You are on page 1of 118

สมบัตข ิ อง


คลืน
ถาดคลืน
่ (Ripple tank)
่ นประกอบทีส
• สว ่ าค ัญของถาดคลืน

– ต ัวถาดคลืน่
– ต ัวกาเนิดคลืน

– โคมไฟ
ถาดคลืน
่ (Ripple tank)
่ นประกอบทีส
• สว ่ าค ัญ
ของถาดคลืน

– จุดกึง่ กลางของแถบ
มืดแทนตาแหน่งของ
ท้องคลืน ่
– จุดกึง่ กลางของ
แถบสว่างแทน

ตาแหน่งของสนคลื น

หน้าคลืน
่ (Wave front)
่ มี
• แนวทางเดินของตาแหน่ งบนคลืนที ่
เฟสเท่ากัน

– หน้าคลืนตรง

การทดลอง
เสมือนจริง
หน้าคลืน
่ (Wave front)
• แนวทางเดินของตาแหน่งบนคลืน
่ ทีม
่ เี ฟส
เท่าก ัน
– หน้าคลืน
่ วงกลม

การทดลอง
เสมือนจริง
หน้าคลืน
่ (Wave front)
• ล ักษณะของหน้าคลืน

– คลืน
่ หน้าตรงทิศทางคลืน ่ ขนานก ัน
– คลืน่ หน้าโค้งวงกลมทิศทางคลืน่ เป็นแนวร ัศมีของวงกลม
– ทิศทางคลืน ่ จะตงฉากก
ั้ ับหน้าคลืน่ เสมอ
– หน้าคลืน
่ ทีต
่ ด ่ (
ิ ก ันจะห่างก ันเท่าก ับความยาวคลืน l)
การซอ้ นท ับของคลืน

(Superposition of wave)
้ นท ับหรือการรวมก ันของคลืน
• การซอ ่
– การรวมก ันแบบเสริม(Constructive
Superposition)
• การกระจ ัดของคลืน
่ อยูใ่ นทิศเดียวก ัน
การซอ้ นท ับของคลืน

(Superposition of wave)
้ นท ับหรือการรวมก ันของคลืน
• การซอ ่
– การรวมก ันแบบเสริม(Constructive
Superposition)

• สนคลื
น ั
่ เจอก ับสนคลื
น ่

การทดลอง
เสมือนจริง
การซอ้ นท ับของคลืน

(Superposition of wave)
้ นท ับหรือการรวมก ันของคลืน
• การซอ ่
– การรวมก ันแบบเสริม(Constructive
Superposition)
• ท้องคลืน
่ เจอก ับท้องคลืน

การซอ้ นท ับของคลืน

(Superposition of wave)
้ นท ับหรือการรวมก ันของคลืน
• การซอ ่
– การรวมก ันแบบห ักล้าง(Destructive
Superposition)
• การกระจ ัดของคลืน
่ อยูใ่ นทิศทางตรงข้ามก ัน
การซอ้ นท ับของคลืน

(Superposition of wave)
้ นท ับหรือการรวมก ันของคลืน
• การซอ ่
– การรวมก ันแบบห ักล้าง(Destructive
Superposition)
• การกระจ ัดของคลืน
่ อยูใ่ นทิศทางตรงข้ามก ัน

การทดลอง
เสมือนจริง
สมบ ัติของคลืน


• การเคลือนที ่
แบบคลื
น ่ ต้องมีสมบัต ิ 4
ประการ
– การสะท ้อน(Reflection)
– การหักเห(Refraction)
– การแทรกสอด(Interference)

– การเลียวเบน(Diffraction)
การสะท้อนของคลืน

(Reflection of Wave)
• การสะท้อนของคลืน ้ เชอ
่ ในเสน ื กเมือ
่ จุดสะท้อนเป็นจุดตรึงแน่น
– เฟสเปลีย
่ น 180 องศา(เฟสตรงข้ามก ัน)
• การสะท้อนของคลืน ้ เชอ
่ ในเสน ื กเมือ
่ จุดสะท้อนอิสระ
– เฟสไม่เปลีย
่ น (เฟสตรงก ัน)

การทดลอง
เสมือนจริง
การสะท้อนของคลืน

• การสะท้อนของคลืน
่ ผิวนา้
– เฟสของคลืน
่ สะท้อนจะไม่เปลีย
่ น

การทดลอง
เสมือนจริง
การสะท้อนของคลืน

• การสะท้อนของคลืน
่ ผิวนา้
– มุมตกกระทบเท่าก ับมุมสะท้อน (q1 = q2)
การสะท้อนของคลืน

การสะท้อนของคลืน

• คลืน
่ วงกลมสะท้อนจากผิวสะท้อนเรียบตรง

การทดลอง
การสะท้อนของคลืน

• หน้าคลืน
่ วงกลมอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ โฟก ัสสะท้อนจากผิว
สะท้อนจากผิวพาราโบลา
การสะท้อนของคลืน

• หน้าคลืน ้ ตรงสะท้อนจากผิวสะท้อนพาราโบลา
่ เสน
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• คลืน
่ เคลือ
่ นทีผ
่ า่ นตัวกลางต่างชนิดกัน
– อ ัตราเร็ว ของคลืน
่ และความยาวคลืน
่ เปลีย
่ นแปลง
แต่ ความถี่ คงเดิม
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• คลืน
่ เคลือ
่ นทีผ
่ า่ นต ัวกลางต่างชนิดก ัน
– ทิศทางของคลืน
่ ตงฉากก
ั้ ับรอยต่อ

การทดลอง
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• คลืน
่ เคลือ
่ นทีผ
่ า่ นต ัวกลางต่างชนิดก ัน
– ทิศทางของคลืน
่ ไม่ตงฉากก
ั้ ับรอยต่อ

การทดลอง
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• พิจารณาการห ักเหของคลืน
่ นา้ ทีร่ อยต่อ

ของนา้ ลึกก ับนา้ ตืน

“กฎของสเนล”
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• ล ักษณะการห ักเหของคลืน

่ า้ ลึก
้ ไปสูน
– จากบริเวณนา้ ตืน

คลืน
่ เคลือ
่ นทีจ
่ ากนา้ ตืน ่ า้ ลึก (v มาก ,q มาก)
้ (v น้อย ,q น้อย) สูน
ทิศทางคลืน ่ ห ักเหจะเบนออกจากเสน ้ แนวฉาก
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• ล ักษณะการห ักเหของคลืน
่ พระเจ้า จ๊อด
มันยอดมาก
่ า้ ตืน
– จากบริเวณนา้ ลึกไปสูน ้

คลืน
่ เคลือ
่ นทีจ ่ า้ ตืน
่ ากนา้ ลึก(v มาก ,qมาก) สูน ้ (v น้อย ,qน้อย)
ทิศทางคลืน ่ ห ักเหจะเบนเข้าหาเสน ้ แนวฉาก
การห ักเหของคลืน

(Refraction of Wave)
• มุมวิกฤตและการสะท้อนกล ับหมด
– ่
เมือคลื ่ วน้ าเคลือนที
นผิ ่ ่
จากบริ
เวณ ้ นเข้
นาตื ้ าสู ่
้ ก
บริเวณนาลึ
่ เท่ากับ 90 เรียกว่า มุม
่ าให้เกิดมุมหักเหมีคา
– มุมตกกระทบทีท
วิกฤต
้ รอยต่
– มุมตกกระทบโตมากกว่ามุมวิกฤต จะเกิดการสะท้อนขึนที ่ อของ

ตัวกลางทังสอง ้ า การสะท้อนกลับหมด
เรียกปรากฏการณ์นีว่

การสะท้อนกล ับหมด

“มุมวิกฤต” ( Critical Angle ; qc )


การทดลอง
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• แหล่งกาเนิดอาพ ันธ์(Coherent Source)
– ความถีเ่ ท่าก ัน และเฟสตรงก ัน
คิก ๆ ตาย
แน่

ริว้ ของการแทรกสอด
(Interference pattern)

การทดลอง
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• แหล่งกาเนิดอาพ ันธ์(Coherent Source)

โอ้ย ;
อะไรก ันเนี่ย

การแทรกสอดแบบเสริม
(Constructive Interference)

การแทรกสอดแบบหักล ้าง
(Destructive Interference)
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• แหล่งกาเนิดอาพ ันธ์(Coherent Source)
้ ปฎิบ ัพ(Antinode line)
เสน

การแทรกสอดแบบเสริม
S1P - S2P = n‫ג‬

การแทรกสอดแบบห ักล้าง
S1Q-S2Q = [n-(1/2)] ‫ג‬

้ บ ัพ(Node line)
เสน Path diff
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• แหล่งกาเนิดอาพ ันธ์(Coherent Source)
– พิสจ
ู น์การแทรกสอดแบบเสริม
Path diff = 0 ‫ג‬
Path diff = 1 ‫ג‬
Path diff = 2 ‫ג‬
.
. โฮ ๆๆ

.
Path diff = n ‫ג‬
; n=0,1,2,3,…
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• แหล่งกาเนิดอาพ ันธ์(Coherent Source)
– พิสจ
ู น์การแทรกสอดแบบห ักล้าง
Path diff = (1/2) ‫ג‬
Path diff = (3/2) ‫ג‬
Path diff = (5/2) ‫ג‬
.
.
.
Path diff = [n-(1/2)]‫ג‬
; n=1,2,3,…
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• แหล่งกาเนิดอาพ ันธ์(Coherent Source)
– พิสจ
ู น์การแทรกสอดแบบห ักล้าง
Path diff = (1/2) ‫ג‬
Path diff = (3/2) ‫ג‬
Path diff = (5/2) ‫ג‬
.
.
.
Path diff = [n-(1/2)]‫ג‬
; n=1,2,3,…
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
• การแทรกสอดของคลืน ่ ทีจ ุ P ซงึ่ ไกลมากจาก
่ ด
แหล่งกาเนิดคลืน
่ S1 ,S2

dsinӨ
ถ้าจุด P เป็นจุดปฎิบ ัพ จะประมาณได้วา

dsin Ө = n‫ ; ג‬n = 0 , 1 , 2 , 3 , …

ถ้าจุด P เป็นบ ัพ จะประมาณได้วา่


dsin Ө = [n-(1/2)]‫ ; ג‬n = 1 , 2 , 3 , …
การแทรกสอดของคลืน่
(Interference of Wave)
้ ปฎิบ ัพและเสน
• เสน ้ บ ัพเมือ
่ เฟสตรงและเฟสตรงก ันข้าม

โฮะ ๆ ง่ายมก
่ั ๆ

การทดลอง
สรุปสูตรการแทรกสอด
• เมือ
่ เฟสตรงก ัน ว้าว ๆ ๆ ๆ ๆ

– เสริมก ัน(ปฎิบ ัพ)

– ห ักล้างก ัน(บ ัพ)


สรุปสูตรการแทรกสอด
• เมือ
่ เฟสตรงก ันข้าม ร ัก
ฟิ สิกส ์
จังเลย
– เสริมก ัน(ปฎิบ ัพ)

– ห ักล้างก ัน(บ ัพ)


้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)

• การเลียวเบนของคลื
น ่
่ ความถี่ และอัตราเร็วเท่าเดิม
– ความยาวคลืน


การเลียวเบนของคลื ่ านสิง่
นผ่ การทดลอง
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)

• การเลียวเบนของคลื
น ่
่ ความถี่ และอัตราเร็วเท่าเดิม
– ความยาวคลืน
เมือ ่ ผ่านสงิ่ กีดขวางหรือชอ
่ คลืน ่ ง
เปิ ดแคบ ๆ จะเกิดการเลีย ้ วเบนมาก
ยิง่ ขึน้ ถ้าชอ ่ งเปิ ดนีม้ ค
ี วามกว้าง
เท่าก ับหรือน้อยกว่าความยาวคลืน ่
แล้วคลืน ่ จะแผ่ออกจากชอ ่ งเปิ ดนน ั้
โดยรอบ ชอ ่ งเปิ ดนีเ้ รียกว่า สลิต
(เปรียบเสมือนแหล่งกาเนิดวงกลม)


การเลียวเบนของคลื ่ วน้ าผ่าน
นผิ

ช่องแคบหรือสลิตเดียว
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)
• หลักของฮอยเกนส ์(Huygen’s principal)

– ใช ้อธิบายปรากฏการณ์เลียวเบนของคลื
น ่ มีใจความว่า “ทุก ๆ
่ อได ้ว่าเป็ นต ้นกาเนิ ดของคลืนใหม่
จุดบนหน้าคลืนถื ่ ่ ้กาเนิ ด
ซึงให

คลืนวงกลมที ่ เฟสเดียวกัน เคลือนที
มี ่ ่
ไปในทิ
ศเดียวกับทิศการ

เคลือนที ่
ของคลื ่ ้น”
นนั
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)
• หลักของฮอยเกนส ์(Huygen’s principal)

– อธิบายปรากฏการณ์เลียวเบนของคลื
น ่
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)

• การเลียวเบนของคลื
นน่ าผ่
้ านช่องเปิ ดเดียว

่ ผ่
– หน้าคลืนที ่ านช่องเปิ ดเดียวไปได
่ ้นั้นทุก ๆ จุดจาทาหน้าที่

เสมือนเป็ นจุดกาเนิ ดคลืนกระจายคลื ่
นไปเสริมหรือหักล ้าง
กันเกิดเป็ นแนวบัพและแนวปฎิบพ ั ขึน้

การทดลอง
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)

• การเลียวเบนของคลื
นน่ าผ่
้ านช่องเปิ ดเดียว

– เกิดการแทรกสอดแบบหักล ้าง(บัพ)
Path diff = n‫ג‬
; n= 1,2,3,…
dsin Ө = n‫ג‬

ั )
– เกิดการแทรกสอดแบบเสริม(ปฏิบพ
Path diff = [n+(1/2)] ‫ג‬
; n= 1,2,3,…
dsin Ө = [n+(1/2)]‫ג‬
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)

• การเลียวเบนของคลื
นน่ าผ่
้ านช่องเปิ ดคู(่ สลิตคู)่
่ เฟสตรงกัน
– จากแหล่งกาเนิ ดทีมี

การทดลอง
้ น
การเลียวเบนของคลื ่
(Diffraction of Wave)
• สูตรการคานวณแนวปฎิบพ
ั และแนวบัพจากช่องเปิ ด
คู่
– แนวปฎิบพ

Path diff = n‫ג‬
; n=0,1,2,3,…
dsin Ө = n‫ג‬

– แนวบัพ
Path diff = [n-(1/2)]
; n= 1,2,3,…
dsin Ө = [n-(1/2)]‫ג‬
่ ่ ง(standing Wave)
คลืนนิ
่ ขบวนมีแอมพลิจด
• คลืน2 ่ ตราเร็ว
ู ,ความยาวคลืน,อั

เท่ากัน เคลือนที ่
สวนทางกั นในแนวเส ้นตรงเดียวกัน
จะเกิดการรวมกัน
่ ่ ง(standing Wave)
คลืนนิ
่ ขบวนมีแอมพลิจด
• คลืน2 ่ ตราเร็ว
ู ,ความยาวคลืน,อั

เท่ากัน เคลือนที ่
สวนทางกั นในแนวเส ้นตรงเดียวกัน
จะเกิดการรวมกัน

วีดโี อ
่ ่ ง(standing Wave)
คลืนนิ
่ ่ งในเส ้นเชือก
• คลืนนิ

วีดโี อ
่ ่ ง(standing Wave)
คลืนนิ
่ ่ งในเส ้นเชือก
• คลืนนิ
• จากสมการ แอมพลิจด
ู ของตัวกลางมีคา่ น้อย
่ ดเมือ
ทีสุ ่

• ดังนั้น

• เนื่ องจาก

• จะได ้


• ตาแหน่ งทีแอมพลิ
จดู เป็ นศูนย ์เรียกว่า nodes
่ ่ ง(standing Wave)
คลืนนิ
่ ่ งในเส ้นเชือก
• คลืนนิ
่ การกระจัดสูงสุดเรียกว่า
– ตาแหน่ งของตัวกลางทีมี
antinodes
– จากสมการ ตาแหน่ งของอนุ ภาคของ

ตัวกลางมีการกระจัดสูงสุดเมือ

– ดังนั้น
– เนื่ องจาก
– จะได ้
่ ่ ง(standing Wave)
คลืนนิ
่ ่งทีเกิ
• ลักษณะของคลืนนิ ่ ดขึน้
่ ต
– จุดบัพทีอยู ่ ดิ กันจะห่างกัน เท่ากับ ‫ג‬/2 เสมอ
– จุดปฎิบพ ่ ต
ั ทีอยู ่ ดิ กันจะห่างกัน เท่ากับ ‫ג‬/2 เสมอ
– จุดบัพและปฎิบพ ่ ดกันจะห่างกัน เท่ากับ ‫ג‬/4 เสมอ
ั ทีติ
– แอมพลิจด ู สูงสุดของจุดปฎิบพ ่
ั จะเป็ นสองเท่าของคลืน

ย่อยทังสอง
– คาบของคลืนนิ ่ ่ งจะเท่ากับคาบของคลืนย่ ่ อยทังสอง

่ อง(Resonance)
การสันพ้

• ความถีธรรมชาติ

– ความถีในการแกว่ ่
งหรือสัน
ของวัตถุอย่างอิสระ

• ความถีธรรมชาติ
ของลูกตุ ้ม
1 g
f =
2 l

• ความถีธรรมชาติของมวลติด
ปลายสปริง
1 k
f =
2 m
่ อง(Resonance)
การสันพ้
่ ้อง
• การสันพ

– ถ ้าออกแรงกระทาเป็ นจังหวะ ๆ ทีพอเหมาะกั บความถี่
ธรรมชาติของการแกว่ง ทาให ้ช่วงกว ้างของการแกว่ง
(แอมพลิจด ่ นจนถึ
ู ) ค่อย ๆ เพิมขึ ้ ่ ด เรียก
งมากทีสุ
ปรากฏการณ์นีว่้ า การสันพ่ อ้ งของการแกว่ง
่ อง(Resonance)
การสันพ้
่ ้องของเส ้นลวด
• การสันพ
– พิจารณาเส ้นลวดหรือ

เชือกทีปลายทั ้
งสองตรึง
่ ความยาวเป็ น L
แน่ น ทีมี
่ ดเส ้นลวดจะเกิดคลืน
– เมือดี ่
ในเส ้นลวด ไปกระทบจุด
ตรึงแล ้วสะท ้อนกลับไป
่ ่ง
กลับมาเป็ นคลืนนิ
– จุดตรึงเป็ นตาแหน่ งบัพ
เสมอ
่ ่ งลักษณะนี ้
– การเกิดคลืนนิ
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• ความถีของคลื ่ ่ งทีท
นนิ ่ าให ้เกิดการสันพ
่ ้องของเส ้น
ลวด มีได ้หลายค่าดังนี ้
– ความถีมู ่ ลฐาน(fundamental):ความถีต ่ ่าสุดของ
่ ่ ง ซึงมี
คลืนนิ ่ ความยาวคลืนมากที
่ ่ ดแล ้วทาให ้เกิดการ
สุ
่ อ้ งของเส ้นลวด
สันพ
– โอเวอร ์โทน(overtone) : ความถีของคลื ่ ่ ่ งทีสู
นนิ ่ ง
ถัดจากความถีมู ่ ลฐาน แล ้วทาให ้เกิดการสันพ
่ อ้ งของ
้ ๆ
เส ้นลวด มีคา่ เป็ นขัน
– ฮาร ์โมนิ ก(harmonic):ตัวเลขทีบอกว่ ่ า ความถีนั ่ ้น
่ าของความถีมู
เป็ นกีเท่ ่ ลฐาน
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• การหาความยาวคลืนของคลื ่ ่งขณะเกิดการสัน
นนิ ่

พ ้องของคลืนในเส ้นเชือกหรือลวด
– โหมดที่ 1
• ½l = L ดังนั้น l = 2L
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• การหาความยาวคลืนของคลื ่ ่งขณะเกิดการสัน
นนิ ่

พ ้องของคลืนในเส ้นเชือกหรือลวด
– โหมดที่ 2
•l=L
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• การหาความยาวคลืนของคลื ่ ่งขณะเกิดการสัน
นนิ ่

พ ้องของคลืนในเส ้นเชือกหรือลวด
– โหมดที่ 3
• l = 2L/3
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• การหาความยาวคลืนของคลื ่ ่งขณะเกิดการสัน
นนิ ่

พ ้องของคลืนในเส ้นเชือกหรือลวด
– โหมดที่ n
• ln = 2L / n n = 1, 2, 3, …

•n เป็ นจานวนโหมดของการสัน่
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• ความถีของคลื ่ ่ งขณะเกิดการสันพ
นนิ ่ อ้ งของคลืนในเส
่ ้น
เชือก v = fl
– จาก

v n T
ƒn = n =
2L 2L 

วีดโี อ
่ อง(Resonance)
การสันพ้

• ความถีของคลื ่ ่ งขณะเกิดการสันพ
นนิ ่ อ้ งของคลืนในเส
่ ้น
เชือก
V
f1 =
2L
– ่ ลฐาน หรือ Harmonic ที่ 1
: f1 คือความถีมู
2V
f2 = = 2 f1
2L
– ่
:f2 คือ ความถีโอเวอร ์โทนที่ 1 (first
overtone) หรื
อ Harmonic ที ่2
3V
f3 = = 3 f1
2L
– ่
: f3คือความถีโอเวอร ์โทนที่ 2 (second
overtone) หรือ Harmonic ที่ 3
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี

• การเกิดและการเคลือนที ่
ของคลื ่ ยง
นเสี
่ ดจากการสันสะเทื
– คลืนเกิ ่ อนแหล่งกาเนิ ดเสียง
– ถ่ายทอดพลังงานของการสันให ่ ้แก่อนุ ภาคของตัวกลาง

– อนุ ภาคของตัวกลางสันแบบซิ มเปิ ลฮาร ์โมนิ กในทิศ

เดียวกับทิศการเคลือนที ่
ของเสี ยงจึงเป็ น คลืน ่
ตามยาว (Longitudinal Wave)
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี
่ ยงแบ่งตามลักษณะของวัตถุต ้น
• แหล่งกาเนิ ดคลืนเสี
กาเนิ ดได ้ 3 ประเภท คือ

– เกิดจากการสันของสายหรื ่
อแท่ง ได ้แก่ เครืองสายต่ าง
ๆ เช่น ไวโอลิน กีตาร ์ ซอ จะเข ้ ขิม ส ้อมเสียง

– เกิดจากการสันของผิ ว เช่น ระฆัง ฉาบ ฉิ่ ง กลอง
– เกิดจากการสันของล่ ่
าอากาศ ได ้แก่ เครืองเป่ าชนิ ดต่าง
ๆ เช่น นกหวีด ขลุย ่ ปี่ แคน แซกโซโฟน
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี
• พิจารณาท่อทรงกระบอกที่
บรรจุกา๊ ซ

– คลืนตามยาวถู กแผ่ไปตามท่อ

ทรงกระบอกทีบรรจุ กา๊ ซ
่ อการสัน
– แหล่งกาเนิ ดของคลืนคื ่
ของลูกสูบ
– ระยะทางระหว่างส่วนอัดกับส่วน
หรือส่วนขยายกั
การทดลองบส่วนขยายคือ

ความยาวคลืน
เสมือนจริง
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี
• บริเวณทีค ่ ลืน
่ เคลือ่ นทีผ ่ า่ นภายในท่อ อนุภาคของ
ตัวกลางจะสน ั่ แบบ ซม ิ เปิ ลฮาร์โมนิกในทิศเดียวกับทิศ
การเคลือ ่ นทีข ่ องคลืน

ั ของตาแหน่ง (การกระจัด)ซงึ่ เป็ นการเคลือ
• ฟั งก์ชน ่ นที่
แบบ ซม ิ เปิ ลฮาร์โมนิก คือ

s (x, t) = smax cos (kx – wt)

– smax คือ ตาแหน่ งสูงสุดจากตาแหน่ งสมดุล(การกระจัด


สูงสุด)
– smax เรียกว่า แอมพลิจด ู (amplitude) ของคลืน ่
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี

• การเปลียนแปลงความด ัน (pressure, DP )
ของก๊าซเป็ นแบบมีคาบ (periodic)
DP = DPmax sin (kx – wt)
– DPmax คือแอมพลิจด
ู ของความดัน
– โดยที่ DPmax = rvwsmax (มาจากการพิสจ
ู น์:serwayหน้า 516
)
่ (wave number)
– k คือ เลขคลืน
่ งมุม (angular frequency)
– w คือ ความถีเชิ
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี
่ ยงอาจ
• คลืนเสี
พิจารณาได ้จากทัง้
การกระจัด และความ
ดัน

• ความดันของคลืนจะมี
เฟสต่างกับการกระจัด
อยู่ 90o
– ความดันมีคา่ มาก
่ ดเมือการกระจั
ทีสุ ่ ดมี
ค่าเป็ นศูนย ์
่ ยง (Sound Waves)
คลืนเสี
่ ยง
• ลักษณะของคลืนเสี
่ ยงประกอบด ้วยส่วนอัดและส่วนขยายของอนุ ภาคของ
– คลืนเสี
ตัวกลาง
่ ภาคเคลือนที
– ส่วนอัด (Compression) คือ ส่วนทีอนุ ่ ่
ไปที ่
ตาแหน่ งเดียวกันและมีความดันมากกว่าปกติ
่ ภาคเคลือนที
– ส่วนขยาย (Rarefaction) คือ ส่วนทีอนุ ่ ่
ตรงกั


ข ้ามกับคลืนและมีความดันน้อยกว่าปกติ
่ ยง
อัตราเร็วของคลืนเสี
(Speed of Sound Waves)
่ ยง คือ
• อัตราเร็วของคลืนเสี ระยะทางทีคลื ่ น ่
เสียงเคลือนที่ ่ ในหนึ งหน่
ได้ ่ วยเวลา
่ ยง ขึนอยู
• อัตราเร็วของคลืนเสี ้ ่ กับสภาพของ
ตัวกลางทีเสี ่ ยงผ่าน เช่น ความหนาแน่ นของตัวกลาง
อุณหภูมิ และความยืดหยุน
่ ของตัวกลาง
• ถ ้าความหนาแน่ นและอุณหภูมข ิ องตัวกลาง
มาก อัตราเร็วของเสียงจะมีคา่ มาก เนื่ องจากอาศัยตัวกลาง
ถ่ายทอดพลังงานจลน์ได ้ดี
• หรือถ ้าตัวกลางมี ความยืดหยุ่นมาก อัตราเร็วของ
่ ยง
อัตราเร็วของคลืนเสี
(Speed of Sound Waves)

• พิจารณา แก๊ส ทีถู ่ กอัด ดังรูป


ด ้านขวา
่ กสูบจะเคลือนที
• ก่อนทีลู ่ ่ แก๊ส
จะมีความดันคงที่ (ความดัน
ปกติ)
่ กสูบเริมเคลื
• เมือลู ่ ่
อนที ่
ไป
ทางด ้านขวาก๊าซทีอยู ่ ่
ด ้านหน้าจะถูกอัด
– บริเวณทีมี ่ สเี ข ้มของภาพ
่ ยง
อัตราเร็วของคลืนเสี
(Speed of Sound Waves)
่ กสูบหยุดการเคลือนที
• เมือลู ่ ่
บริเวณของแก๊ส ทีถู ่ กอัดจะ

ยังคงเคลือนที
ต่่ อไป

– ซึงสอดคล ้องกับพัลส ์ของ

คลืนตามยาวที ่ อนที
เคลื ่ ่
ไป
ในกระบอกสูบด ้วยอัตราเร็ว
v
– อัตราเร็วของลูกสูบ
จะไม่เท่ากับ
อัตราเร็วของคลืน่
อัตราเร็วของเสียงในของไหล

• อัตราเร็วของเสียงในของไหลขึนอยู
ก ่ บ
ั ความยืดหยุน
่ ตัวของของ
ไหล คือ ค่า Bulk Modulus และความหนาแน่ นของของ
ไหล
B
v=
r

– V = อัตราเร็วเสียง

– B = ค่าสัมประสิทธิของความยื
ดหยุ่นของบัลค ์
= ΔP/(ΔV/V)
– ρ = ความหนาแน่ นของของไหล
อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง

• อัตราเร็วของเสียงในของแข็งขึนอยู
ก ่ บ
ั ความยืดหยุ่นตัวของ
ของแข็ง คือ Young ‘s Modulus และความหนาแน่ น
ของของแข็ง
Y
V=
r


– Y = ค่าสัมประสิทธิของความยื
ดหยุ่น (Young ‘ s
Modulus)
= อ ัตราส่วนของความเค้นต่อความเครียด
อัตราเร็วของเสียงในแก๊ส
่ นเสี
• การอัดตัวและขยายตัวของก๊าซทีคลื ่ ยงเคลือนที
่ ผ่่ าน
B = P
เป็ นไปตามกระบวนการอะเดี
ยบาติก คือ
– เมือ่ B = Bulk modulus
– P = ความดันแก๊ส
cP
–  =
cV

ด ังนัน P
V=
r
อัตราเร็วของเสียงในอากาศ
• อัตราเร็วของเสียงในอากาศ จากการทดลองพบว่า
อัตราเร็วของเสียงในอากาศเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับ

รากทีสองของอุ VณหภูTมเิ คลวิน
V =k T

• ดังนั้นได ้ความสัมพันธ ์ระหว่างอัตราเร็วและอุณหภูมิ


คือ v = (331 m/s) 1  TC
273 C
x
1 x = 1
2

– จากคณิ ตศาสตร ์ เมือ่ x มีคา่ น้อย :


ได้ V = 331 + 0.6 Tc
• ค่า 331 m/s คืออัตราเร็วที่ 0o C
• TC คืออุณหภูมข
ิ องอากาศในสเกล Celsius
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
สมบัตข ่ ยง
ิ องคลืนเสี
• การสะท ้อนของเสียง

– กฎของการสะท ้อน

• ทิศทางคลืนตกกระทบ
เส ้นแนวฉากและทิศทาง

คลืนสะท ้อนต ้องอยู่ใน
ระนาบเดียวกัน
• มุมตกกระทบเท่ากับมุม
สะท ้อน
สมบัตข ่ ยง
ิ องคลืนเสี
• การหักเหของเสียง

่ ยงเคลือนที
– เมือเสี ่ ่ านตัวกลางต่างชนิ ดกัน จะทาให ้
ผ่

อัตราเร็วเสียงเปลียนแปลง และอุณหภูมท ี่ ยนไปก็
ิ เปลี ่ ทา

ให ้อัตราเร็วของเสียงเปลียนแปลงไปด ้วย
– เป็ นไปตามสมการ sin q1 l1 V1 T1
= = =
sin q 2 l2 V2 T2
สมบัตข ่ ยง
ิ องคลืนเสี
่ ยง
• การแทรกสอดของคลืนเสี

– ถ ้าคลืนรวมกั นระหว่างสันคลืน ่

(ส่วนอัด)ด ้วยกัน หรือคลืนรวม

ระหว่างท ้องคลืน(ส่ วนขยาย)
ด ้วยกัน ณ ตาแหน่ งนั้นเป็ น
่ ยงดังกว่าเดิม
ตาแหน่ งทีเสี

– ถ ้า ณ ตาแหน่ งใดคลืนรวม ภาพ การ Set ระบบ
่ บท ้องคลืน
ระหว่างสันคลืนกั ่ ่
เพืออธิ
บายการแทรก
ตาแหน่ งนั้นจะเป็ นตาแหน่ งเสียง ่
สอดของคลืนเสี
ยง

ค่อย
สมบัตข ่ ยง
ิ องคลืนเสี
่ อนกันตัวปล่อยคลืน
• พิจารณาลาโพง 2 ตัวทีเหมื ่
เสียงไปทีจุ่ ด P
่ การแทรกสอดแบบเสริม
– จุด P เป็ นจุดทีมี
สรุปสูตรการแทรกสอดของคลืน ี ง
่ เสย
• เมือ
่ เฟสตรงก ัน
– เสริมก ัน(ปฎิบ ัพ : ด ัง)

– ห ักล้างก ัน(บ ัพ : ค่อย)


สรุปสูตรการแทรกสอดของคลืน ี ง
่ เสย
• เมือ
่ เฟสตรงก ันข้าม
– เสริมก ัน(ปฎิบ ัพ : ด ัง )

– ห ักล้างก ัน(บ ัพ : ค่อย)



การเลียวเบนของเสี
ยง

• การคานวณเรืองการการเลี ้
ยวเบนของคลื ่ ยง
นเสี

เหมือนกับการเลียวเบนของคลื ่ าทุ
นน ้ กประการ
– เกิดการแทรกสอดแบบหักล ้าง(บัพ)
Path diff = n‫ג‬
; n= 1,2,3,…
dsin Ө = n‫ג‬
ั )
– เกิดการแทรกสอดแบบเสริม(ปฏิบพ
Path diff = [n+(1/2)]
; n= 1,2,3,…
dsin Ө = [n+(1/2)]‫ג‬
ปรากฏการการแทรกสอดใน
ชีวต
ิ ประจาวัน
• การเกิดบีตส ์ (Beat)
– เป็ นปรากฎการณ์จากการแทรกสอดของคลืนเสี ่ ยง 2
ขบวนทีมี ่ ความถีต่่ างกันเล็กน้อยและเคลือนที
่ ่ ใ่ นแนว
อยู
เดียวกันเกิดการรวมคลืนเป็ ่ นคลืนเดี
่ ยวกัน ทาให ้แอมพลิ

จูดเปลียนไป เป็ นผลทาให ้เกิดเสียงดังค่อยสลับกันไปด ้วย
ความถีค่ ่ าหนึ่ ง

– ความถีของบี ่ ดขึน้
ตส ์ หมายถึงเสียงดังเสียงค่อยทีเกิ
สลับกันในหนึ่ งหน่ วยเวลา เช่น ความถีของบี ่ ตส ์เท่ากับ
10 รอบต่อวินาที หมายความว่าใน 1 วินาทีเสียงดัง 10
้ั
ครงและเสี ยงค่อย 10 ครง้ั
ปรากฏการการแทรกสอดใน
ชีวต
ิ ประจาวัน
• การเกิดบีตส ์ (Beat)

• ที่

การทดลอง
ปรากฏการณ์การแทรกสอดใน
ชีวต
ิ ประจาวัน
• การเกิดบีตส ์
่ พธ ์
– ได ้คลืนลั

– จากวิชาคณิ ตศาสตร ์
– ดังนั้นคลืนลั
่ พธ ์เป็ น
ปรากฏการการแทรกสอดใน
ชีวต
ิ ประจาวัน
• การเกิดบีตส ์
่ พธ ์
– จากสมการของคลืนลั

่ ยงทีผู
– ความถีเสี ่ ฟ ่ ย่
้ ังได ้ยินคือความถีเฉลี
– แอมพลิจด ู ของคลืนลั ่ พธ ์คือ
– แอมพลิจด ู มากทีสุ่ ดเมือ่
– ดังนั้นได ้ความถีบี ่ ตส ์
่ องของเสียง(Resonance)
การสันพ้
• การสันพ้ ่ อง คือ ปรากฏการณ์ทการสั ี่ ่
นของ

วัตถุใด ๆ มีความถีของการสั ่ ากับความถี่
นเท่
ธรรมชาติ จะทาให ้เกิดวัตถุน้ันมีการสันที
่ รุ่ นแรงทีสุ
่ ด
่ ่ ง)
(เกิดคลืนนิ
• ตัวอย่าง
่ าให ้เกิดคลืนนิ
– ท่อทีท ่ ่ง
– จากภาพเป็ นท่อปลายปิ ด
่ ่ งในท่อ(Resonance tube)
คลืนนิ
่ ่ งเกิดจากการซ ้อนทับกันของคลืนเสี
• คลืนนิ ่ ยงซึงเป็
่ น

คลืนตามยาวที วิ่ งสวนทางกั
่ นภายในท่อ

• เฟสของคลืนสะท ่
้อนจะเปลียนไป180 องศาถ ้าเป็ นท่อ
ปลายปิ ด
• เฟสของคลืนสะท ่ ่
้อนจะไม่เปลียนถ ้าท่อเป็ นท่อ
ปลายเปิ ด
่ ่ งในท่อปลายเปิ ด
คลืนนิ

• ทีปลายทั ้
งสองจะเป็ นจุด ปฏิบพ
ั (antinodes)
• มีความถีมู่ ลฐานเป็ น v/2L
• ฮาร ์มอนิ กที่ n มีความถีเป็
่ น ƒn = nƒ1 = n (v/2L)
เมือ่ n = 1, 2, 3, …
่ ่ งในท่อปลายปิ ด
คลืนนิ
• ่
ทีปลายปิ ดจะเป็ นตาแหน่ งบัพ (node)
• ่
ทีปลายเปิ ั (antinode)
ดจะเป็ นตาแหน่ งปฏิบพ
• มีความถีมู่ ลฐานเป็ น ¼l
• ฮาร ์มอนิ กที่ n มีความถีเป็
่ น ƒn = nƒ = n (v/4L)
เมือ ่
n = 1, 3, 5, …
The Doppler Effect
้ั
• บางครงเราได ่
้ยินเสียงแตรของรถยนต ์เปลียนไป

เมือรถยนต ่
์เคลือนที ่ านเราไป
ผ่

• เมือรถยนต ่
์เคลือนที ่ ้าหาเราความถีของเสี
เข ่ ยงที่
เราได ้ยินจะมากกว่าความถีในกรณี ่ ี่
ทรถยนต ์

เคลือนที ่
ออกจากเรา
• เหตุการณ์นีเป็ ้ นตัวอย่างของ
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์
The Doppler Effect

• Doppler Effect เกิดขึนเมื
อ ่ ความถี ่
่ มีการ
หรือความยาวคลืน

เปลียนแปลง เนื่องจากแหล่งกาเนิ ด
เคลือนที ่ ่ อผู ส
หรื ้ งั เกตเคลือนที ่ ่
• พิจารณา ในกรณี ทผู ี่ ส ้ งั เกตอยู ่บนเรือ

ทีลอยอยู ่ในทะเลทีคลื ่
่ นสงบ(คลื ่ วน้ า
นผิ
มีอ ัตราเร็วคงที)เคลื ่ ่
อนที ่
ไปทางด้ าน
ซ ้ายดังภาพ
• ในภาพ a ผู ส ้ งั เกตเริมจ ่ บ ่ น
ั เวลาเมือสั

คลืนมากระทบเรื อ เมือสั ่ นคลืนลู ่ กถัด
มากระทบเรือจ ับเวลาได้ 3 วินาที แสดง
ว่าคลืนมี ่ ความถี่ 0.33 Hz
The Doppler Effect
• นั่นคือ Doppler Effect เกิดขึนจากอั ้ ตราเร็ว

สัมพัทธ ์ระหว่าง(ผูส้ งั เกต)กับคลืน
่ อเคลือนที
– เมือเรื ่ ่
ไปทางขวา อัตราเร็วสัมพัทธ ์ของคลืน่
เทียบกับเรือจะมากกว่าอัตราเร็วของคลืน ่ ทาให ้คนที่
อยูบ ่
่ นเรือ(ผูส้ งั เกต)เห็นความถีของคลื ่
นมากขึน้

– เมือกลั ่
บหัวเรือให ้เรือเคลือนที ่
ไปทางซ ้าย อัตราเร็ว
สัมพัทธ ์ของคลืนเที ่ ยบกับเรือจะน้อยกว่าอัตราเร็วของ
คลืน ่ ทาให ้ผูส้ งั เกตเห็นความถีของคลื
่ ่ อยลง
นน้
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง
(1)
่ ยงกับเทียบกับคลืนน
• พิจารณาคลืนเสี ่ าที
้ มากระทบ

เรือ
– พิจารณาคลืนเสี ่ ยงแทนคลืนน ่ า้
– ตัวกลางเป็ นอากาศแทนทีจะเป็ ่ นน้า
– ผูส้ งั เกตคือผูฟ ่
้ ังแทนทีจะเป็ ่ บ
นคนทีอยู ่ นเรือ
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง
(2)
• พิจารณา ผูส้ งั เกต(ผูฟ ่
้ ัง)เคลือนที ่
แหล่งกาเนิ ดเสียง
หยุดนิ่ งอยู่กบั ที่

– ผูส้ งั เกตเคลือนทีด่ ้วยอัตราเร็ว Vo
– สมมติวา่ แหล่งกาเนิ ดเสียงอยู่นิ่งเทียบกับตัวกลางทีอยู ่ ่นิ่ง
(อากาศ) : Vs=0
่ ยงเคลือนที
– สมมติวา่ คลืนเสี ่ ่ ้วยอัตราเร็วคงทีดั
ด ่ งนั้น นั่นคือ
่ ยงจะแผ่จากแหล่งกาเนิ ดไปในทุกทิศทุกทางด ้วย
คลืนเสี
่ ากัน
อัตราเร็วทีเท่
้ วทีมี
• ดังพืนผิ ่ เฟสตรงกัน เรียกว่า หน้าคลืน
่ wave front
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง
(3)
• ระยะระหว่างหน้าคลืนที ่ อยู ่ ต่ ด
ิ กันเท่ากับความยาวคลืน ่ (l )
• อัตราเร็วของคลืนเสี ่ ยงเป็ น v ความถีเป็ ่ น ƒ และความยาว
่ นl
คลืนเป็
• ดังนั้นถ ้าผูส้ งั เกต(ผูฟ ่ น
้ ัง)ทีอยู ่ ิ่ งจะได ้ยินเสียงด ้วยความถีƒ

– (V0=0 ,Vf=0)
่ ส้ งั เกตเคลือนที
• เมือผู ่ ่ ้าหาแหล่งกาเนิ ด อัตราเร็วสัมพัทธ ์
เข
(อัตราเร็วของคลืนเที่ ยบกับผูส้ งั เกต)คือ
v ’ = v + vo

– โดยทีความยาวคลื ่
นจะไม่ มก ่
ี ารเปลียนแปลง
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง
(4)
• จาก V = fl เมือ
่ ความยาวคลืน
่ ไม่มก
ี าร
เปลีย
่ นแปลง
• ผูฟ ่ น ƒ’
้ ังจะได ้ยินเสียงมีความถีเป็
และจาก

• นั่นคือผูฟ น้
่ ความถีมากขึ
้ ังจะได ้ยินเสียงทีมี ่
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง
(5)
• ถ ้าผู ้ฟั งเคลือ ่ นทีอ่ อกจากแหล่งกาเนิดทีอ ่ ยูน่ งิ่
• อัตราเร็วสม ั พัทธ์คอ ื
v ’ = v - vo
• นั่นคือผูฟ ่ ความถีน้
้ ังจะได ้ยินเสียงทีมี ่ อยลง เป็ น
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง (6)
• พิจารณา
แหล่งกาเนิ ด
่ ยง
คลืนเสี
เคลือนที่ ่ ในขณะที่
้ ั งอยู ่นิง่
ผู ฟ ่
ในช่วงเวลา T แหล่งกาเนิ ดเคลือนที
ได่ ้

• เมือแหล่งกาเนิ ดคลืน่ ระยะทาง VsT


เสียงเคลือนที ่ ้าหาผู ้ฟัง
เข
่ ได
ความยาวคลืนที ่ ้ร ับจะ

สันลง
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง (7)

• เมือแหล่ ่
งกาเนิ ดเสียงเคลือนที
เข่ ้าหาผู ้ฟัง

– ในช่วงเวลาTแหล่งกาเนิ ดเสียงเคลือนที
ได่ ้ระยะทางเป็ น
VsT=Vs/f
• ดังนั้นผูฟ ่ เนือ่ งจาก
้ ังจะได ้ร ับความยาวคลืน เป็ น

• ดังนั้น

• นั่นคือผูฟ ่ มากขึ
้ ังจะได ้ยินด ้วยความถีที ่ น ้
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง (8)

• เมือแหล่ ่
งกาเนิ ดเสียงเคลือนที ่
ออกจากผู ้ฟัง
– นั่นคือผูฟ ่ น้
้ ังจะได ้ยินด ้วยความถีที ่ อยลง

• จะได ้ความสัมพันธ ์ของความถีที่ ผู


่ ฟ ้ ังได ้ร ับ(จากการ

รวมสมการ)เมือแหล่ งกาเนิ ดและผูฟ ่
้ ังต่างก็เคลือนที ่
เข ้าหากัน
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร ์ ของเสียง (9)
• สูตรรวมสาหร ับการเคลือนที ่ ่
ของแหล่
งกาเนิ ด
้ ัง)แบบต่าง ๆ
และผูส้ งั เกต(ผูฟ
 v  vo 
f  =   f
 v  vs 
่ วนา้
Doppler Effect ของคลืนผิ

• แหล่งกาเนิ ดคลืนเคลื ่
อนที ่
ไปทางขวา

• หน้าคลืนทางด ้านขวามือ
ใกล ้กันมากขึน้

• หน้าคลืนทางด ้านซ ้ายมือ
ไกลกันมากขึน้

คลืนกระแทก(Shock Wave)
• อัตราเร็วของแหล่งกาเนิ ด
มากกว่าอัตราเร็วของคลืน ่

• จาก กรวยของ
หน้าคลืน่ ทีเกิ
่ ดขึนจะ

เห็นว่า
sin q = v/vS
้ ยกว่า มุมมัค
– มุมนี เรี
(Mach angle)

การทดลอง
เลขมัค(Mach Number)
• อัตราส่วน vs / v คือเลขมัค
• ความสัมพันธ ์ระหว่าง เลขมัค กับ มุมมัค คือ

vt v
sin q = =
vs t vs

คลืนกระแทก(Shock Wave)

• กรวยของหน้าคลืนจะถู กผลิต
้ อ
ขึนเมื ่ vs > v ซึงก็
่ คอื
shock wave

– คลืนแบบนี ้ ยกว่า
เรี
supersonic

• คลืนกระแทก จะนาพลังงานไป

ด ้วยซึงพลังงานจะอยูบ ้ ว
่ นพืนผิ
ของโคน

• เช่นเมือเครื ่ นทีมี
องบิ ่ ความเร็
่ ว
เหนื อเสียงบินผ่านตึกสามารถ
ทาให ้ตึกเสียหายได ้จากคลืน ่
กระแทก ทีเรี่ ยกว่า

คลืนกระแทก(Shock Wave)

• การเคลือนที ่
ของเรื ่
อเปรียบเทียบกับคลืนกระแทก
ี ง
ความด ังของเสย
• ความดังของเสียงสัมพันธ ์กับแอมพลิจูดของ

คลืนเสี ยงมีหน่ วยเป็ น(N/m2)เนื่องจากคลืน ่

เสียงเป็ นคลืนของความด ่ น
ันของอากาศซึงเป็
ตัวกลาง
• ในการพิจารณาเรืองความด่ ัง จะพิจารณาถึง
แหล่งกาเนิ ดเสียงซึงต ่ ัวเลขทีบอกถึ
่ งความดัง
คือ กาลังของแหล่งกาเนิ ด ซึง่
หมายถึงพลังงานเสียงทีแหล่ ่ งกาเนิ ดปล่อย
ออกมาใน 1s
• แต่จะได้ยน ิ เสียงด ังมากหรือน้อยก็ขนอยู ึ้ ่ก ับ
ระยะระหว่างเราก ับแหล่งกาเนิ ดด้วย จึง
ความเข ้มเสียง
(SOUND INTENSITY,I)
• ความเข้ม (Intensity) คือพลังงานเสียง

ทีตกบน ้ ่ (ซึงตั
1 ตารางพืนที ่ งฉากกั
้ ่ ยง) ใน
บคลืนเสี
เวลา 1 วินาที
สมมติ A ตารางเมตร, มีกาลังของเสียง P
วัตต ์
เพราะฉะนั้น 1 ตารางเมตร , มีกาลังของเสียง P/A
วัตต ์
เพราะฉะนั้น
ความเข ้มเสียง
(SOUND INTENSITY,I)
่ ยงกระจายออกมารเป็ นรูปทรงกลม รอบ
• แต่คลืนเสี
้ ผิ
แหล่งกาเนิ ดเสียงพืนที ่ วทรงกลม( )

– I = ความเข ้มเสียง ณ จุดใด ๆ (วัตต ์/ตารางเมตร)


– P = กาลังของเสียงจากแหล่งกาเนิ ดเสียง(วัตต ์)
– r = ระยะห่างจากแหล่งกาเนิ ดเสียง(เมตร)
ความเข ้มเสียง
(SOUND INTENSITY,I)
• ขีดความสามารถในการได ้ยิน
่ ดทีท
– ความเข ้มของเสียงน้อยทีสุ ่ าให ้หูคนเริมได
่ ้ยิน
(นามาใช ้อ ้างอิง)

่ าให ้คนฟังได ้ยินแล ้วเริมปวดแก


– ความเข ้มสูงสุดทีท ่ ้วหู

• ความเข ้มสัมพัทธ ์(Relative Intensity)


– ความเข ้มใดๆเมื ่ ยบกับความเข ้มต่าสุดทีคนเริ
อเที ่ ่ ้ยิน
มได
I
Ir =
I0
ความเข ้มเสียง
(SOUND INTENSITY,I)
• ระดับความเข้มเสียง ใช ้สัญลักษณ์ คือ
สเกลทีนั ่ กวิทยาศาสตร ์สร ้างขึนเพื
้ อบอกความดั
่ งของ
เสียงให ้ใกล ้เคียงกับความรู ้สึกของคนมากขึน้
่ ษย ์ได ้ยินอยู่ในช่วงกว ้าง
• เนื่ องจากความเข ้มเสียงทีมนุ

มากตังแต่

10-12 -1 วัตต ์/ตารางเมตร เพือความสะดวกจึ
งกาหนด

ความเข ้มเสียงขึนใหม่ เป็ น ระดับความเข้ม
เสียง
– ระดับความเข้มเสียง เป็ นการเปรียบเทียบ
ความเข ้มเสียง
(SOUND INTENSITY,I)
I
• สู ตรระดับความเข้มเสียง  = log
I0
– ระดับความเข้ม หน่ วยเป็ น เบล(Bel)
 = 10 log
I
I
– ระดับความเข้ม หน่ วยเป็ น เดซิเบล(dB)
0

– คนธรรมดาร ับฟั งเสียงได้อย่างน้อยต้องมีความเข้ม


10-12 วัตต ์/ตารางเมตร , มากทีสุ ่ ดมีความเข้มไม่
เกิน 1 วัตต ์/ตารางเมตร
่ ยงค่อยทีสุ
– เทียบเป็ นระดับความเข้ม, เมือเสี ่ ด ได้ 0
เดซิเบล
่ ยงดงั ทีสุ
– เทียบเป็ นระดับความเข้ม, เมือเสี ่ ด ได้
หูและการได ้ยินของมนุ ษย ์
่ ยวก
• หู ทาหน้าทีเกี ่ ับการได้ยน

และ การทรงตัว แบ่งออกเป็ น
– หู ส่วนนอก
• (1) ใบหู (2) ช่องรู หู
– หู ส่วนกลาง

• (3)เยือแก้ วหู (4) กระดู กค้อน (5)
กระดู กทัง่ (6)กระดู กโกลน (7)
ท่อยู เทเชียน
– หู ส่วนใน

• (8) กระดู กครึงวงกลม ้ (9)
3 ชิน

ประสาทเกียวกับการทรงตั ว

(10)ประสาทเกียวกับการได้ ยน

(11)กระดู กรู ปหอย (12)ส่วนคอ
คุณภาพของเสียง
• เปี ยนโน และ ไวโอลิน เล่นโน้ต Do พร ้อมกัน (256
Hz) ผูฟ ้ ังจะบอกได ้ว่า เป็ นเสียงดนตรีชนิ ดใด เพราะ
คุณภาพเสียงต่างกัน
– ถามว่าต่างกันอย่างไร
– (แนวคิด) คุณภาพเสียงต่างกัน
่ ความถีมู
• เพราะเสียงทีมี ่ ลฐานเท่ากัน แต่ จานวน Higher
harmonic (ฮาโมนิ กอืน ่ ๆ ทีมี
่ ความถีสู
่ งกว่าความถีมู่ ลฐาน)
แตกต่างกัน
• และ relative amplitude (แอมพลิจด ู เปรียบเทียบ)
่ ลฐาน กับ Higher harmonic ในแต่
ระหว่างเสียงความถีมู
ละกรณี แตกต่างกัน
คุณภาพของเสียง
• ตัวอย่าง
่ ากัน คือ
– เสียง Do จากเปี ยโน กับ ไวโอลิน มีความถีเท่
256 Hz ทาไมเราจึงฟังเสียงไม่เหมือนกัน
– ตอบ
่ ๆ ปนออกมาด ้วย แอม
• เพราะว่า เสียง Do จะมี ฮาร ์มอนิ กอืน
พลิจด ่ เท่ากัน
ู ทีไม่
แอมพลิ แอมพลิ
จู ด เสียงโด จู ด เสียงโด

เปี ยโ ไวโอ
น ลิน

ควา ควา
C C’ C’’ C’’’’ มถี่ C C’ C’’ C’’’ C’’’’ มถี่

You might also like