You are on page 1of 44

เสื้อพยุงหลัง /

ที่ประคองหลังช่วย
ป้ องกันอาการปวด
จริงหรือ ?
พญ.อัมพร มิตรประสิทธิ ์
แพทย์ประจำบ้านภาควิชาเวชศาสตร์ชมุ ชน
แขนงอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
หัวข้อที่จะพูดคุยกัน

◊สาเหตุและปั จจัยของอาการปวดหลัง
◊อวัยวะที่ได้รับผลกระทบ
◊ปั จจัยเสี่ยงจากงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
◊เสื้อพยุงหลัง
อาการปวดหลังเกิดจากอะไร

สามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ
• การบาดเจ็บจากการใช้งาน
• เล่นกีฬาหรือใช้งานในท่าทางที่ผิดสุขลักษณะ
• อุบัติเหตุ
• ความเสื่อมเนื่องจากวัย
เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ
ปั จจัยที่ทำให้เกิดอาการปวดหลัง

• การใช้งานในท่าทางที่ไม่เหมาะสม
• ความแข็งแรงของโครงสร้างกล้ามเนื้อและกระดูก
สันหลัง
• ความเสื่อมของข้อต่อวัย
• หนักของที่ยก
เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ
“คุณคิดว่ากระดูกสันหลังส่วนไหนได้รับผลกระทบ
มากที่สุด”

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


กายวิภาคศาสตร์ทางกระดูกสันหลังส่วนเอว

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


ส่วนที่บาด
เจ็บ
1.กระดูกสัน
หลัง
2.กลามเนื้อ
3.เส้นเอ็น
อาการหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
ท่าใดต่อไปนีท
้ ำให้เกิดอาการปวด
หลังได้มากกว่ากัน
1 2
การวัดแรงดันภายในหมอนรองกระดูกสันหลัง,
Nachemson 1959
การวัดแรงดันภายในหมอนรองกระดูกสันหลัง
เทียบกับงานวิจัยใหม่
ปั จจัยเสี่ยงจากงานที่อาจก่อให้เกิด
อันตรายจากการยกวัสดุสิ่งของ
หนัก
ปั จจัยเสี่ยงจากงานที่อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการ
ยกวั ส ดุ ส ิ ่ ง ของหนั ก
- น้ำหนักของวัสดุสิ่งของที่จะทำการยก ไม่ควรเกินครัง้ ละ 23
กิโลกรัม สำหรับลูกจ้างยก 1 คน
- ความสมดุลของวัสดุสิ่งของ
- ความยากง่ายในการจับถือวัสดุสิ่งของ

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


ปั จจัยเสี่ยงจากงานที่อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการ
ยกวั ส ดุ ส ิ ่ ง ของหนั ก
- ความถี่และระยะเวลาในการยก
- แผนผังของพื้นที่หรือสถานที่ทำงาน
(มีผลกระทบต่อระยะทางการยกเคลื่อนย้ายและท่าทางการยก)
- สิ่งแวดล้อมขณะยก เช่น อุณหภูมิ ความสั่นสะเทือน หรือแรง
เสียดทาน

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


การกำหนดอัตราน้ำหนักที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน
ได้ พ.ศ.2547
ให้นายจ้างใช้ลูกจ้างทำงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักไม่
เกินอัตราน้ำหนักโดยเฉลี่ยต่อลูกจ้างหนึ่งคน ดังต่อไปนี ้
1. 20 กิโลกรัมสำหรับลูกจ้างซึ่งเป็ นเด็กหญิงอายุตงั ้ แต่ 15 – 18 ปี
2. 25 กิโลกรัมสำหรับลูกจ้างซึ่งเป็ นเด็กขายอายุตงั ้ แต่ 15 – 18 ปี
3. 25 กิโลกรัมสำหรับลูกจ้างซึ่งเป็ นหญิง
4. 55 กิโลกรัมสำหรับลูกจ้างซึ่งเป็ นชาย

กฎกระทรวง กำหนดอัตราน้ำหนักให้ลกู จ้างทำงานได้ พ.ศ. 2547


ตัวอย่างการปฏิบัติงานยกและ
เคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกายอย่าง
ไม่เหมาะสม
การก้มหลังขณะยกของ
- ใช้กล้ามเนื้อท้องและกล้ามเนื้อ
หลังร่วมกัน
- งอที่หลังส่วนล่าง

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


คูม
่ อ
ื การปรับปรุงการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ
่ นย ้ายวัสดุด ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การบิด/เอีย
้ วตัวขณะยกของ
- สร้างแรงเฉือนบนหมอนรอง
กระดูก
- กดทับรากประสาทของเส้น
ประสาทส่วนหลัง
- ควรจะหมุนร่างกายทัง้ ตัว

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


คูม
่ อ
ื การปรับปรุงการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ
่ นย ้ายวัสดุด ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การยกของเหนือระดับหัวไหล่

- เสี่ยงที่จะเกิดการบาดเจ็บของ
กล้ามเนื้อบริเวณ
รอบหัวไหล่
- ปวดเมื่อยบริเวณหัวไหล่และแขน
ท่อนบน

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


คูม
่ อ
ื การปรับปรุงการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ
่ นย ้ายวัสดุด ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การยกของทีอ
่ ยูห
่ า่ งตัว
- เสี่ยงของการเกิดอาการปวดเมื่อย
บริเวณไหล่แขน และหลังส่วนล่าง
- การยื่นแขนไปด้านหน้าจะสร้าง
ภาระงานกล้ามเนื้อไหล่และแขน
ท่อนบนมาก
- เพิ่มแรงกระทำที่หมอนรองกระดูก

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


คูม
่ อ
ื การปรับปรุงการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ
่ นย ้ายวัสดุด ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การยกของโดยวางไว ้บนหลัง

- บาดเจ็บที่หลังอาจจะทำให้เป็ น
อัมพาตได้
- ทำงานมากเพื่อพยุงโครงสร้างของ
ร่างกาย

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


คูม
่ อ
ื การปรับปรุงการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ
่ นย ้ายวัสดุด ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การยกโดยวางของบนศ รี ษะ/บ่า

- การยกโดยวางของบนบ่าลูกจ้าง
ต้องเอียงศีรษะและลำตัวในขณะ
ปฏิบัติงานทำงานมากเพื่อพยุง
โครงสร้างของร่างกาย
- การบาดเจ็บที่คออาจทำลูกจ้าง
เป็ นอัมพาตทัง้ ร่างกายได้

คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.


คูม
่ อ
ื การปรับปรุงการปฏิบัตงิ านยกและเคลือ
่ นย ้ายวัสดุด ้วยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การวางแผนการยกและการยกที่ถูกวิธี
- ประเมินน้ำหนักของวัสดุสิ่งของว่าจะยกตามลำพังเพียงคนเดียวได้หรือไม่
- ถ้าไม่สามารถยกได้ ต้องหาคนช่วย ไม่ควรพยายามยกเคลื่อนย้ายด้วยตนเอง
- สิ่งแวดล้อมในการทำงาน เช่น
- ไม่มีสิ่งกีดขวางทาง
- มีเนื้อที่ว่างมากพอในการยกเคลื่อนย้าย
- พื้นไม่ล่ น
ื และมีแสงสว่างเพียงพอ เป็ นต้น
- จัดวางตำแหน่งวัสดุสิ่งของที่จะยกไม่สูงเกินกว่าระดับไหล่
คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การวางแผนการยกและการยกที่ถูกวิธี
- ควรใช้เครื่องทุ่นแรงที่เหมาะสมเพื่อลดการใช้กําลังแรงงานคน
- การทำงานกับวัสดุสิ่งของที่มีน้ำหนักต่างๆ กัน เมื่อยกของที่หนักแล้วให้สลับ
มายกของเบา
- เพื่อพักกล้ามเนื้อและเพื่อช่วยลดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
- ควรใช้ถุงมือเพื่อป้ องกันการถลอก ขูดขีด และการถูกบาดจากของมีคม
- สวมใส่รองเท้านิรภัย เพื่อป้ องกันการลื่นไถล และป้ องกันการบาดเจ็บจาก
วัสดุสิ่งของหล่นทับ
คูม่ อื การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านยกและเคลื่อนย้ายวัสดุดว้ ยแรงกายตามหลักการยศาสตร์, สสปท.
การยกของตามข้อแนะนำ
NIOSH LIFTING EQUATION
การยกวัสดุสิ่งของ
คนเดียว โดยวัสดุ
สิ่งของอยู่ระดับพื้น

• ยืนชิดวัสดุ
สิ่งของและการ
วางเท้าที่ถูกต้อง
การยกวัสดุสิ่งของ
คนเดียว โดยวัสดุ
สิ่งของอยู่ระดับพื้น

• ย่อเข่าให้หลังเป็ น
แนวตรง
การยกวัสดุสิ่งของ
คนเดียว โดยวัสดุ
สิ่งของอยู่ระดับพื้น

• จับวัสดุสิ่งของให้มัน
คงโดยใช้ฝ่ามือจับ
การยกวัสดุสิ่งของ
คนเดียว โดยวัสดุ
สิ่งของอยู่ระดับพื้น

• ยกวัสดุสิ่งของให้ชิดกับ
ลําตัวมากที่สุด
การยกวัสดุสิ่งของ
คนเดียว โดยวัสดุ
สิ่งของอยู่ระดับพื้น

• ศีรษะและกระดูกสันหลัง
อยู่ในแนวตรง
การยกวัสดุสิ่งของ
คนเดียว โดยวัสดุ
สิ่งของอยู่ระดับพื้น

• ยืนขึน
้ โดยใช้กาลัง
จากกล้ามเนื้อขา
การทำงานของเสื้อพยุงหลัง
ลักษณะการทำงานและผลของเสื้อพยุงหลัง (LS
SUPPORT)
• แท่งโลหะเหล็กรูปตัว S สองแท่งขนาบอยู่ด้านข้าง เพื่อพยุงส่วนของกระดูก
สันหลังระดับเอว
ช่วยป้ องกันการเคลื่อนไหวที่มากเกินไป
• วัสดุยืดหยุ่นซึ่งสามารถยืดให้รัดลำตัวสันหลังได้
ใช้ตีนตุ๊กแกเป็ นตัวยึดให้เสื้อสามารถรัดและพยุงท่าทางให้อยู่ในแนวตรง

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ
ทำไมนักยกน้ำหนักต้องใส่เข็มขัดรัดพุงเอาไว้?
เสื้อพยุงหลังมีคุณสมบัติได้ผลใน 3 ด้าน: ข้อดีในระยะสัน

1. ลดหรือจำกัดการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลัง
โดยสามารถลดการเคลื่อนไหวในทิศงอ-เหยียดหลังได้เหมาะกับผู้ที่มี
อาการปวดหลังเฉียบพลัน
ไม่เกิน 2 อาทิตย์

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


เสื้อพยุงหลังมีคุณสมบัติได้ผลใน 3 ด้าน
2. เพิ่มความดันภายในช่องท้อง ส่งผลให้แรงกระทำต่อหมอนรองกระดูกสัน
หลังลดลง
หากสวมใส่ให้ถูกวิธีกระชับ จะเกิดประโยชน์ต่อกลุ่มที่จำเป็ นต้องยกของ
หนัก
หรืองานที่อยู่ในท่านั่งติดต่อกันนานๆ โดยสามารถลดแรงกระทำต่อข้อ
ต่อกระดูกสันหลัง
ได้มากกว่าการสวมใส่แบบหลวมๆ

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


เสื้อพยุงหลังมีคุณสมบัติได้ผลใน 3 ด้าน
3. ด้านจิตใจ โดยมีผลต่อ placebo effectทำให้ผู้สวมใส่คำนึงอยู่เสมอว่า
ต้องอยู่ในท่าทางที่เหมาะสม

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


ข้อเสีย
• เพิ่มความเข้าใจผิดยิ่งสามารถทำให้ยกของหนักได้มากขึน ้ นั่งได้
นานขึน้ หรือสามารถทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ ได้ติดต่อกัน
มากกว่าไม่ได้สวมใส่เสื้อพยุงหลังอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพผู้สวมใส่
และทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังที่รุนแรงในอนาคตได้
• กล้ามเนื้อไม่ได้ใช้งาน อาจเกิดอาการฝ่ อขึน
้ ได้

เวชบันทึกศิรริ าช, การใส่เสือ้ พยุงหลังประจำช่วยลดปวดได้จริงหรือ


ขอบคุณค่ะ

You might also like