปรากฏชื่อกําหนดให้ขยายเขตทาง คือ ถนนไม่ปรากฏชื่อ
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ค ๑)
ที่ บ ริ เ วณห่ า งจากทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ บรรจบกั บ ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๓๐๙๑

ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๑,๓๘๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนไม่ปรากฏชื่อ
ระยะประมาณ ๒๗๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๑๑๐ เมตร บรรจบกับ
ถนนสาย ก ๘ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ก ๘ บรรจบกับทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวถนนสาย ก ๘ ระยะประมาณ ๑,๗๔๐ เมตร และไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ระยะประมาณ ๔๖๐ เมตร จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ที่บริเวณห่างจาก
ทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ระยะประมาณ ๑,๕๔๐ เมตร
ถนนสาย ข ๑๑ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙
และถนนเลี ย บคลองสี่ ว า เริ่ ม ต้ น จากถนนเลี ย บคลองสี่ ว า บริ เ วณแนวเขตผั ง เมื อ งรวมด้ า นทิ ศ ใต้
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศเหนือและทิศตะวันออกตามแนวถนนเลียบคลองสี่วา และทางหลวงชนบท
สค. ๕๐๐๙ จนบรรจบกับแนวเขตผังเมืองรวมด้านทิศตะวันออก
ถนนสาย ข ๑๒ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙
เริ่มต้นจากทางหลวงชนบท สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๕๐๐๙
จนบรรจบกับถนนเลียบคลองสี่วา (ถนนสาย ข ๑๑)
ถนนสาย ข ๑๓ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากซอยสุคนธวิท ๒๕
(ถนนสาย ก ๑๕) ที่บริเวณห่างจากซอยสุคนธวิท ๒๕ (ถนนสาย ก ๑๕) บรรจบกับถนนสุคนธวิท
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยสุคนธวิท ๒๕ (ถนนสาย ก ๑๕) ระยะประมาณ ๕๑๐ เมตร
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๕๔๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ก ๑๔ ที่บริเวณห่างจาก
ถนนสาย ก ๑๔ บรรจบกับถนนสุคนธวิท ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ก ๑๔
ระยะประมาณ ๕๐๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๙๓๐ เมตร จนบรรจบ
กับซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒) ที่บริเวณห่างจากซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒) บรรจบกับ
ถนนสุคนธวิท ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวซอยเทศบาล ๔ (ถนนสาย ก ๑๒) ระยะประมาณ ๕๒๐ เมตร
๓. ถนนแบบ ค ขนาดเขตทาง ๒๕.๐๐ เมตร จํานวน ๓ สาย ดังนี้
ถนนสาย ค ๑ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑
และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้ างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ ระยะประมาณ
๒,๑๖๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๑,๒๒๐ เมตร บรรจบกับทางหลวงชนบท
สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓) ที่บริเวณห่างจากถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ก ๔) บรรจบกับ
ทางหลวงชนบท สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงชนบท
สค. ๔๐๐๑ (ถนนสาย ก ๓) ระยะประมาณ ๒๙๐ เมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะประมาณ ๕๓๐
เมตร บรรจบกั บ ถนนสาย ข ๙ ที่ บ ริ เ วณห่ า งจากถนนสาย ข ๙ บรรจบกั บ ทางหลวงชนบท
สค. ๑๐๑๘ ไปทางทิศตะวันตกตามแนวถนนสาย ข ๙ ระยะประมาณ ๑,๖๑๐ เมตร ไปทาง
ทิศเหนือ ระยะประมาณ ๒๕๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๘ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๘

บรรจบกับถนนไม่ปรากฏชื่อ (ถนนสาย ข ๖) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ข ๘
ระยะประมาณ ๑,๒๗๐ เมตร ไปทางทิศเหนือ ระยะประมาณ ๘๖๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๗
ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๗ บรรจบกับซอยเพชรเกษม ๙๑ (ถนนสาย ข ๓) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ตามแนวถนนสาย ข ๗ ระยะประมาณ ๑,๕๗๐ เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือระยะประมาณ
๑,๘๓๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๔ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๔ บรรจบกับซอยเพชรเกษม ๙๑
(ถนนสาย ข ๓) ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ แ ละทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ตามแนวถนนสาย ข ๔
ระยะประมาณ ๑,๒๙๐ เมตร และไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ระยะประมาณ ๗๔๐ เมตร
จนบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ที่บริเวณห่างจากทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ระยะประมาณ ๙๕๐ เมตร
ถนนสาย ค ๒ เป็นถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากถนนสาย ค ๑
ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ค ๑ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวถนนสาย ค ๑ ระยะประมาณ ๒,๒๗๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ระยะประมาณ ๙๕๐ เมตร บรรจบกับถนนสาย ข ๖ ที่บริเวณห่างจากถนนสาย ข ๖ บรรจบกับ
ถนนสาย ก ๑ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๗๑๐ เมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ระยะประมาณ ๔๙๐ เมตร บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ที่บริเวณห่างจากทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ บรรจบกั บ ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข ๔ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้
และทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๙๑ ระยะประมาณ ๑,๗๔๐ เมตร
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะประมาณ ๑,๒๘๐ เมตร จนบรรจบกับ
แนวเขตผังเมืองรวมด้านทิศตะวันตก
ถนนสาย ค ๓ เป็นถนนเดิมกําหนดให้ขยายเขตทางคือ ซอยวัดนางสาว ๑ ซอยสุจินต์อุทิศ
และถนนเศรษฐกิจ ๑ ซอย ๖ และถนนโครงการกําหนดให้ก่อสร้างใหม่ เริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข ๓๐๙๑ ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกตามแนวซอยวั ด นางสาว ๑ ระยะประมาณ ๕๙๐ เมตร
ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ระยะประมาณ ๖๑๐ เมตร บรรจบกั บ ซอยสุ จิ น ต์ อุ ทิ ศ ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวซอยสุจินต์อุทิศ ระยะประมาณ ๗๖๐ เมตร บรรจบกับถนนเศรษฐกิจ ๑
ซอย ๘ (วิรุณราษฎร์) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะประมาณ ๑,๐๙๐ เมตร บรรจบกับ
ถนนเศรษฐกิ จ ๑ ซอย ๖ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตามแนวถนนเศรษฐกิ จ ๑ ซอย ๖
ระยะประมาณ ๒๕๐ เมตร และไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ระยะประมาณ ๕๕๐ เมตร
จนบรรจบกับแนวเขตผังเมืองรวมด้านทิศเหนือ
หนา้ ๗๕
เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๑๒๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่สมควรกาหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวม
ในท้องที่ตาบลอ้อมน้อย ตาบลหนองนกไข่ ตาบลสวนหลวง ตาบลบางยาง ตาบลท่าไม้ ตาบลตลาดกระทุ่มแบน
ตาบลคลองมะเดื่อ ตาบลแคราย ตาบลดอนไก่ดี และตาบลท่าเสา อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาและการด ารงรั ก ษาเมื อ งและบริ เ วณที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ชนบท ในด้ า น
การใช้ ป ระโยชน์ ใ นทรั พ ย์ สิ น การคมนาคมและการขนส่ ง การสาธารณู ป โภค บริ ก ารสาธารณะ
และสภาพแวดล้ อม ทั้งนี้ เพื่อให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์ของการผั งเมือง และโดยที่มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๕๘ บัญญัติว่า การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทาโดยกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

You might also like