You are on page 1of 31

หน้า ๒๔

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

กฎกระทรวง
ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี
พ.ศ. ๒๕๖๐

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และ


มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ ง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารผั ง เมื อ ง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย
พระราชบั ญ ญั ติ ก ารผั ง เมื อ ง (ฉบั บ ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทย
ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ใช้บังคับผังเมืองรวม ในท้องที่จังหวัดสุพรรณบุรี ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้าย
กฎกระทรวงนี้ เว้นแต่พื้นที่ที่อยู่ในแนวเขตดังต่อไปนี้ ให้ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของที่ดินนั้น ๆ
ตามที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ ประกาศที่เกี่ยวข้องกําหนดไว้ โดยไม่อ ยู่ในบังคั บ
การใช้ประโยชน์ที่ดินที่กําหนดในกฎกระทรวงนี้
(๑) เขตพระราชฐาน
(๒) พื้นที่ที่ได้ใช้หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ในราชการทหาร
(๓) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย
(๔) ท้องที่ที่มีการประกาศใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองหรือผังเมืองรวมชุมชน
ข้อ ๒ การวางและจัดทําผังเมืองรวมตามกฎกระทรวงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนา และการดํารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์
ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม
ในบริ เ วณแนวเขตตามข้ อ ๑ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาระบบเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข้อ ๓ ผั ง เมื อ งรวมตามกฎกระทรวงนี้ มี น โยบายและมาตรการเพื่ อ จั ด ระบบการใช้
ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและ
สอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีสาระสําคัญ
ดังต่อไปนี้
หน้า ๒๕
เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

(๑) สงวนรั ก ษาพื้ น ที่ ที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละมี ศั ก ยภาพเหมาะสมในด้ า นการเกษตร
รวมทั้งอนุรักษ์พื้นที่เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม
(๒) พั ฒ นาระบบชุ ม ชนของจั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี เพื่ อ รองรั บ การกระจายความเจริ ญ ของ
กิจกรรมต่าง ๆ จากกรุงเทพมหานคร
(๓) สร้างและพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยวสู่ระบบการท่องเที่ยวเพื่อเชื่อมต่อกลุ่มจังหวัด
ข้อ ๔ การใช้ประโยชน์ที่ดินภายในเขตผังเมืองรวม ให้เป็นไปตามแผนผังกําหนดการใช้
ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จําแนกประเภท และรายการประกอบแผนผังท้ายกฎกระทรวงนี้
ข้อ ๕ การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ตามแผนผั ง กํ า หนดการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ตามที่ ไ ด้ จํ า แนก
ประเภทท้ายกฎกระทรวงนี้ ให้เป็นไปดังต่อไปนี้
(๑) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๑.๑ ถึงหมายเลข ๑.๒๐ ที่กําหนดไว้เป็นสีชมพู ให้เป็นที่ดิน
ประเภทชุมชน
(๒) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๒.๑ ถึงหมายเลข ๒.๕ ที่กําหนดไว้เป็นสีม่วง ให้เป็นที่ดิน
ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า
(๓) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๓.๑ ถึงหมายเลข ๓.๑๖ ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียว ให้เป็นที่ดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(๔) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๔.๑ ถึงหมายเลข ๔.๖ ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวมีกรอบและ
เส้นทแยงสีน้ําตาล ให้เป็นที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
(๕) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๕ ที่กําหนดไว้เป็นสีเขียวอ่อ น ให้เป็นที่ดินประเภทที่โล่ง
เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(๖) ที่ ดิ น ในบริ เ วณหมายเลข ๖.๑ ถึ ง หมายเลข ๖.๔ ที่ กํ า หนดไว้ เ ป็ น สี เ ขี ย วอ่ อ น
มีเส้นทแยงสีขาว ให้เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้
(๗) ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๗.๑ ถึงหมายเลข ๗.๓ ที่กําหนดไว้เป็นสีฟ้า ให้เป็นที่ดิน
ประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ข้อ ๖ ที่ ดิ น ประเภทชุ ม ชน ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ การอยู่ อ าศั ย พาณิ ช ยกรรม
เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
สําหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ดําเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่ไม่ใช่อาคารสูง
หรืออาคารขนาดใหญ่
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) คลังน้ํามันและสถานที่เก็บรักษาน้ํามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง เพื่อการจําหน่าย
หน้า ๒๖
เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

(๓) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่


บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
(๔) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่า
ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๖) กําจัดวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
(๗) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
(๘) สนามยิงปืน เว้นแต่เป็นการดําเนินการของรัฐ
(๙) กํ า จั ด มู ล ฝอย เว้ น แต่ เ ป็ น กิ จ การที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม ดู แ ลหรื อ ได้ รั บ อนุ ญ าต
ให้ดําเนินการจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(๑๐) ซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ
ข้อ ๗ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการประกอบ
อุตสาหกรรมหรือเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม คลังสินค้า สถาบันราชการ และการสาธารณูปโภคและ
สาธารณูปการ สําหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ดําเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคาร
ที่มีความสูงไม่เกิน ๑๒ เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า
สํ า หรั บ อาคารทรงจั่ ว หรื อ ปั้ น หยาให้ วั ด จากระดั บ พื้ น ดิ น ที่ ก่ อ สร้ า งถึ ง ยอดผนั ง ของชั้ น สู ง สุ ด
แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสําหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณ
สื่อสารทุกชนิด หอถังน้ํา ปล่องเมรุ ปล่องโรงงานอุตสาหกรรม และไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร
ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้
(๑) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
(๒) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๓) การประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ่
(๔) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก
(๕) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชรา
การใช้ประโยชน์ที่ดินริมทางหลวงแผ่นดินและทางหลวงชนบท ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทาง
ไม่น้อยกว่า ๑๐ เมตร
ข้อ ๘ ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือ
เกี่ ย วข้ อ งกั บ เกษตรกรรม การอยู่ อ าศั ย สถาบั น การศึ ก ษา สถาบั น ศาสนา สถาบั น ราชการและ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สําหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ดําเนินการหรือ
ประกอบกิจการได้ในอาคารที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
หน้า ๒๗
เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

ที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้


(๑) โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) คลังน้ํามันและสถานที่เก็บรักษาน้ํามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง เพื่อการจําหน่าย
(๓) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และ
สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
(๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๕) จั ด สรรที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบพาณิ ช ยกรรม เว้ น แต่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการจั ด สรรที่ ดิ น
เพื่อการอยู่อาศัย และมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละสามสิบของพื้นที่โครงการทั้งหมด
(๖) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๗) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม
การใช้ประโยชน์ที่ดินรอบบึงฉวาก ด้านตะวันตกเป็นเส้นขนานระยะ ๑๐๐ เมตร กับทางหลวงชนบท
รอบบึงฉวากฝั่งตะวันตก และด้านตะวันออกเป็นเส้นขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับทางหลวงชนบท
รอบบึงฉวากฝั่งตะวันออก ให้มีความสูงของอาคารไม่เกิน ๑๒ เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจาก
ระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สําหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึง
ยอดผนังของชั้นสูงสุด แต่ไม่หมายความรวมถึงโครงสร้างสําหรับใช้ในการรับส่งสัญญาณวิทยุ สัญญาณ
โทรทัศน์ หรือสัญญาณสื่อสารทุกชนิด หอถังน้ํา ปล่องเมรุ ปล่องโรงงานอุตสาหกรรม และไซโลเก็บ
ผลิตผลทางการเกษตร
ข้อ ๙ ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดิน
ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สําหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ดําเนินการหรือ
ประกอบกิจการได้ในอาคารที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการ
ตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้
(๑) โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกท้ายกฎกระทรวงนี้
(๒) คลังน้ํามันและสถานที่เก็บรักษาน้ํามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
น้ํามันเชื้อเพลิง เพื่อการจําหน่าย
(๓) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และ
สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
(๔) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม
หน้า ๒๘
เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

(๕) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม เว้นแต่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย


และมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละสามสิบของพื้นที่โครงการทั้งหมด
(๖) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๗) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม
ข้อ ๑๐ ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่ดิน
ซึ่งเป็นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น
ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อนันทนาการหรือเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การอยู่อาศัย เกษตรกรรม
หรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น
และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้
(๑) เลี้ ย งม้ า โค กระบื อ สุ ก ร แพะ แกะ ห่ า น เป็ ด ไก่ งู จระเข้ หรื อ สั ต ว์ ป่ า
ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๒) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๓) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๔) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว
(๕) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม
ข้อ ๑๑ ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแล
รักษาหรือบํารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน้ํา ลําธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีและ
กฎหมายเกี่ ย วกั บ การป่ า ไม้ การสงวนและคุ้ ม ครองสั ต ว์ ป่ า และการส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติเท่านั้น
ที่ดินประเภทนี้ซึ่งเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อการอยู่อาศัย เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น
และห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังต่อไปนี้
(๑) เลี้ ย งม้ า โค กระบื อ สุ ก ร แพะ แกะ ห่ า น เป็ ด ไก่ งู จระเข้ หรื อ สั ต ว์ ป่ า
ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า
(๒) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
(๓) การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่
(๔) การอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว
(๕) การอยู่อาศัยประเภทอาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยู่อาศัยรวม
หน้า ๒๙
เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

ข้อ ๑๒ ที่ ดิ น ประเภทที่ โ ล่ ง เพื่ อ การรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
เพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือเกี่ยวข้องกับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การประมง การท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น
ข้อ ๑๓ ที่ดินในเขตโบราณสถาน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน
โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ข้อ ๑๔ ให้ ผู้ มี อํ า นาจหน้ า ที่ ใ นการควบคุ ม การก่ อ สร้ า งอาคารหรื อ การประกอบกิ จ การ
ในเขตผังเมืองรวมปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐


พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ประเภท ชนิด และจําพวกของโรงงานที่ห้ามประกอบกิจการ
ท้ายกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๖๐

หมายเหตุ ๑. ลําดับที่ หมายถึง ลําดับที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน


๒. จําพวกที่ หมายถึง จําพวกที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
ที่ดินประเภทชุมชน
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน จําพวกที่ หมายเหตุ
๗ (๑) โรงงานสกัดน้ํามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ ๓
ที่ใช้สารตัวทําละลายในการสกัด
(๔) โรงงานทําน้ํามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ให้บริสุทธิ์ ๓
ที่ใช้สารตัวทําละลายในการสกัด
๔๒ (๑) โรงงานทําเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี ซึ่งมิใช่ปุ๋ย ๓
(๒) โรงงานเก็บรักษา ลําเลียง แยก คัดเลือก หรือแบ่งบรรจุเฉพาะเคมีภัณฑ์ ๓
อันตราย ซึ่งมิใช่ปุ๋ย
๔๓ (๑) โรงงานทําปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ (Pesticides) ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
ที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียม
ไนเตรต (Ammonium
Nitrate) หรือโปแตสเซียม
คลอเรต (Potassium
Chlorate) ให้ประกอบ
กิจการได้
(๒) โรงงานเก็บรักษาหรือแบ่งบรรจุปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืช ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
หรือสัตว์ (Pesticides) ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
ที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียม
ไนเตรต (Ammonium
Nitrate) หรือโปแตสเซียม
คลอเรต (Potassium
Chlorate) ให้ประกอบ
กิจการได้
๔๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ๓
ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรือเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งมิใช่ใยแก้ว
๔๕ (๑) โรงงานทําสี (Paints) สําหรับใช้ทา พ่น หรือเคลือบ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓
เฉพาะสีน้ํา ให้ประกอบ
กิจการได้
(๒) โรงงานทําน้ํามันชักเงา น้ํามันผสมสี หรือน้ํายาล้างสี ๓
(๓) โรงงานทําเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือผลิตภัณฑ์สําหรับใช้ยาหรืออุด ๓

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน จําพวกที่ หมายเหตุ
๔๘ (๔) โรงงานทําไม้ขีดไฟ วัตถุระเบิด หรือดอกไม้เพลิง ๓
(๖) โรงงานทําหมึกหรือคาร์บอนดํา ๓
๔๙ โรงงานกลั่นน้ํามันปิโตรเลียม ๓
50 (๔) โรงงานผสมผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมเข้าด้วยกัน หรือการผสมผลิตภัณฑ์ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
จากปิโตรเลียมกับวัสดุอื่น แต่ไม่รวมถึงการผสมผลิตภัณฑ์จากก๊าซ แอสฟัลต์ติกคอนกรีต
ธรรมชาติกับวัสดุอื่น ให้ประกอบกิจการได้
๘๙ โรงงานผลิตก๊าซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ และโรงงานส่งหรือจําหน่ายก๊าซ ๓
แต่ไม่รวมถึงโรงงานส่งหรือจําหน่ายก๊าซที่เป็นน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมาย
ว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
91 (๒) โรงงานบรรจุก๊าซ แต่ไม่รวมถึงการบรรจุก๊าซที่เป็นน้ํามันเชื้อเพลิงตาม 3
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
๙๒ โรงงานห้องเย็นที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทําความเย็น ๑ ๒ และ ๓
๙๙ โรงงานผลิต ซ่อมแซม หรือดัดแปลง เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ๓
หรือสิ่งอื่นใดที่มีอํานาจในการประหาร ทําลาย หรือทําให้หมดสมรรถภาพ
ในทํานองเดียวกับเครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิด และรวมถึง
สิ่งประกอบของสิ่งดังกล่าว
ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน จําพวกที่ หมายเหตุ
๗ (๑) โรงงานสกัดน้ํามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ ๓
ที่ใช้สารตัวทําละลายในการสกัด
(๔) โรงงานทําน้ํามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ให้บริสุทธิ์ ๓
ที่ใช้สารตัวทําละลายในการสกัด
๔๒ (๑) โรงงานทําเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี ซึ่งมิใช่ปุ๋ย ๓
(๒) โรงงานเก็บรักษา ลําเลียง แยก คัดเลือก หรือแบ่งบรรจุเฉพาะเคมีภัณฑ์ ๓
อันตราย ซึ่งมิใช่ปุ๋ย
๔๓ (๑) โรงงานทําปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ (Pesticides) ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
ที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียม
ไนเตรต (Ammonium
Nitrate) หรือโปแตสเซียม
คลอเรต (Potassium
Chlorate) ให้ประกอบ
กิจการได้

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน จําพวกที่ หมายเหตุ
(๒) โรงงานเก็บรักษาหรือแบ่งบรรจุปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืช ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
หรือสัตว์ (Pesticides) ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
ที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียม
ไนเตรต (Ammonium
Nitrate) หรือโปแตสเซียม
คลอเรต (Potassium
Chlorate) ให้ประกอบ
กิจการได้
๔๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ๓
ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรือเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งมิใช่ใยแก้ว
๔๕ (๑) โรงงานทําสี (Paints) สําหรับใช้ทา พ่น หรือเคลือบ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓
เฉพาะสีน้ํา ให้ประกอบ
กิจการได้
(๒) โรงงานทําน้ํามันชักเงา น้ํามันผสมสี หรือน้ํายาล้างสี ๓
(๓) โรงงานทําเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือผลิตภัณฑ์สําหรับใช้ยาหรืออุด ๓
๔๘ (๔) โรงงานทําไม้ขีดไฟ วัตถุระเบิด หรือดอกไม้เพลิง ๓
(๖) โรงงานทําหมึกหรือคาร์บอนดํา ๓
๔๙ โรงงานกลั่นน้ํามันปิโตรเลียม ๓
50 (๔) โรงงานผสมผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมเข้าด้วยกัน หรือการผสมผลิตภัณฑ์ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
จากปิโตรเลียมกับวัสดุอื่น แต่ไม่รวมถึงการผสมผลิตภัณฑ์จากก๊าซ แอสฟัลต์ติกคอนกรีต
ธรรมชาติกับวัสดุอื่น ให้ประกอบกิจการได้
๘๙ โรงงานผลิตก๊าซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ และโรงงานส่งหรือจําหน่ายก๊าซ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓
แต่ไม่รวมถึงโรงงานส่งหรือจําหน่ายก๊าซที่เป็นน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมาย ในท้องที่ตําบลศาลาขาว
ว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง อําเภอเมืองสุพรรณบุรี
จังหวัดสุพรรณบุรี เฉพาะ
โฉนดที่ดินเลขที่ ๕๖๖๓๖
เลขที่ดิน ๒๘๗
ให้ประกอบกิจการได้
๙๒ โรงงานห้องเย็นที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทําความเย็น ๑ ๒ และ ๓
๙๙ โรงงานผลิต ซ่อมแซม หรือดัดแปลง เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ๓
หรือสิ่งอื่นใดที่มีอํานาจในการประหาร ทําลาย หรือทําให้หมดสมรรถภาพ
ในทํานองเดียวกับเครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิด และรวมถึงสิ่งประกอบของ
สิ่งดังกล่าว

ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม บริเวณที่เอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน จําพวกที่ หมายเหตุ
๗ (๑) โรงงานสกัดน้ํามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ ๓
ที่ใช้สารตัวทําละลายในการสกัด
(๔) โรงงานทําน้ํามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ให้บริสุทธิ์ ๓
ที่ใช้สารตัวทําละลายในการสกัด
๔๒ (๑) โรงงานทําเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี ซึ่งมิใช่ปุ๋ย ๓
(๒) โรงงานเก็บรักษา ลําเลียง แยก คัดเลือก หรือแบ่งบรรจุเฉพาะเคมีภัณฑ์ ๓
อันตราย ซึ่งมิใช่ปุ๋ย
๔๓ (๑) โรงงานทําปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ (Pesticides) ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
ที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียม
ไนเตรต (Ammonium
Nitrate) หรือโปแตสเซียม
คลอเรต (Potassium
Chlorate) ให้ประกอบ
กิจการได้
(๒) โรงงานเก็บรักษาหรือแบ่งบรรจุปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกําจัดศัตรูพืช ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
หรือสัตว์ (Pesticides) ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี
ที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียม
ไนเตรต (Ammonium
Nitrate) หรือโปแตสเซียม
คลอเรต (Potassium
Chlorate) ให้ประกอบ
กิจการได้
๔๔ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ๓
ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรือเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งมิใช่ใยแก้ว
๔๕ (๑) โรงงานทําสี (Paints) สําหรับใช้ทา พ่น หรือเคลือบ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓
เฉพาะสีน้ํา ให้ประกอบ
กิจการได้
(๒) โรงงานทําน้ํามันชักเงา น้ํามันผสมสี หรือน้ํายาล้างสี ๓
(๓) โรงงานทําเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือผลิตภัณฑ์สําหรับใช้ยาหรืออุด ๓
๔๘ (๔) โรงงานทําไม้ขีดไฟ วัตถุระเบิด หรือดอกไม้เพลิง ๓
(๖) โรงงานทําหมึกหรือคาร์บอนดํา ๓
๔๙ โรงงานกลั่นน้ํามันปิโตรเลียม ๓

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน จําพวกที่ หมายเหตุ
50 (๔) โรงงานผสมผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมเข้าด้วยกัน หรือการผสมผลิตภัณฑ์ ๓ ยกเว้นจําพวกที่ ๓ เฉพาะ
จากปิโตรเลียมกับวัสดุอื่น แต่ไม่รวมถึงการผสมผลิตภัณฑ์จากก๊าซ แอสฟัลต์ติกคอนกรีต
ธรรมชาติกับวัสดุอื่น ให้ประกอบกิจการได้
๘๙ โรงงานผลิตก๊าซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ และโรงงานส่งหรือจําหน่ายก๊าซ ๓
แต่ไม่รวมถึงโรงงานส่งหรือจําหน่ายก๊าซที่เป็นน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมาย
ว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง
๙๒ โรงงานห้องเย็นที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทําความเย็น ๑ ๒ และ ๓
๙๙ โรงงานผลิต ซ่อมแซม หรือดัดแปลง เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ๓
หรือสิ่งอื่นใดที่มีอํานาจในการประหาร ทําลาย หรือทําให้หมดสมรรถภาพ
ในทํานองเดียวกับเครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิด และรวมถึงสิ่งประกอบของ
สิ่งดังกล่าว
34 ' กNก
" 4 %( % & )
&.-. 2560

% ! 1 : 250,000
0 5 10 20 ก;. %

5 20 30 40 50 60 70 80 90 6 00 10 20 30 40
(

"

+#

+#

"
ก ก

%(
+#

+#
"
#: 3 ! #: "&
#: / & ก 3. #: / &.=
60 60
.

+# &. 5035 . &.3008


.
&.4016
. "
- #: 3 ! #: /%C
< #: 3 ! #: "& #: & C 3. #: *+
50 #: / & ก 3. #: / &.= . /%C . . ก %! .# ก C 50

&.4002
&. 402 ก
7
.

. .;"ก
1 .
&. 403 & . 30
14
. ! ก
. % +#

/ 3496
. % "! ;%
.

./ & . ! ".

% .
. "%ก ! .#: 3ก
%
.

ก ก . - . /
3 ! & . 34! % ./ 3350
40 . ;& < .
40

!
. 34
. 34! % ./ 3086 .3 %
. "& 7 % ./ 350 ./
ก &. 301 . 34! 2 32
.ก . . % ./ 30
. . 34!
. &. 4022

&. 3032
3 4!
.
% . 34! % ./ 3365
. ! ./
. /% 333 %ก
. 34 * +, . %ก

.
! % ./ 34 . 4ก ก . .Dก

.
30 80 . * +,
! 30

.
. & .
.

&. 4050
96
.

./ 34
. &. 4037 . #=

&. 3015
.
. !

. 34 $
&. 30 . C,
. 24
ก*

34 !

!
. . ก . ! %
&. 3 .

.
018 20
20

./
.#.

340
. 34! % ./ 3264 . 34! % ./ 3373
. ก ;% . ก!
.
-> *
. 34! % ./ 3468 8 .- #
.
34 ! % ./ 303 +#

2
.+ ! ?

% ./ 32
. ;/ . % -#
0 .% 3
+# %( !
304 .

3003
.
10 34 195 10

. 34!
./ 3

&.
. .'

% ./
#: 3 ! #: / ! !
3. #: / ก %
4!
.;& <& . 3
% .

. %". . ;& <

.
. % /

. 34!
.
/ 333

- . ก.
34

% . .& 3
!

/ 3460 . %
6

.&. &. +
/ 349

. .
. 3ก .C *!
%( & )
% .

1600 #:
#: / !
3 !
. ! &' .C & ) % ./ 33
+# #: ;%ก 1600
. 34 . 34!
3. #: / ก . 34! . ก ! .+4!/
% . .;"ก;" F!
. 34!

. " % ./ 357
/
.- . / 346 . !
. ก
321 1 . / *!
./ . .Eก .;"ก" %
#

. ;& <
. ;!
"

%
. 34! % ./ . 3 #. %
34! 18
. / 33
?

34

.3 .
4!
72
.&

%
. 20

. . #. %
34

90 90
=!

. 34
.% / %.% . " ก>
)

. != .ก
)

!
#: 3 ! #: / ;ก#O 3. #: / &
&

. C E . 3 .% .+4!ก

%
./
% ./ 3342
(3 ก

. 34! . "! 34 0
. / %& . . . ; ? . +#
./ 3351
?+@

. 3
0
% ./ 326
4!

% ./ . *!
324

80 . 80
% ./

3505

. 34! % ./ 3263
. &. .กG>)
. 34!

. ;& <
&. 304

. .
34!

! . &. . ก!%
34
.
.

. % ก.(
. 3

. ;% . . .
4!

&'
.

. "
. &'
.- *
% .

70 . & # " . 70
/ 321

. ! . ?
. !"ก 34
. 34! % ./ 3440
! & "-
!

%
. 34 ! 58 ./ 34
% ./ 33 . % 22
. .
+#

. 34! % ./ 3387

. ! & )
56 +
60 / 33 60
.
%

!
34
" #$%
" #$%

.
=%
=%
15 50 000 m. N.

" #$%
%(
%(

/ % C +# 15 50
! %
+#
+#

%(
+#
+#

" #$%
+#
520000 m. E. 30 40 50 60 70 80 90 6 00 10 20 30 40
" (' %
3 / 4 %( % - . ก. 4 %( % & )
/ '!ก
/ / ก'
/ . / "ก ! .
3 / #: 3 ! 3 / 3 !
3 / 3 / ก> & #:
.......................................
. ? ,
( % -ก < %( )
?+@
4= ก ก4 # -3. 4 "
&
3%! C ".
". ! C ". C
! กE C D
C " % = ..........................................
( %)M. # $)
ก %; ก 3. 4 %(
12 2 ก 3ก )4 '04 +3& +3 1 ก 0กNก
) )45 ;52 : 3 =6 C5=
6. . 2560

1 : 250,000
0 5 10 20 ก&'(

5 20 30 40 50 60 70 80 90 6 00 10 20 30 40
:
0;

;5=
ก ก
40

:
0;
> 1 4 & > ;6
) > * 6= ก 1( > * 06( 3 = 0J
60 60

340
6. 3008 ( 4 5 6.3008
( 4
6.4016

5
5

> 1 4 & > 0* &E


3&? > 6= E 1( > ( 4
50 > 1 4 & > ;6
6.2
5 6 ก 50
( 4 5

> * 6= ก 1( > * 06( . 4027


6.4002 ( 4 7.1
5 6 5
6. 403
1 ( 4 5 6. 3175
. 301
4 2,700 . (ก * + 2 7.2
45

(ก * + 3
1,000 .
4.1 6.1 ( 12

496
8 ก94:+
3& 5 54
(ก * +4

3 4
(ก * + 1
3& (ก * + 3 (ก * + 4
1.2
5 ( 5(5 ก = (ก * +5
5

1.1
(

0 (* 3
8 ก94:+ (ก * +6
0 (* 3350
2.1 (ก * +7 (ก * + 1
7.3 3.2
( 4

(ก * + 11 (ก * + 8 (ก * + 9 (ก * + 2
(ก * + 9
900 .
5 ( 5( * 6
ก ก (ก * + 10
3.1
0 (* 3350
(ก * + 8
( 12 3& 3 & 5=
(ก * + 2
= 0 1 4 6& = 0 (ก * + 7
(ก * + 5

3&
(ก * + 1
40 ( 12 3& 0 (* 3068 5 ( 5(3 4
1.3 5 ( 5( 3K
(ก * + 6 (ก * + 1
40

( 12
(ก * + 6 5 ( 5( 54
ก 0 (* 3
6. 3017 ( 12 3&
(ก * + 4 (ก * + 3
502 ( 4 5 6. 3050 032
4 5 0 (* 3
(ก * + 2

( 1.5 (
( ( 4 5 6. 4022 1.4 12 3&

6. 3032
(ก * + 5
12 (ก * + 1 (ก * + 3

4.3 3& 4.2 5 ( 5(


(ก * + 2 ;( 5 0) 4=ก 1 (ก * + 1 (ก * + 2 (ก * + 4

0(
(ก * + 5
( 12 3& 0 (* 3365
(ก * + 3
(ก * + 4
*3 (ก * + 4
4=ก

( 4 5
(ก * + 3
33
( 12

( 4 5
3& 5 ( 5( 4=ก
30 0 (* 3480 3.3 3 30

( 4 5
(ก * + 5
3.4
(ก * + 9 1.6

6. 4050
3496
" ! (ก * + 6

75
( 4 5 6. 4037

6. 3015
1,100 .

0 (*

5 6. 40
(ก * + 8 (ก * + 7
950 . 8 ก94:+
1,500 . ( 4 500 .
2.2 5

( 12 -
1,200 . 6. 30

&
12 3
( 24
45
3ก 5=
.

( 4
3 ,3 00
3&
6. 3 8 ก94:+

0(
018 1.8 20
20 8 ก94:+
3 30

* 34
(ก * + 1
(ก * + 2 (ก * + 3 (ก * + 4
( 12 3& 0 (* 3264 ( 12 3& 0 (* 3373

0
(ก * + 1 (ก * + 2
(ก * + 5 (ก * + 3 (ก * + 2
(ก * + 9 5 ( 5( ก ' (ก * + 7 (ก * + 4

& @404
(ก * + 3
(ก * + 6
5 ( 5(3 30 (ก * + 1
( 12 3& 0 (* 3468 (ก * + 8 (ก * + 7 (ก * + 6
38 5 ( 5(
0 (* 30 1.9
(ก * + 5
(
1 2 3&
(ก * +4
1.7 3.6

2
(ก * +5

0 (* 32
(ก * + 8 (ก * +6
(ก * +7

0 3.7 :
304

3003
( 12 3&
(
10 12 3195 10

6.
0 (*

0 (*
> 1 4 & > * = 3& 3 -, (ก * + 1

4.4
+
1( > * ก &
2 3

5
3&

6.3 ( 1
(ก * + 4

( 4
(ก * + 2

( 12 3&
0 (* 33

3.5
(

(ก * + 1
3& 1.11 (ก * + 2
(ก * + 3
12

: =6 C5= 3.8
3

0 (* 3460
1.10
496
0 (* 3

5 ( 5( 3K (ก * + 3
(ก * + 1 (ก * + 2 (ก * + 4
(ก * + 3
1600 3.9 >' ก 1600
> 1 4 & (ก * + 5 (ก * + 11
(ก * + 5
( 12 3& 0 (* 33
( 12 3&

(ก * + 8
> * = 3& 3 ( 12 3& (ก * + 1
(ก * + 4
(ก * + 10 (ก * + 9
1( > * ก 0 (* (ก * + 7 (ก * + 6

346 ( 12 3& 0 (* 321


3 2 1 1 (ก * + 2
*
0( 5 (
(ก * + 5
1.12 ( 12 3& 0 (* 357
)*

(ก * + 4 (ก * + 2 (ก * + 1
1.15
3& 5 ( 5( 1 (ก * + 1 (ก * + 3
5 ( 5(';ก;
12 18 (ก * + 4

* 33 5(ก(*
(ก * + 2
( 12 3& 0 (* 3472 ( (1 +6
0( 5(5 ( (ก * + 3
(ก * + 3
2 3.11
90 3& 1.13 (ก * + 5 (ก * + 4
1,300 . 90
6.4 1.14

( 12
3.10 1.16
(ก * + 1
=)

(ก * + 2
C5

> 1 4 & > * 'ก F3 1( > * 64 0 5 ( 5(5 1 ( .

3&
(ก * + 3 2,500
0 =6

(ก * + 4

2.3 0( (ก * + 2
0 (* 3342
(ก * + 1
* 34
(10ก

( 12 3& 0
(ก * + 6
1.175 (
(ก * + 3

5( 2ก 3&
0)

0 * 3351

(ก * + 5
1,000 .
3.12 (ก * + 4
8A

( 1
0
0 (* 326

3&
2

1.18 0 (*
24
0 (* 3

80 80
3505

(ก * + 1 (ก * + 2 ( 12 3& 0 (* 3263
( 12 3&

5 ( 5( 0 (ก0'* + 3
4.5
. 3048
12 3&

(ก * + 4
3&
12
5 6

( 3.14
(

5 90 6 00
3.13 6+
( 1

(ก * + 2
( 4

(ก * + 1
" !
200 .
2 3&

. (ก * + 3 (ก * + 4
3,400
3.9
)*

5( : 6+
( 12 3& 0 (* 3472 9
4 ,8
00
.
2.4
ก 12
(ก * + 11 1.19 (ก * + 8
7.1
1.20
0 (*

321
(ก * + 9 (ก * + 5
70 70
+ - ,

12 3& 0 (* 8 ก94:+ (ก * + 10 (
15 90 000 m.N.

8 5 . 6. 2034 100 . (ก * + 6
321

12 (ก * +7
5 36 ; 0=J0
(ก * + 1
( 2,500
15 90
( 4 5 6. 3440
(ก * + 6 (ก * + 2
3&
2,900 .

6.4 5 ( 5( = ; ก (ก * + 3
3.15
!

1.14 ( 12
(ก * + 5
8
1,100 .
0 (* 34
( 4 3& 0 * 335(ก * + 4 *
( 22
5
6. 2,300
( 12 3& 0 (* 3387 8 ก94:+
> 1 4 & > * 'ก F3 1( > * 64 0
401
2 200 . 2.5
200 .
! 1L-5L-5L-2L
4.6 3.16 5
8 ก94:+
56
60 3.10 * 33 60
0(

! 5L-5L-2L
500 . ! 5L-2L

( 12 3& 0 (* 3342
3&

3.13 ( 12
(
; <
; <

3505
0 (*
12

1,700
.
500 .
3&

200 .
15 50 000 m. N.

3 ; <
:
:

5 90 000 m. E. 6 00
3
3

12 + *0 01 3 +3& 4= 4 0 (* 1.14
0 1 2 5 E0
* 15 50
3 : ; <

5 20 000 m.E. 30 40 50 60 70 80 90 600 10 20 30 40


; :+ 0
1 * 2 : 1. * 4 6 +3& 4= 4 2 : 3 =6 C5=
* 3 2. * +3& = ก 1( ;( & ;
* * ก&+ 3. * *0 +3& 4 5 1( ก@ ก
4. * *0 ก 51( 10 E ( +3& 9& +3& 6:+ ก@ ก
* 5( 5. * *0 +3& +'( 6:+ ก 1( ก ก@ ;=C 6 &+ 1 3(
1 * > 1 4 &1 * = 0 1 4 & 6. * *0 10 * +3& = ก@ >
...................................
1 * = 0 1 * ก@ 6 J= > 7. * AM +3& +'( 6:+ ก ก@ ;=C 6 &+ 1 3(
( 0 ก3&? : )
* 2 0ก ก2 1( 2 ;
( 8 0
8A
6
1 E ;( 0 ..........................................
;( E ;( 5 0 E ( 0 CO( =3 &< )
กK5 E 5L J&53ก '0J J&ก 1( 2 :
.
รายการประกอบแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดนิ ตามที่ไดจําแนกประเภททายกฎกระทรวง
ใหใชบังคับผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี
พ.ศ. ๒๕๖๐

การใชประโยชนที่ดินใหเปนไปตามแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภท
ทายกฎกระทรวง ตามที่กําหนดไวในขอ ๕ คือ
๑. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๑.๑ ถึงหมายเลข ๑.๒๐ ที่กําหนดไวเปนสีชมพู ใหเปนที่ดิน
ประเภทชุมชน มีรายการดังตอไปนี้
๑.๑ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลบอกรุ ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลบอกรุ ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๔
หลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๗ กับหลักเขตที่ ๘
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลบอกรุ ระหวางหลักเขตที่ ๘ หลักเขตที่ ๙
กับหลักเขตที่ ๑๐
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลบอกรุ ระหวางหลักเขตที่ ๑๐ หลักเขตที่ ๑๑
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๒ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลเขาพระ ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
หลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๔
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลเขาพระ ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๕
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลเขาพระ ระหวางหลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖
หลักเขตที่ ๗ กับหลักเขตที่ ๘
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลเขาพระ ระหวางหลักเขตที่ ๘ หลักเขตที่ ๙
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๓ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลดานชาง ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลดานชาง ระหวางหลักเขตที่ ๒ กับหลักเขตที่ ๓
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลดานชาง ระหวางหลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๔
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลดานชาง ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๑
๑.๔ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลนางบวช ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลนางบวช ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๔
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลนางบวช ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๕

ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลนางบวช ระหวางหลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๕ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตํ า บลหนองหญ า ไซ ระหว า งหลั ก เขตที่ ๑
กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตํ า บลหนองหญ า ไซ ระหว า งหลั ก เขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานใต จดเขตเทศบาลตํ า บลหนองหญ า ไซ ระหว า งหลั ก เขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๔
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตํ า บลหนองหญ า ไซ ระหว า งหลั ก เขตที่ ๔
หลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๑
๑.๖ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลสามชุก ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลสามชุก ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๓
หลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖ กับหลักเขตที่ ๗
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลสามชุก ระหวางหลักเขตที่ ๗ กับหลักเขตที่ ๘
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลสามชุก ระหวางหลักเขตที่ ๘ หลักเขตที่ ๙
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๗ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลสระกระโจม ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
หลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๔
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลสระกระโจม ระหวางหลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๕
กับหลักเขตที่ ๖
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลสระกระโจม ระหวางหลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๗
กับหลักเขตที่ ๘
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลสระกระโจม ระหวางหลักเขตที่ ๘ หลักเขตที่ ๙
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๘ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลดอนเจดีย ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลดอนเจดีย ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขต
ที่ ๓ หลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๕
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลดอนเจดีย ระหวางหลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๖

ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลดอนเจดีย ระหวางหลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๗
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๙ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลศรีประจันต ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลศรีประจันต ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๔
หลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖ กับหลักเขตที่ ๗
ดานใต จดเขตเทศบาลตํ า บลศรี ป ระจั น ต ระหว า งหลั ก เขตที่ ๗
กับหลักเขตที่ ๘
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตํ า บลศรี ป ระจั น ต ระหว า งหลั ก เขตที่ ๘
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๑๐ เขตผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี
พ.ศ. ๒๕๕๕
๑.๑๑ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลทาเสด็จ ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลทาเสด็จ ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๔
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลทาเสด็จ ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๕
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลทาเสด็จ ระหวางหลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๑
๑.๑๒ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลสวนแตง ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลสวนแตง ระหวางหลักเขตที่ ๒ กับหลักเขตที่ ๓
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลสวนแตง ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๔
กับหลักเขตที่ ๕
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลสวนแตง ระหวางหลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๑
๑.๑๓ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลบางปลามา ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลบางปลามา ระหวางหลักเขตที่ ๓ กับหลักเขต
ที่ ๔
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลบางปลามา ระหวางหลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๕
กับหลักเขตที่ ๖

ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลบางปลามา ระหวางหลักเขตที่ ๖ กับหลักเขต
ที่ ๑
๑.๑๔ ดานเหนือ จดเสนตั้งฉากระยะ ๒๐๐ เมตร กับถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔
ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๗๒ เสนตั้งฉาก
ระยะ ๓,๔๐๐ เมตร กับริมฝงคลองระบายน้ํา ๙ ขวา ฝงตะวันตก ที่จุดซึ่งคลองระบายน้ํา ๙ ขวา
บรรจบกับคลองมะขามเฒา - อูทอง คลองระบายน้ํา ๙ ขวา ฝงตะวันตกและฝงใต เสนตั้งฉากระยะ
๔,๘๐๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งคลองระบายน้ํา ๙ ขวา
ตัดกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ จนบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ที่จุดซึ่งอยูหางจาก
คลองคณฑีตัดกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ เปนระยะ ๒,๕๐๐ เมตร
ดานตะวันออก จดเสนตั้งฉากระยะ ๒,๙๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน
๑L - ๕L - ๕L - ๒L ฝงเหนือ ที่จุดซึ่งอยูหางจากคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L ตัดกับ
ทางหลวงชนบท สพ. ๔๐๑๒ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกตามแนวคลองสงน้ํา
ชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L เปนระยะ ๒,๓๐๐ เมตร และเสนตั้งฉากระยะ ๒๐๐ เมตร
กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L ฝงใต ที่จุดซึ่งอยูหางจากคลองสงน้ําชลประทาน
๑L - ๕L - ๕L - ๒L ตัดกับทางหลวงชนบท สพ. ๔๐๑๒ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออก
ตามแนวคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L เปนระยะ ๒,๓๐๐ เมตร
ดานใต จดเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน
๑L - ๕L - ๕L - ๒L ฝงใตและฝงตะวันออก เสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ํา
ชลประทาน ๕L - ๕L - ๒L ฝงใตและฝงตะวันออก เสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ํา
ชลประทาน ๕L - ๒L ฝงตะวันออก เสนตั้งฉากระยะ ๑,๗๐๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๒๔ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๒๑ และเสนตั้งฉากระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๔
ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๒๔ ฟากตะวันตก เสนตั้งฉากกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๔๒ ฟากเหนือ ที่จุด
ซึ่งอยูหางจากทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๔๒ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ไปทาง
ทิศตะวันตกตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๔๒ เปนระยะ ๕๐๐ เมตร จนบรรจบกับเสนตั้งฉาก

ระยะ ๒๐๐ เมตร กับถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔ บรรจบกับ
ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๗๒ และเขตปาสงวนแหงชาติ ปาเขาตะโกปดทอง และปาเขาเพชรนอย
๑.๑๕ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลโคกคราม ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒

ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลโคกคราม ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๓


กับหลักเขตที่ ๔
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลโคกคราม ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๑
๑.๑๖ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลบานแหลม ระหวางหลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๒

ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลบานแหลม ระหวางหลักเขตที่ ๒ กับหลักเขตที่ ๓


ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลบานแหลม ระหวางหลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๔

ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลบานแหลม ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๑


๑.๑๗ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลไผกองดิน ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลไผกองดิน ระหวางหลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๔
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลไผกองดิน ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๕
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลไผกองดิน ระหวางหลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖
กับหลักเขตที่ ๑
๑.๑๘ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตํ า บลสระยายโสม ระหว า งหลั ก เขตที่ ๑
กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตํ า บลสระยายโสม ระหว า งหลั ก เขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานใต จดเขตเทศบาลตํ า บลสระยายโสม ระหว า งหลั ก เขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๔
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตํ า บลสระยายโสม ระหว า งหลั ก เขตที่ ๔
กับหลักเขตที่ ๑

๑.๑๙ เขตผัง เมืองรวมเมืองสองพี่นอ ง จัง หวัด สุพ รรณบุรี ตามกฎกระทรวงให ใชบัง คั บ
ผังเมืองรวมเมืองสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๘
๑.๒๐ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลทุงคอก ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๓
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตําบลทุงคอก ระหวางหลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๔
ดานใต จดเขตเทศบาลตําบลทุงคอก ระหวางหลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๕
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลทุงคอก ระหวางหลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๖
กับหลักเขตที่ ๑
๒. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๒.๑ ถึงหมายเลข ๒.๕ ที่กําหนดไวเปนสีมวง ใหเปนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคามีรายการ ดังตอไปนี้
๒.๑ ดานเหนือ จดทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๑๔ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเสนตรงที่จุดซึ่งถนนไมปรากฏชื่อบรรจบกับทางหลวงชนบท
สพ. ๓๐๑๔ ไปทางทิศใต ที่จุด ซึ่ง ถนนไมป รากฏชื่อบรรจบกับทางหลวงแผนดิน หมายเลข ๓๓๕๐
ไปทางทิศตะวันตกระยะ ๙๐๐ เมตร ผานถนนไมปรากฏชื่อ และผานทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๕๐
จนบรรจบกับเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฏีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น
ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง และตําบลแจงงาม ตําบลหนองขาม
ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๗
และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบล
หนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง ตําบลแจงงาม ตําบลบานหนองขาม
ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ และตําบลทะเลบก ตําบลสระกระโจม อําเภอ
ดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
ดานใต จดเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฏีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่
ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง
และตําบลแจงงาม ตําบลหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๗ และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่
ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง
ตํ า บลแจงงาม ตํ า บลบ า นหนองขาม ตํ า บลทั พ หลวง ตํ า บลหนองหญ า ไซ อํ า เภอหนองหญ า ไซ
และตําบลทะเลบก ตําบลสระกระโจม อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒

ดานตะวันตก จดทางหลวงชนบท สพ. ๓๑๗๕ ฟากตะวันออก และเสนตั้งฉาก
ระยะ ๒,๗๐๐ เมตร กับถนนไมปรากฏชื่อ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งถนนไมปรากฏชื่อตัดกับทางหลวง
ชนบท สพ. ๓๑๗๕
๒.๒ ดานเหนือ จดทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๒๔ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเส น ตั้ ง ฉากระยะ ๓,๓๐๐ เมตร กั บ ทางหลวงแผ น ดิ น
หมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งถนนไมปรากฏชื่อบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓
ดานใต จดถนนไม ป รากฏชื่ อ ฟากเหนือ และถนนเลี ยบคลองสง น้ํ า
ชลประทาน ฟากตะวันออกและฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๑,๕๐๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันตก เสนตั้งฉากระยะ ๑,๕๐๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓
ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยูหางจากทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๒๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข
๓๓๓ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ เปนระยะ ๑,๑๐๐ เมตร
และเสนตั้งฉากระยะ ๙๕๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งอยูหางจาก
ทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๒๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต
ตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ เปนระยะ ๑,๑๐๐ เมตร
๒.๓ ดานเหนือ จดเส น ตั้ ง ฉากระยะ ๒,๕๐๐ เมตร กั บ ทางหลวงแผ น ดิ น
หมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยูหางจากทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๔๘ บรรจบกับทางหลวง
แผ น ดิ น หมายเลข ๓๔๐ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต ต ามแนวทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข ๓๔๐
เปนระยะ ๑,๓๐๐ เมตร
ดานตะวันออก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวันตก
ดานใต จดเส น ตั้ ง ฉากระยะ ๒,๕๐๐ เมตร กั บ ทางหลวงแผ น ดิ น
หมายเลข ๓๔๐ ที่ จุ ด ซึ่ ง อยู ห า งจากทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข ๓๔๐ ตั ด กั บ คลองสาลี ไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ เปนระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๒,๕๐๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวันตก
๒.๔ ดานเหนือ จดถนนเลียบคลองสงน้ําชลประทาน ฟากใต
ดานตะวันออก จดถนนเลียบคลองสงน้ําชลประทาน ฟากตะวันตก และทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากตะวันตก

ดานใต จดทางหลวงชนบท สพ. ๓๔๔๐ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดถนนเลียบคลองสงน้ําชลประทาน ฟากตะวันออก
๒.๕ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากใต
ดานตะวันออก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากตะวันตก
ดานใต จดถนนไมปรากฏชื่อ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๘๗ ฟากตะวันออก และเสนตรง
ที่ลากจากจุดซึง่ ถนนไมปรากฏชื่อบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๘๗ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
เปนระยะ ๑,๑๐๐ เมตร จนบรรจบกับจุดซึ่งคลองสงน้ําชลประทานตัดกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑
๓. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๓.๑ ถึงหมายเลข ๓.๑๖ ที่กําหนดไวเปนสีเขียว ใหเปนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม มีรายการดังตอไปนี้
๓.๑ ดานเหนือ จดเขตผังเมืองรวมดานเหนือ ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดชัยนาท และบึงฉวาก
ดานตะวันออก จดเสน ขนานระยะ ๑๕ เมตร กับ ริมฝ งแม น้ําท าจีน ฝ ง ใต
ฝงตะวันตก และฝงเหนือ และเขตเทศบาลตําบลเขาพระ ระหวางหลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๓ หลักเขที่ ๒
หลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๙ หลักเขตที่ ๘ หลักเขตที่ ๗ หลักเขตที่ ๖ กับหลักเขตที่ ๕
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕๐๒ ฟากเหนือ ทางหลวง
ชนบท สพ. ๓๐๓๒ ฟากเหนือ และทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๑๗ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่
ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง
และตําบลแจงงาม ตําบลหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวัด
สุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๗ และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขต
ที่ดิน ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง
อําเภอดานชาง ตําบลแจงงาม ตําบลบานหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ
และตําบลทะเลบก ตําบลสระกระโจม อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปน เขตปฏิรูปที่ดิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ และเขตปาสงวนแหงชาติ ปาหวยขมิ้น ปาพุน้ํารอน และปาหนองหญาไซ
ทั้งนี้ ยกเวนบริเวณหมายเลข ๑.๑ ที่กําหนดไวเปนสีชมพู และบริเวณหมายเลข ๒.๑
ที่กําหนดไวเปนสีมวง

๓.๒ ดานเหนือ จดเขตผังเมืองรวมดานเหนือ ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดชัยนาท
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดสิงหบุรี
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๐๓๒ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเขตเทศบาลตําบลนางบวช ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๒
กับหลักเขตที่ ๑ และเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงเหนือ ฝงตะวันออก และฝงใต
๓.๓ ดานเหนือ จดทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๑๗ ฟากใต ทางหลวงชนบท
สพ. ๓๐๓๒ ฟากใต และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕๐๒ ฟากตะวันตกและฟากใต
ดานตะวันออก จดทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๕๐ ฟากตะวันตก เขตเทศบาล
ตําบลสามชุก ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๙ หลักเขตที่ ๘ กับหลักเขตที่ ๗ คลองระบายใหญ
สามชุก ๑ ฝงตะวันตก เสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริม ฝง แมน้ําทาจีน ฝงตะวัน ออกและฝง ใต
และเขตเทศบาลตําบลศรีประจันต ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๘
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๐๓๘ ฟากเหนือ เขตเทศบาล
ตําบลดอนเจดีย ระหวางหลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๗
ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๖๔ ฟากเหนือ และทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๒๔ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่
ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง
และตําบลแจงงาม ตําบลหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๗ และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่
ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง
ตําบลแจงงาม ตําบลบานหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ และตําบลทะเลบก
ตําบลสระกระโจม อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
๓.๔ ดานเหนือ จดเขตเทศบาลตําบลนางบวช ระหวางหลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๔
หลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๒ และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๐๓๒ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจัง หวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัด สิง หบุรี และเสน แบงเขตการปกครองระหวางจัง หวัดสุพรรณบุรี
กับจังหวัดอางทอง
๑๐
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๗๓ ฟากเหนือ ทางหลวง
แผน ดิน หมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวัน ตก และเขตเทศบาลตํ าบลศรีป ระจัน ต ระหวางหลั กเขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงตะวันออก
ฝงเหนือ และฝง ใต เขตเทศบาลตําบลสามชุก ระหวางหลักเขตที่ ๘ หลักเขตที่ ๗ หลักเขตที่ ๖
หลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๒ และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐
ฟากใต
๓.๕ ดานเหนือ จดเขตปฏิ รู ป ที่ ดิ น ตามพระราชกฤษฎี ก ากํ า หนดเขตที่ ดิ น
ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอ
ดานชาง และตําบลแจงงาม ตําบลหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ
จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๗ และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนด
เขตที่ดิน ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง
อําเภอดานชาง ตําบลแจงงาม ตําบลบานหนองขาม ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ
และตําบลทะเลบก ตําบลสระกระโจม อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
ดานตะวันออก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันตก เสนตั้งฉาก
ระยะ ๑,๕๐๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันตก เสนขนานระยะ ๑,๕๐๐ เมตร
กับศูนยกลางทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันตก ถนนเลียบคลองสงน้ําชลประทาน ฟากใต
และฟากตะวันตก ถนนไมปรากฏชื่อ ฟากใต เขตเทศบาลตําบลสระกระโจม ระหวางหลักเขตที่ ๒
หลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๙ หลักเขตที่ ๘ กับ หลั กเขตที่ ๗ ทางหลวงแผน ดิน หมายเลข ๓๓๓
ฟากตะวันตกและฟากใต
ดานใต จดคลองระบายน้ํา ๙ ขวา ฝงเหนือและฝงตะวันออก เสนตั้งฉาก
ระยะ ๓,๔๐๐ เมตร กับริมฝงคลองระบายน้ํา ๙ ขวา ฝงตะวันตก ที่จุดซึ่งคลองระบายน้ํา ๙ ขวา
บรรจบกับคลองมะขามเฒา - อูทอง จนบรรจบกับเสนตั้งฉากระยะ ๒๐๐ เมตร กับถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔
ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๗๒ และทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๔๗๒ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันตก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดกาญจนบุรี เขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน
๑๑
ในทองที่ตําบลบานโขง ตําบลพลับพลาไชย ตําบลดอนคา และตําบลหนองโอง อําเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และเขตปาสงวนแหงชาติ ปาเขาทุงดินดํา และปาเขาตาเกา
๓.๖ ดานเหนือ จดเส น ตั้ ง ฉากระยะ ๓,๓๐๐ เมตร กั บ ทางหลวงแผ น ดิ น
หมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งถนนไมปรากฏชื่อบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓
ทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๒๔ ฟากใต ทางหลวงแผน ดิน หมายเลข ๓๒๖๔ ฟากใต เขตเทศบาล
ตําบลดอนเจดีย ระหวางหลักเขตที่ ๗ หลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๔ และทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๐๓๘ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเขตเทศบาลตํ า บลศรี ป ระจั น ต ระหว า งหลั ก เขตที่ ๑
หลักเขตที่ ๘ กับหลักเขตที่ ๗ เสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงตะวันตก ฝงเหนือ
และฝงใต และเขตผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี
พ.ศ. ๒๕๕๕
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๖๐ ฟากเหนือ และเขตเทศบาล
ตําบลทาเสด็จ ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๒ กับหลักเขตที่ ๑
ดานตะวันตก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออก และเขตเทศบาล
ตําบลสระกระโจม ระหวางหลักเขตที่ ๗ หลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๓
กับหลักเขตที่ ๒
๓.๗ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๗๓ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดอางทอง
ดานใต จดทางหลวงแผน ดิน หมายเลข ๓๑๙๕ ฟากเหนือ และเขต
ผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงตะวันออก
ฝงเหนือ และฝงใต เขตเทศบาลตําบลศรีประจันต ระหวางหลักเขตที่ ๗ หลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๕
หลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๓ และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวันออก
๓.๘ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๑๙๕ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดอางทอง และเสนแบงเขตการปกครองระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๑๒
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับ
ผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕
๓.๙ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๖๐ ฟากใต และเขตเทศบาล
ตําบลทาเสด็จ ระหวางหลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๓ กับหลักเขตที่ ๒
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับ
ผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕ ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากตะวันตกและฟากเหนือ
และเขตเทศบาลตําบลสวนแตง ระหวางหลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๔
ดานใต จดเส น ตั้ ง ฉากระยะ ๔,๘๐๐ เมตร กั บ ทางหลวงแผ น ดิ น
หมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งคลองระบายน้ํา ๙ ขวา ตัดกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓
จนบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ที่จุดซึ่งอยูหางจากคลองคณฑีตัดกับทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๒๑ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตามแนวทางหลวงแผ น ดิ น
หมายเลข ๓๒๑ เปนระยะ ๒,๕๐๐ เมตร
ดานตะวันตก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๓ ฟากตะวันออกและฟากเหนือ
๓.๑๐ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากใต และทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๕๗ ฟากใต
ดานตะวันออก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๖๐ ฟากตะวันตกและฟากเหนือ
ดานใต จดเขตผั ง เมื อ งรวมเมื อ งสองพี่ น อ ง จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี
ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๘ และทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๕๐๕ ฟากตะวันออก ฟากใต ฟากตะวันตก และฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน
๕L - ๒L ฝงตะวันออก เสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน ๕L - ๕L - ๒L
ฝงตะวันออกและฝงใต เสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L
ฝงตะวันออกและฝงใต เสนตั้งฉากระยะ ๒๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L
ฝงใต ที่จุดซึ่งอยูหางจากคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L ตัดกับทางหลวงชนบท สพ. ๔๐๑๒
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกตามแนวคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L
เปนระยะ ๒,๓๐๐ เมตร และเสนตั้งฉากระยะ ๒,๙๐๐ เมตร กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L -
๕L - ๒L ฝงเหนือ ที่จุดซึ่งอยูหางจากคลองสงน้ําชลประทาน ๑L - ๕L - ๕L - ๒L ตัดกับทางหลวง
๑๓
ชนบท สพ. ๔๐๑๒ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกตามแนวคลองสงน้ําชลประทาน
๑L - ๕L - ๕L - ๒L เปนระยะ ๒,๓๐๐ เมตร
๓.๑๑ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๖๓ ฟากเหนือ และเขตเทศบาล
ตําบลไผกองดิน ระหวางหลักเขตที่ ๔ หลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๖
กับหลักเขตที่ ๕
ดานตะวันตก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ ฟากเหนือและฟากตะวันออก
เสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงเหนือและฝงตะวันออก เขตเทศบาลตําบลโคกคราม
ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ กับหลักเขตที่ ๔ และเขตผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี
ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕
๓.๑๒ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕๗ ฟากใต และเขตผังเมืองรวม
เมืองสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕
ดานตะวันออก จดเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงตะวันตก
ฝงใต ฝงตะวันออก และฝงเหนือ เขตเทศบาลตําบลบางปลามา ระหวางหลักเขตที่ ๓ หลักเขตที่ ๒
หลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๖ หลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๔ และเขตเทศบาลตําบลบานแหลม ระหวาง
หลักเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ หลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๓
ดานใต จดทางหลวงแผน ดิน หมายเลข ๓๔๒๒ ฟากเหนือ และเขต
ผังเมืองรวมเมืองสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสองพี่นอง
จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๘
ดานตะวันตก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๖๐ ฟากตะวันออกและฟากใต
๓.๑๓ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๗๒ ฟากใต เขตปาสงวน
แหงชาติ ปาเขาตะโกปดทอง และปาเขาเพชรนอย เสนตั้งฉากกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๔๒
ฟากเหนือ ที่จุดซึ่งอยูหางจากทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๔๒ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑
ไปทางทิศตะวันตกตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๔๒ เปนระยะ ๕๐๐ เมตร จนบรรจบกับ
เสนตั้งฉากระยะ ๒๐๐ เมตร กับถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งถนน อบจ. สพ. ๒๐๓๔
บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๗๒ เสนขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงแผนดิน
๑๔
หมายเลข ๓๒๔ ฟากตะวันตก เสนตั้งฉากระยะ ๕๐๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๔
ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑
เสนตั้งฉากระยะ ๒,๗๐๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๔ ฟากตะวันออก ที่จุดซึ่งทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๒๔ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ เสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร
กับริมฝงคลองสงน้ําชลประทาน ๕L – ๒L ฝงตะวันออก และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๕๐๕ ฟากใต
ฟากตะวันตก ฟากเหนือ และฟากตะวันออก
ดานตะวันออก จดเขตผั ง เมื อ งรวมเมื อ งสองพี่ น อ ง จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี
ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๘ และทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๒๖๐ ฟากตะวันตก
ดานใต จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากเหนือ เขตเทศบาล
ตําบลทุ ง คอก ระหวา งหลักเขตที่ ๔ หลัก เขตที่ ๓ หลั กเขตที่ ๒ หลักเขตที่ ๑ หลัก เขตที่ ๖
หลักเขตที่ ๕ กับหลักเขตที่ ๔ และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๕๘ ฟากเหนือ
ดานตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันตก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดกาญจนบุรี
ทั้งนี้ ยกเวนบริเวณหมายเลข ๑.๑๘ ที่กําหนดไวเปนสีชมพู บริเวณหมายเลข ๒.๔
ที่กําหนดไวเปนสีมวง และบริเวณหมายเลข ๔.๕ ที่กําหนดไวเปนสีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีน้ําตาล
๓.๑๔ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวันตกและฟากใต
เสนตั้งฉากระยะ ๒,๕๐๐ เมตร กับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวันตก ที่จุดซึ่งอยูหางจาก
ทางหลวงชนบท สพ. ๓๐๔๘ บรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต
ตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ เปนระยะ ๑,๓๐๐ เมตร เสนขนานระยะ ๒,๕๐๐ เมตร
กั บ ศู น ย ก ลางทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข ๓๔๐ ฟากตะวั น ตก เส น ตั้ ง ฉากระยะ ๒,๕๐๐ เมตร
กับ ทางหลวงแผน ดิน หมายเลข ๓๔๐ ที่จุด ซึ่งอยูหางจากทางหลวงแผน ดิน หมายเลข ๓๔๐ ตัด กับ
คลองสาลีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๔๐ เปนระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๖๓ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันออก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ดานใต จดเขตผั ง เมื อ งรวมด า นใต ซึ่ ง เป น เส น แบ ง เขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดนครปฐม
๑๕
ดานตะวันตก จดเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงตะวันออก
ฝงเหนือ และฝงใต
๓.๑๕ ดานเหนือ จดเขตผั ง เมื อ งรวมเมื อ งสองพี่ น อ ง จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี
ตามกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมเมืองสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. ๒๕๕๘ และทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๔๒๒ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร กับริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงตะวันตก
ดานใต จดเขตผั ง เมื อ งรวมด า นใต ซึ่ ง เป น เส น แบ ง เขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดนครปฐม
ดานตะวันตก จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ฟากตะวันออกและฟากเหนือ
และทางหลวงหมายเลข ๓๒๖๐ ฟากตะวันออก
๓.๑๖ ดานเหนือ จดทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๕๘ ฟากใต เขตเทศบาล
ตําบลทุงคอก ระหวางหลักเขตที่ ๕ หลักเขตที่ ๔ กับหลักเขตที่ ๓ และทางหลวงแผนดินหมายเลข
๓๒๑ ฟากใต
ดานตะวันออก จดเสนตรงที่ลากจากจุดซึ่งถนนสาธารณะไมปรากฏชื่อบรรจบกับ
ทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข ๓๓๘๗ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เป น ระยะ ๑,๑๐๐ เมตร
จนบรรจบกับจุดซึ่งคลองสงน้ําชลประทานตัดกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑ ทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๓๘๗ ฟากตะวันตก ถนนไมปรากฏชื่อ ฟากใต และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๒๑
ฟากตะวันตก
ดานใต จดเขตผั ง เมื อ งรวมด า นใต ซึ่ ง เป น เส น แบ ง เขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดนครปฐม และเสนแบงเขตการปกครองระหวางจังหวัดสุพรรณบุรี
กับจังหวัดกาญจนบุรี
ดานตะวันตก จดเขตผังเมืองรวมดานตะวันตก ซึ่งเปนเสนแบงเขตการปกครอง
ระหวางจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดกาญจนบุรี และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน
ในทองที่อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๑
๔. ที่ดิน ในบริเวณหมายเลข ๔.๑ ถึงหมายเลข ๔.๖ ที่กํ าหนดไว เปน สีเ ขียวมีก รอบและ
เสนทแยงสีน้ําตาล ใหเปนที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม มีรายการดังตอไปนี้
๔.๑ เขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่ตําบลวังยาว ตําบล
หวยขมิ้น ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลองคพระ และตําบลดานชาง อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี
๑๖
ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๐ และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่
ตําบลองคพระ อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี และตําบลเขาโจด อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี
ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๒
๔.๒ เขตปฏิรูปที่ดนิ ตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดนิ ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น
ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง และตําบลแจงงาม ตําบลหนองขาม
ตําบลทัพหลวง ตําบลหนองหญาไซ อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน
พ.ศ. ๒๕๓๗ และเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่ตําบลวังคัน ตําบลหวยขมิ้น
ตําบลหนองมะคาโมง ตําบลนิคมกระเสียว ตําบลดานชาง อําเภอดานชาง ตําบลแจงงาม ตําบลบานหนองขาม
ตํา บลทัพ หลวง ตํ า บลหนองหญา ไซ อํ าเภอหนองหญา ไซ และตํา บลทะเลบก ตํา บลสระกระโจม
อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
๔.๓ เขตปฏิ รู ป ที่ ดิ น ตามพระราชกฤษฎี ก ากํ า หนดเขตที่ ดิ น ในท อ งที่ ตํ า บลหนองขาม
อําเภอหนองหญาไซ และตําบลดานชาง อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
๔.๔ เขตปฏิ รู ป ที่ ดิ น ตามพระราชกฤษฎี ก ากํ า หนดเขตที่ ดิ น ในท อ งที่ ตํ า บลบ า นโข ง
ตํา บลพลั บ พลาไชย ตํา บลดอนคา และตํ า บลหนองโอ ง อํา เภออู ทอง จัง หวั ด สุ พรรณบุ รี ใหเ ป น
เขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
๔.๕ เขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดิน ในทองที่ตําบลสระยายโสม
และตําบลสระพังลาน อําเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๒
๔.๖ เขตปฏิ รูป ที่ดิ น ตามพระราชกฤษฎีก ากํ าหนดเขตที่ ดิน ในท องที่อํ าเภอสองพี่ นอ ง
จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเปนเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๑
๕. ที่ ดิ น ในบริ เ วณหมายเลข ๕ ที่ กํ า หนดไว เ ป น สี เ ขี ย วอ อ น ให เ ป น ที่ ดิ น ประเภทที่ โ ล ง
เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดแก พื้นที่ในบริเวณเสนขนานระยะ ๑๕ เมตร
ตลอดแนวริมฝงแมน้ําทาจีน ฝงเหนือ ฝงตะวันออก ฝงใต และฝงตะวันตก
๖. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๖.๑ ถึงหมายเลข ๖.๔ ที่กําหนดไวเปนสีเขียวออนมีเสนทแยง
สีขาว ใหเปนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม มีรายการดังตอไปนี้
๖.๑ ปา สงวนแห ง ชาติ ป าองค พ ระ ป า เขาพุ ร ะกํ า และป า เขาห ว ยพลู และอุ ท ยาน
แหงชาติพุเตย
๖.๒ ปาสงวนแหงชาติ ปาหวยขมิ้น ปาพุน้ํารอน และปาหนองหญาไทร
๖.๓ ปาสงวนแหงชาติ ปาเขาทุงดินดํา และปาเขาตาเกา
๑๗
๖.๔ ปาสงวนแหงชาติ ปาเขาตะโกปดทอง และปาเขาเพชรนอย
๗. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๗.๑ ถึงหมายเลข ๗.๓ กําหนดไวเปนสีฟา ใหเปนที่ดินประเภทที่โลง
เพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม มีรายการดังตอไปนี้
๗.๑ แมน้ําทาจีน
๗.๒ บึงฉวาก
๗.๓ อางเก็บน้ํากระเสียว
หน้า ๓๐
เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่สมควรกําหนดให้ใช้บังคับผังเมืองรวม
ในท้องที่จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดํารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือ
ชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และ
สภาพแวดล้ อ ม ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการผั ง เมื อ ง และโดยที่ ม าตรา ๒๖ วรรคหนึ่ ง
แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๕๘ บัญญัติว่า การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทําโดยกฎกระทรวง จึงจําเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

You might also like