You are on page 1of 16

การร ับสารเพือ

่ สร้างความเข้าใจ
(การฟัง)
ได ้ยิน ได ้ฟั ง
ความหมายของการฟั ง
การรับรู้ความหมายจาก
เสียงที่ได้ยิน
เพิ่มความรู้

ได้แง่ ได้พัฒนา
คิด ตนเอง
ความสำคัญของ
การฟั งและการอ่าน

เกิด เพลิดเพ
ความ ลิน
เข้าใจ
อันดี
ประเภทของการรับสารแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการ
่ื สาร
สอ
1. การรับสารโดยพิจารณาจากกระบวนการสื่อสาร
สาร ช่องทาง ผู้ฟัง/อ่าน

S M C R
ผู้พูด/เขียน
การสื่อสารทาง
เดียว
Sender Message Channel Receiver

ปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) การสื่อสารสองทาง


่ื สาร
การรับสารแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการสอ
(ต่อ)
2. การรับสารโดยพิจารณาจากการตอบสนอง
ของผู้รับสารเป็ นหลัก
2.1 การรับสารโดยผู้รับสารมีส่วนร่วมโดยตรง

การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารภายในกลุ่ม
่ื สาร
การรับสารแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการสอ
(ต่อ)
2.2 การรับสารโดยผู้ฟังไม่มีส่วนร่วมโดยตรง

การสื่อสารกลุ่มใหญ่ การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ท ักษะการฟังอย่างเข้าใจ

• รู้+เข้าใจภาษา
• รู้+แยกประเภทของสารได้
ผู้ฟังควร • รู้จักเลือกสื่อเหมาะสม+สร้างสรรค์
• ฟั งอย่างมีวิจารณญาณ
• รู้สังคม+วัฒนธรรม
อุปสรรคและปั ญหาในการฟั ง

ผู้พูด สาร ช่องทาง ผู้ฟัง

สาเหตุจาก
SMC R
Sender Message Channel Receiver
สภาพแวดล้อม
การฟั งเชงิ รุก (Active Listening)

การฟั งอย่างกระตือรือร้น จดจ่อ


ระดับการฟั งเชงิ รุก
1 ไม่สนใจฟั ง

2 แกล้งฟั ง
3 เลือกฟั ง
4 ตัง้ ใจฟั ง
5 ฟั งแบบเข้าอกเข้าใจ
การฟั งอย่างลึกซง้ึ (Deep Listening)

การฟั งโดยรับรู้ความรู้สึกของผู้พูด
การฟั งอย่างลึกซง้ึ 4 ระดับ

Downloading Factual Emphatic Generative


Listening Listening Listening

ฉัน/ผู้ฟัง สาร/ข้อมูล เธอ/ผู้พูด ปั จจุบันขณะ


I-in-Me I-in-it I-in-You I-in-Now
วิธฝ
ี ึ กปฏิบต ิ ารฟั งอย่างลึกซง้ึ
ั ก
เตรียมพร้อมร่างกาย
1 เปิ ดการรับรู้ของตนเอง 5 เท่าทันเสียงตัดสินของตนเอง
ปล่อยความคิดหรือเสียงที่เกิดขึน

2 6
เพิ่มความสนใจ อยาก ภายใน
3 รู้อยากเห็น 7
ไม่พูดแทรกและไม่พูดต่อทันที
4 รับรู้สิ่งที่เกิดขึน
้ ตรง 8 เท่าทันความรู้สึกที่เกิดขึน
้ ของตนเอง
หน้า
สรุป
การรับสารได้แก่ การฟั ง และการอ่าน การฟั ง คือ การรับรู้ความหมายจาก
เสียงที่ได้ยิน
ประเภทของการรับสารแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการสื่อสาร แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ
ได้แก่ 1) การรับสารโดยพิจารณาจากกระบวนการสื่อสาร 2) การรับสารโดย
พิจารณาจากการตอบสนองของผู้รับสารเป็ นหลัก
การฟั งอย่างลึกซึง้ เป็ นการฟั งที่ทำให้เราสามารถช่วยคนที่อยู่ข้างหน้าเราที่กำลังมี
ความทุกข์หรือมีปัญหา โดยสามารถทำได้ง่ายที่สุดและไม่ต้องใช้อุปกรณ์อะไรใน
กระบวนการฟั งอย่างลึกซึง้
การฟั งอย่างลึกซึง้ 4 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 ของการฟั ง Downloading ระดับที่
2 ของการฟั ง Factual Listening ระดับที่ 3 ของการฟั ง Emphatic
Listening ระดับที่ 4 ของการฟั ง Generative Listening
กิจกรรมครัง้ ที่ 2 (5 คะแนน)
1. นักศึกษาชมคลิปวิดีโอกรณีศึกษาการฟั งอย่างลึกซึง้ คลิป
“#ฟั งด้วยหัวใจ #ฟั งเสียงเพื่อนซึมเศร้า”
https://www.youtube.com/watch?
v=E3Dcl2n_uTg
2. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ร่วมกันวิเคราะห์สารที่
ฟั ง และแสดงความคิดเห็น
3. ร่วมกันสรุปความคิดเห็นโดยเขียนเป็ นแผนผังความคิด

You might also like