You are on page 1of 40

ทฤษฎีพฒ

ั นาการ
(Theories of development)
ทฤษฎีพฒ
ั นาการ
(Theories of Development)

ทฤษฎีพฒ
ั นาการของ Piaget

ทฤษฎี เฝ้าดูพฤติกรรมลูก
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางความคิด (Cognitive
Theories) ของเพียเจท์
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางความคิด (Cognitive
Theories) ของเพียเจท์

เพียเจท์ เชื่อว่ าโดยธรรมชาติแล้ วมนุษย์ ทุกคนมี


ความพร้ อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์ และปรั บตัวให้ เข้ า
กับสิ่งแวดล้ อมตัง้ แต่ เกิด เพราะมนุษย์ ทุกคน
หลีกเลี่ยงไม่ ได้ ท่ จี ะต้ องมีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่ง
แวดล้ อมซึ่งต้ องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ผล
จากกระบวนการดังกล่ าวจะทำให้ มนุษย์ เกิด
พัฒนาการของเชาวน์ ปัญญา
แนวคิดทฤษฎีพฒ
ั นาการทางความคิด
(Cognitive Theories) ของเพียเจท์
เพียเจต์ถือว่ามนุษย์เรามีแนวโน้ มพื ้นฐานที่ติดตัวมาตังแต่
้ กำเนิด 2 ชนิด 
1.การซึมซาบหรื อดูดซึม( Assimilation)     เมื่อ  มนุษย์มีปฏิสมั พันธ์
กับสิง่ แวดล้ อมก็จะซึมซาบหรื อดูดซึมประสบการณ์ใหม่
2 .2.การปรั บโครงสร้ างทางปั ญญา ( Accomodation)   หมาย ถึง 
การเปลี่ยนแบบโครงสร้ างของเชาว์ปัญญาที่มีอยูแ่ ล้ วให้ เข้ ากับสิง่ แวดล้ อม  หรื อ
ประสบการณ์ใหม่  หรื อเป็ นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้ สอดคล้ องกับสิง่
แวดล้ อมใหม่ 
แนวคิดทฤษฎีพฒ
ั นาการทางความคิด
(Cognitive Theories) ของเพียเจท์
เพียเจต์ได้ แบ่งลำดับขันของพั
้ ฒนาการเชาวน์
ปั ญญาของมนุษย์ ไว้ 4 ขัน ้
เพียเจต์ ได้ แบ่ งลำดับขัน้ ของพัฒนาการ
เชาวน์ ปัญญาของมนุษย์ ไว้ 4 ขัน้  
ขัน้ ที่1...Sensorimotor (แรกเกิด - 1 ขวบ)  เพียเจต์  เป็ นนัก
จิตวิทยาคนแรกที่ได้ ศกึ ษาระดับเชาวน์ปัญญาของเด็กวัยนี ้ไว้ อย่าง  ละเอียด
จากการสังเกตบุตร 3 คน   โดยทำบันทึกไว้ และสรุปว่าวัยนี ้เป็ นวัยที่เด็กมี
ปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ แวดล้ อม  โดยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของ
อวัยวะ ต่ างๆของร่ างกาย

ขัน้ ที่2...Preoperational  (อายุ2 ปี - 7 ปี ) เด็ก  ก่อนเข้ า


โรงเรี ยนและวัยอนุบาลมีระดับเชาวน์ปัญญาอยูใ่ นขันนี
้  ้ เด็กวัยนี ้มีโครงสร้ าง
ของสติปัญญา(Structure)   ที่จะใช้ สัญลักษณ์ แทนวัตถุส่ งิ ของที่อยู่
รอบๆตัว ได้   หรื อ  มีพฒ
ั นาการทางด้ านภาษา
เพียเจต์ ได้ แบ่ งลำดับขัน้ ของพัฒนาการ
เชาวน์ ปัญญาของมนุษย์ ไว้ 4 ขัน้  
ขัน้ ที่3...Concrete  Operations (อายุ 7 - 11 ปี )
พัฒนาการทางด้ านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี ้แตกต่างกันกับเด็ก
ในขัน ้ Preperational มาก   เด็กวัยนี ้จะสามารถสร้ างกฎเกณฑ์ และ
ตัง้ กฎเกณฑ์ ในการ  แบ่ งสิ่งแวดล้ อมออกเป็ นหมวดหมู่ได้

ขัน้ ที่4...Formal Operations  (อายุ 12 ปี ขึน้ ไป)  ในขันนี ้ ้


พัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็นของเด็กเป็ นขัน้ สุดยอดคือ  เด็ก
ในวัยนี ้จะเริ่ มคิดเป็ นผู้ใหญ่  ความคิดแบบเด็กสิ ้นสุดลง  และมีความพอใจ
ที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับกับสิ่งที่เป็ นนามธรรม
1. ทฤษฎี Psychosexual developmental
stage ของฟรอยด์
ซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
เป็ นผู้ท่ สี ร้ างทฤษฎีจติ วิเคราะห์ (Psychoanalytic
Theory) ซึ่งเป็ นทฤษฎีทางด้ านการพัฒนา
Psychosexual โดยเชื่อว่ าเพศหรือกามารมณ์ (ความ
พึงพอใจเมื่อได้ รับการตอบสนอง)
ฟรอยด์เชื่อว่ามนุษย์มีสญั ชาตญาณติดตัวมาแต่
กำเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็ นผลมาจากแรงจูงใจ
หรื อแรงขับพื ้นฐานที่กระตุ้นให้ บคุ คลมีพฤติกรรม คือ
สัญชาตญาณทางเพศ (sexual instinct) 2 ลักษณะ
คือ
1. สัญชาตญาณเพื่อการดำรงชีวิต (eros = life
instinct)
2. สัญชาตญาณเพื่อความตาย (thanatos = death
instinct)
ฟรอยด์ จงึ แบ่ งขัน้ ตอนพัฒนาการ
บุคลิกภาพของมนุษย์ ออกเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้
1. ขั้นปาก (Oral Stage)
2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage)
3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
4. ขั้นแฝง (Latence Stage)
5. ขั้นสนใจเพศตรงข้ าม (Genital
Stage)
ฟรอยด์ จงึ แบ่ งขัน้ ตอนพัฒนาการบุคลิกภาพของ
มนุษย์ ออกเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้

1. ขัน้ ปาก ( Oral Stage)


(0-18 เดือน) เพราะความพึงพอใจอยูท่ ี่ชอ่ ง
ปาก เช่น ดูดนมแม่ นมขวด และดูดนิ ้ว "การติดตรึง
อยูก่ บั ที่" (Fixation) ชอบพูดมาก และมักจะ
ติดบุหรี่ เหล้ า และชอบดูด หรื อกัดอยูเ่ สมอ โดย
เฉพาะเวลาที่มีความเครี ยด บางครัง้ จะแสดงด้ วย
การดูดนิ ้ว หรื อดินสอ ปากกามีลกั ษณะแบบนี ้อาจ
จะชอบพูดจาถากถาง เหน็บแนม เสียดสีผ้ อู ื่น
ฟรอยด์ จงึ แบ่ งขัน้ ตอนพัฒนาการบุคลิกภาพของ
มนุษย์ ออกเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้
2) ขัน้ ทวารหนัก (18 เดือน – 3 ปี )
เด็กวัยนี ้ได้ รับความพึงพอใจทางทวารหนัก คือ จากการ
ขับถ่ายอุจจาระ ) "การติดตรึงอยูก่ บั ที่" (Fixation
เป็ นคนที่ชอบความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยเป็ นพิเศษ และค่อน
ข้ างประหยัด มัธยัสถ์ หรื ออาจมีบคุ ลิกภาพตรงข้ าม คืออาจ
จะเป็ นคนที่ใจกว้ าง และไม่มีความเป็ นระเบียบ เห็นได้ จาก
ห้ องทำงานส่วนตัวจะรกไม่เป็ นระเบียบ
ฟรอยด์ จงึ แบ่ งขัน้ ตอนพัฒนาการบุคลิกภาพของมนุษย์
ออกเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้

3) ขัน้ อวัยวะเพศ (3-6 ปี )


ความพึงพอใจของเด็กวัยนี ้อยูอ่ วัยวะสืบพันธุ์ เด็กมักจะจับ
ต้ องลูกคลำอวัยวะเพศ การเกิดของปมเอ็ดดิปสุ เด็กชาย
เลียนแบบพ่อ ทำตัวให้ เหมือน "ผู้ชาย เด็กหญิงมีปมอีเล็ค
ตรา (Electra Complex) ว่าเด็กหญิงมีความรักพ่อ
แต่ก็ร้ ูวา่ แย่งพ่อมาจากแม่ไม่ได้ จึงเลียนแบบแม่ คือ ถือแม่
เป็ นแบบฉบับ หรื อต้ นแบบของพฤติกรรมของ "ผู้หญิง“
ฟรอยด์ จงึ แบ่ งขัน้ ตอนพัฒนาการบุคลิกภาพของ
มนุษย์ ออกเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้
4) ขัน้ แฝง ขัน้ แสวงหาความสุขจากสิ่ง
แวดล้ อมรอบตัว ( Latency Stage)

เด็กวัยนี ้อยูร่ ะหว่างอายุ 6-11 ปี เป็ นระยะที่ฟรอย


ด์กล่าวว่า เด็กเก็บกดความต้ องการทางเพศ หรื อ
ความต้ องการทางเพศสงบลง (Quiescence
Period) เด็กชายมักเล่น หรื อจับกลุม่ กับเด็กชาย
ส่วนเด็กหญิง ก็จะเล่น หรื อจับกลุม่ กับเด็กหญิง
ฟรอยด์ จงึ แบ่ งขัน้ ตอนพัฒนาการบุคลิกภาพของ
มนุษย์ ออกเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้

5) ขั้นสนใจเพศตรงข้ าม (Genital Stage)


วัยนี้เป็ นวัยรุ่นเริ่มตั้งแต่อายุ 12-20 ปี
จะมีความต้ องการทางเพศ วัยนี้จะมีความ
สนใจในเพศตรงข้ าม ซึ่งเป็ นระยะเริ่มต้ น
ของวัยผู้ใหญ่
บุคลิกภาพ : Id Ego และ Superego
เอาแต่ได้ อย่างเดียว และจุดเป้าหมาย
สนองความต้ องการของตนเองเท่านัน้
ก็คือ หลักความพึงพอใจ
(Pleasure Principle)

Id

ติดตัวเรามาตังแต่
้ เกิด เป็ นส่วนที่จิตไร้ สำนึก
บุคลิกภาพ : Id Ego และ Superego

ปรับตัวให้เกิดสมดุล
Ego
ระหว่างความต้องการของ
Id โลกภายนอก และ
Superego หลักการที่ Ego
ใช้คือหลักแห่งความเป็ น
จริ ง (Reality Principle)
บุคลิกภาพ : Id Ego และ Superego

"Conscience" ซึง่
Superego
คอยบอกให้ หลีกเลี่ยง
พฤติกรรมที่ไม่พงึ ปรารถนา

Ego ideal" ซึง่ สนับสนุนให้ มี


ความประพฤติดี
ทฤษฎี Psychosocial
developmental stage
ของอิริคสัน
อธิบายถึงลักษณะของการศึกษาไปข้ างหน้ า โดยเน้ นถึงสังคม
วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้ อมที่มีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของคน ซึง่
ในแต่ละขันของพั
้ ฒนาการนันจะมี
้ วิกฤติการณ์ทางสังคม (social
crisis) เกิดขึ ้น การที่ไม่สามารถเอาชนะหรื อผ่านวิกฤติการณ์ทาง
สังคมในขันหนึ
้ ง่ ๆ จะเป็ นปั ญหาในการเอาชนะวิกฤติการณ์ทางสังคม
ในขันต่
้ อมา ทำให้ เกิดความบกพร่องทางสังคม (social
inadequacy) และเป็ นปั ญหาทางจิตใจตามมาภายหลัง
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดของ Erikson แบ่ ง
พัฒนาการด้ านจิตสังคมของบุคคลเป็ น 8 ขัน้ ดังนี ้

ขัน้ ที่ 1 ระยะทารก (Infancy period) แรกเกิด -1 ปี :ขัน้


ไว้ วางใจและไม่ ไว้ วางใจผู้อ่ นื (Trust vs Mistrust)
(หรื อระยะความไว้ วางใจและไม่ไว้ วางใจ) : ความอบอุน่ ที่เกิดขึ ้นจาก
ครอบครัวจะทำให้ เด็กเชื่อถือไว้ ใจต่อโลกไว้ ใจคนอื่น ทำให้ กล้ าที่
จะเรี ยนรู้สงิ่ ใหม่

ขัน้ ที่ 2 วัยเริ่มต้ น (Toddler period) อายุ 2-3 ปี : ขัน้ ที่


มีความเป็ นอิสระกับความละอายและสงสัย (Autonomy vs
Shame and doubt)
: เป็ นระยะที่เด็กพยายามใช้ คำพูดของตนเอง และสำรวจโลกรอบๆ ตัว
ถ้ าพ่อแม่สนับสนุนจะทำให้ เด็กรู้จกั ช่วยตนเอง และมีอิสระ ส่งเสริ ม
ความสามารถของเด็ก
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดของ Erikson แบ่ ง
พัฒนาการด้ านจิตสังคมของบุคคลเป็ น 8 ขัน้ ดังนี ้

ขัน้ ที่ 3 ระยะก่ อนไปโรงเรี ยน (Preschool period) อายุ 3-5 ปี :


ขัน้ มีความคิดริเริ่มกับความรู้ สึกผิด (Initiative vs Guilt)
: เด็กจะชอบเล่นและเรี ยนรู้บทบาทของสังคม ริ เริ่ มทางความคิดจากการเล่น
เด็กที่ถกู ห้ ามไม่ให้ ทำอะไรในสิง่ ที่เขาอยากทำ เป็ นเหตุให้ เด็กรู้สกึ ผิด ตลอดเวลา
บิดามารดาควรพิจารณาร่วมกันว่ากิจกรรมใดที่ปล่อยให้ เด็กทำได้ ก็ให้ เด็กทำ
จะได้ เกิดคุณค่าในตัวเอง ลดความรู้สกึ ผิดลงได้

ขัน้ ที่ 4 ระยะเข้ าโรงเรี ยน (School period) อายุ 6-11 ปี : ขัน้


เอาการเอางานกับความมีปมด้ อย (Industry vs
Inferiority) : เด็กจะเริ่ มมีทกั ษะทางด้ านร่างกายและสังคมมากขึ ้น โดย
ไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่เด็กเริ่ มมีการแข่งขันกันในการทำงาน
เด็กวัยนี ้จะชอบให้ คนชม ถ้ าขาดการสนับสนุนอาจทำให้ เกิดความรู้สกึ มีปมด้ อย
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดของ Erikson แบ่ ง
พัฒนาการด้ านจิตสังคมของบุคคลเป็ น 8 ขัน้ ดังนี ้
ขัน้ ที่ 5 ระยะวัยรุ่ น (Adolescent period) อายุ 12-18
ปี : ขัน้ การเข้ าใจอัตลักษณะของตนเองกับไม่ เข้ าใจตนเอง
(Identity vs role confusion) : เป็ นระยะที่เด็กเริ่ ม
สนใจเพศตรงข้ ามรู้จกั ตนเอง ว่าเป็ นใคร ถนัดด้ านใด สนใจอะไร และถ้ า
เด็กมีความรู้สกึ ไม่เข้ าใจตนเองก็จะเกิดความสับสน ในตนเอง และล้ ม
เหลวในชีวิตได้

ขัน้ ที่ 6 ระยะต้ นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period)


อายุ 19-40 ปี : ขัน้ ความใกล้ ชิดสนิทสนมกับความรู้ สึกเปล่ า
เปลี่ยว (Intimacy vs Isolation)
: เป็ นวัยผู้ใหญ่ตอนต้ น ใช้ ชีวิตแบบผู้ใหญ่ทำงานเพื่อประกอบอาชีพ
สร้ างหลักฐาน มีความรักความผูกพัน
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดของ Erikson แบ่ ง
พัฒนาการด้ านจิตสังคมของบุคคลเป็ น 8 ขัน้ ดังนี ้

ขัน้ ที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ 41-60 ปี : ขัน้


การอนุเคราะห์ เกือ้ กูลกับการพะว้ าพะวงแต่ ตัวเอง
(Generativity vs Self-Absorption)
: วัยผู้ใหญ่ถงึ วัยกลางคน มีครอบครัว มีบตุ ร ได้ ทำหน้ าที่ของพ่อแม่

ขัน้ ที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ (Aging period) อายุประมาณ 60


ปี ขึน้ ไป : ขัน้ ความมั่นคงทางจิตใจกับความสิน้ หวัง
(Integrity vs Despair)
: วัยที่ต้องยอมรับความจริ งของชีวิต ระลึกถึง ความทรงจำในอดีต ถ้ า
อดีตที่ผา่ นมาแล้ วประสบความสำเร็จจะทำให้ มีความมัน่ คงทางจิตใจ
ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรมของโคล
เบอร์ ก
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก

1. ระดับก่ อนกฎเกณฑ์
(Preconventional Level)
2. ระดับตามกฎเกณฑ์
(Conventional Level)
3. ระดับเหนือกฎเกณฑ์
(Postconventional Level)
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
1. ระดับที่ 1 ระดับก่ อนมีจริยธรรม
หรือระดับก่ อนกฎเกณฑ์ สังคม (Pre -
Conventional Level) ระดับนี ้เด็ก
จะรับกฎเกณฑ์และข้ อกำหนดของพฤติกรรม
ที่ “ดี” “ไม่ดี” จากผู้มีอำนาจเหนือตน ระดับ
ตามกฎเกณฑ์ (Conventional
Level)
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ระดับนี ้เป็ น 2 ขัน้ คือ  
ขัน้ ที่ 1 การถูกลงโทษและการเชื่อฟั ง (Punishment and
Obedience Orientation) เด็กจะยอมทำตามคำสัง่ ผู้มี
อำนาจเหนือตนโดยไม่มีเงื่อนไขเพื่อไม่ให้ ตนถูกลงโทษ

ขัน้ ที่ 2 กฎเกณฑ์ เป็ นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ ของตน


(Instrumental Relativist Orientation) ใช้ หลักการ
แสวงหารางวัลและการแลกเปลี่ยน บุคคลจะเลือกทำตามความ
พอใจตนของตนเอง โดยให้ ความสำคัญของการได้ รับรางวัล
ตอบแทน
ทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ระดับนี ้เป็ น 2 ขัน้ คือ  
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎ
เกณฑ์ สังคม (Conventional Level)
พัฒนาการจริ ยธรรมระดับนี ้ ผู้ทำถือว่าการประพฤติ
ตนตามความคาดหวังของผู้ปกครอง บิดามารดา
ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ขัน้ ที่ 3 ความคาดหวังและการยอมรับใน
สังคม สำหรับ “เด็กดี” (Interpersonal
Concordance of “Good boy , nice girl”
Orientation) บุคคลจะใช้ หลักทำตามที่ผ้ อู ื่นเห็นชอบ
ใช้ เหตุผลเลือกทำในสิง่ ที่กลุม่ ยอมรับโดยเฉพาะเพื่อน เพื่อ
เป็ นที่ชื่นชอบและยอมรับของเพื่อน ไม่เป็ นตัวของตัวเอง
คล้ อยตามการชักจูงของผู้อื่น เพื่อต้ องการรักษา
สัมพันธภาพที่ดี พบในวัยรุ่นอายุ 10 -15 ปี
ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ขัน้ ที่ 4 กฎและระเบียบ (“Law-
and-order” Orientation) จะใช้ หลักทำตาม
หน้ าที่ของสังคม โดยปฏิบตั ิตามระเบียบของสังคมอย่าง
เคร่งครัด เรี ยนรู้การเป็ นหน่วยหนึง่ ของสังคม ปฏิบตั ิตาม
หน้ าที่ของสังคมเพื่อดำรงไว้ ซงึ่ กฎเกณฑ์ในสังคม พบใน
อายุ 13 -16 ปี
ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตามหลักการ
ด้ วยวิจารณญาณ หรือระดับเหนือกฎเกณฑ์ สังคม
(Post - Conventional Level) พัฒนาการ
ทางจริ ยธรรมระดับนี ้ เป็ นหลักจริ ยธรรมของผู้มีอายุ 20
ปี ขึ ้นไป ผู้ทำหรื อผู้แสดงพฤติกรรมได้ พยายามที่จะ
ตีความหมายของหลักการและมาตรฐานทางจริ ยธรรมด้ วย
วิจารณญาณ
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ขัน้ ที่ 5 สัญญาสังคมหรือหลักการทำตาม
คำมั่นสัญญา ( Social Contract
Orientation)

บุคคลจะมีเหตุผลในการเลือกกระทำโดยคำนึง
ถึงประโยชน์ ของคนหมู่มาก ไม่ ละเมิดสิทธิของ
ผู้อ่ ืน สามารถควบคุมตนเองได้ เคารพการ
ตัดสินใจที่จะกระทำด้ วยตนเอง ไม่ ถูกควบคุม
จากบุคคลอื่น
ทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก
ขัน้ ที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล
(Universal Ethical Principle
Orientation) เป็ นขันที ้ ่เลือกตัดสินใจที่จะกระทำโดย
ยอมรับความคิดที่เป็ นสากลของผู้เจริ ญแล้ ว ขันนี
้ ้แสดง
พฤติกรรมเพื่อทำตามหลักการคุณธรรมสากล โดยคำนึง
ความถูกต้ องยุติธรรมยอมรับในคุณค่าของความเป็ น
มนุษย์ มีอดุ มคติและคุณธรรมประจำใจ พบในวัยผู้ใหญ่ที่
มีความเจริ ญทางสติปัญญา
สรุ ปเหตุผลเชิงจริยธรรม 6 ขัน้ แบ่ งออกเป็ น 3
ระดับ ตามทฤษฎีพฒ ั นาการทางจริยธรรมของ
โคลเบอร์ ก
ระดับจริยธรรม ขั้นการใช้ เหตุผลเชิงจริยธรรม

ระดับก่อนมีจริ ยธรรมอย่างแน่นอนของตน 1. ระดับจริ ยธรรมของผูอ้ ื่น (Heteronomous Morality)


(Pre conventional Level) (2-7 ปี )
2. ผลประโยชน์ของตนเป็ นส่ วนใหญ่ (Individualism
and Instrumental Purpose
and Exchange) (7-10 ปี )
3. การยอมรับของกลุ่ม (Mutujal Interpersonal
Expectations Relationships and Interpersonal
ระดับมีจริ ยธรรมตามกฎเกณฑ์
Conformity) (10-13 ปี )
(Conventional Level)
4. ระเบียบของสังคม(Social System and Conscience)
(13-16 ปี )
ระดับมีจริ ยธรรมอย่างมีวจิ ารณญาณ (Post 5. สัญญาสังคม(Social Contract) (16 ปี ขึ้นไป)
Conventional Level) 6. คุณธรรมสากล (Universal Ethical Principle)
(ผูใ้ หญ่)
สรุ ปทฤษฎีพฒ
ั นาการ
อายุ(ปี
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติ ทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีพัฒนาการทาง
)โดย
ปั ญญา ทางเพศของ ทางสังคม จริยธรรม
ประมา
ของเพียเจท์(4 ขั้น) ฟรอยด์(5ขั้น) ของอิริคสัน(8 ขั้น) ของโคลเบอร์ก

เชื่อฟั งและหลีกเลี่ยงการถูก
ไว้วางใจและไม่ไว้
1-2 ความสุขอยู่ท่ป
ี าก ลงโทษเชื่อฟั งและหลีกเลี่ยง
วางใจ
การถูกลงโทษ
การใช้ประสาทรับสัมผัส
เป็ นตัวของตัว
ความสุขอยู่ท่ก
ี าร แสวงหารางวัลกระทำตาม
(2-3) เองละอายและ
ใช้ทวารหนัก เพื่อน
สงสัย

ความสุขอยู่ท่ก
ี าร มีความคิดริเริ่ม
3-7 เตรียมการเรียนรู้รูปธรรม ผูกพันกับบิดาหรือ และความรู้สึก กระทำตามหน้าที่
มารดา ผิด(guilt)

ความสุขอยู่ท่ค
ี วาม ขยันและมี
8-12 กระทำตามสัญญา
แฝงเร้นทางเพศ ปมด้อย

ความสุขอยู่ท่ก
ี าร รู้จักตนเองแต่ไม่
13-18 ได้สนใจเพศตรง แน่ใจในบทบาท กระทำตามหลักอุดมคติสากล
ข้าม ของตนเอง

You might also like