You are on page 1of 47

บทที่ 7

Heat Treatment of Steels

กรรมวิธีทางความร้อนของเหล็กกล้า

โดย
อ.กิตติมา ศิลปษา และ ผศ.ดร.สุขอังคณา ลี
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
กรรมวิธีทางความร้อนของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรรมวิธีทางความร้อน (Heat Treatment) หรือเรียกสั้นๆ ว่า “การ
อบ-ชุบ”
หมายถึง “การรวมเอา การทำให้ร้อน การทำให้เย็น เวลา และการ
ประยุกต์ ใส่เข้าไปในโลหะหรือโลหะผสมในสภาพที่ยังเป็น
ของแข็ง แล้วทำให้ได้คุณสมบัติตามที่ต้องการ”

วัตถุประสงค์
เพื่อเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติให้ได้ตามที่ต้องการ เช่น
 มีความอ่อนตัวสูง(Ductile)  เพิ่มความสามารถในการขึ้นรูป
 มีความแข็งสูง (Hard) เพื่อเพิ่มความต้านทานการสึกหรอ
 มีความเหนียวแน่น (Toughness) เพิ่มความต้านทานแรงกระแทกและบิดตัว
2
Background
 Steel is an alloy of iron and carbon (0.06-2% wt) with
some other alloying elements
 Equilibrium phase diagram shown that Carbon can be in
solid solution (Ferrite and Austenite) or form a compound
of Fe3C
 Iron has a Allotropy property:สามารถเปลี่ยนระบบผลึกเมื่อ
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
3
Morphology of Steel
Phase Crystal structure Micrograph Characteristic
Ferrite BCC with Soft,
Carbon in
Ductile,
solid
solution Magnetic
Austenite FCC with Soft,
Carbon in
solid Moderate strength,
solution nonmagnetic
Cementite Compound
Fe3C
Hard and Brittle
Ortho-
rhombic
4
5
What happens when a steel is heated or cooled
under nonequilibrium condition?
 On heating, phase change as in Phase Diagram.
 On rapid Cooling, C atom in -FCC are trapped, resulting
in a (Body centered tetragonal) structure which is called
“Martensite”

Slow cooling
Equilibrium

Rapid
cooling BCC

-FCC
T> Ac3

BCT (up to 60 HRC with 0.6%C)


6
ประเภทของการอบ-ชุบ เหล็กกล้า
การอบชุบที่สำคัญ และใช้กันมากสำหรับเหล็กกล้า
มี 4 แบบ คือ
1. Hardening (การชุบแข็ง)
2. Tempering (การอบคืนตัว)
3. Annealing (การอบอ่อน)
4. Normalizing (การอบปกติ)

7
1 .Hardening (การชุบแข็ง)
 หมายถึง การอบเหล็กให้เกิดโครงสร้างออสเทนไนท์ และชุบ
เพื่อให้จะเกิดโครงสร้างมาเทนไซท์เพื่อเพิ่มความแข็ง

Hardening
Direct hardening Diffusion treatment

Austenitize and Quench การชุบผิวแข็งด้วยกระบวนการแพร่


ใช้ในกรณีที่ปริมาณคาร์บอนน้อย

8
ความแข็งของเหล็กที่ผ่านการชุบจะมากหรือน้อยนั้นจะ ขึ้นอยู่
กับปัจจัย 3 อย่าง คือ
1. ปริมาณโครงสร้าง ออสเทนไนท์ ของเหล็ก
2. ปริมาณ Carbon ในเหล็กที่เพียงพอ
 ถ้ามี %C มาก มาร์เทนไซต์จะเกิดได้ง่ายและเกิดในปริมาณมาก
 ถ้ามี %C น้อย เฟสมาร์เทนไซท์จะเกิดน้อย หรือ ไม่เกิด
3. อัตราการเย็นตัวในการชุบ
 เย็นตัวเร็ว โอกาสที่ออสเทนไนท์ จะเปลี่ยนเป็นมาร์เทนไซต์ก็มีมาก
 เย็นช้าๆ ออสเทนไนท์จะเปลี่ยนเป็นเฟอร์ไรท์ กับซีเมนไตต์ (ตามเฟส
ไดอะแกรม)

9
1.1 Austenizing Process

Austenite Martensite
•Moderate strength •40-60 HRC
•Crystal structure: FCC with •crystal structure:
Carbon in solid solution BCT (Body-centered tetragonal) with Carbon in
Solid solution

10
start
Martensite

finish

Time-Temperature transformation diagram (TTT)


11
เย็นตัวช้า
Typical Time-Temperature transformation diagram (TTT)
12
Hardening temperature range for steel

13
Austenizing Process
เผาเหล็กที่อุณหภูมิประมาณ 800-900 oC
ถ้า C< 0.8%ให้ใช้อุณหภูมิเลยเส้น Ac3 ประมาณ 50-75 oC
ถ้า C>0.8% ให้ใช้อุณหภูมิเลยเส้น Ac1 ประมาณ 50-75 oC เท่านั้น

เกิดโครงสร้างออสเทนไนท์
แช่อุณหภูมิไว้ประมาณ 1 ชม./ความหนา 25 มม. Nonequilibrium

เอาออกจากเตาทำให้เย็นโดยเร็ว ด้วยการจุ่มในน้ำ (Water Quench)


หรือในน้ำมัน (Oil Quench)

ออสเทนไนท์ มาร์เทนไซต์
14
Heating Rate
 อัตราการเผาช้า (a)
 เผาเหล็กให้ร้อนไปพร้อมๆ กับเตา อุณหภูมิของเหล็กจะต่ำกว่าเตาเพียงเล็กน้อย
เหมาะกับชิ้นงานที่มีรูปร่างซับซ้อนและมีส่วนหนา บางต่างกัน
 อัตราการเผาสูง (b)
 บรรจุเหล็กเข้าเตาที่มีอุณหภูมิที่ต้องการ โดยพบว่าเหล็กจะมีอุณหภูมิที่ต่างกัน
มากในตอนเริ่มต้นจากนั้นจะเท่ากัน โดยใช้เวลาน้อยกว่าอัตราการเผาช้า
 เหมาะกับชิ้นงานที่มีรูปร่างไม่ซับซ้อน และมีปริมาณคาร์บอนปานกลาง
 สามารถลดความต่างของอุณหภูมิโดยบรรจุเหล็กไว้ในหีบปิ ดคลุมมิดชิดก่อน
บรรจุเข้าเตา
 อัตราการเผาที่สูงมาก (c)
 ไม่นิยม เพราะอุณหภูมิระหว่างผิวกับใจกลางต่างกันมาก ซึ่งอาจทำให้เหล็กบิด
เบี้ยวหรือแตกร้าวได้ ซึ่งสามารถลดความต่างของอุณหภูมิโดยบรรจุเหล็กไว้ใน
หีบปิ ดคลุมมิดชิดก่อนบรรจุเข้าเตาเช่นกัน
15
16
Quenching
ของเหลวสำหรับการชุบแข็ง (Quenching medium)
 ต้องมีอัตราการเย็นตัวที่สูงกว่าอัตราการเย็นตัววิกฤติ(see TTT)
 มีอัตราการเย็นตัวที่ช้าลงในช่วงอุณหภูมิการเปลี่ยนแปลงจาก
Austenite ไปเป็น Martensite (ประมาณ 200-400 oC) เพื่อป้องกัน
ไม่ให้เกิดความเครียดภายในจนเกิดการบิดงอ หรือแตกร้าวเสียหาย
ได้
 ของเหลวสำหรับการชุบแข็งที่ใช้กันทั่วไป ได้แก่ น้ำ, น้ำเกลือ, น้ำ
ด่าง, เกลือละลาย และอากาศ

17
Heat transfer & Cooling rate during Quenching
 การถ่ายเทความร้อนที่ของเหลวกลายเป็นไอเมื่อสัมผัสแท่งเหล็กร้อน แบ่งเป็น
3 ช่วง
 ช่วงที่ 1 อัตราการถ่ายเทความร้อนช้า ของเหลวที่สัมผัสกับแท่งเหล็กร้อน
จะกลายเป็นไอหุ้มแท่งเหล็กไว้ในลักษณะฟิ ล์มบางๆ การถ่ายเทความร้อน
ช้า แต่จะเป็นอยู่ในระยะสั้นๆ
 ช่วงที่ 2 อัตราการเย็นตัวสูง ฟิ ล์มบางๆ ที่หุ้มอยู่แตกออก ของเหลวสัมผัส
กับแท่งเหล็ก จะเดือดและกลายเป็นไอ มีลักษณะเหมือนการกวน
 ช่วงที่ 3 อัตราการเย็นตัวช้าลง เพราะแท่งเหล็กมีอุณหภูมิต่ำลง ของเหลวมี
อุณภูมิลดลงต่ำกว่าจุดเดือด ความร้อนจึงถ่ายเทออกไปโดยการพาด้วย
ของเพียงอย่างเดียว อัตราการเย็นตัวจะลดลงจนถึงจุดที่ของเหลวกับแท่ง
เหล็กมีอุณหภูมิเท่ากัน
18
1.1.1 Mar-tempering Process
เผาเหล็กให้ร้อนถึงอุณหภูมิประมาณ 800-900 oC
ถ้า C< 0.8%ให้ใช้อุณหภูมิเลยเส้น Ac3 ประมาณ 50-75 oC
ถ้า C>0.8% ให้ใช้อุณหภูมิเลยเส้น Ac1 ประมาณ 50-75 oC เท่านั้น

เมื่อเหล็กกลายเป็น ออสเทนไนท์ แช่อุณหภูมิไว้ประมาณ 1 ชม./ความหนา 25 มม.

ชุบลงในอ่างเกลือหลอมละลาย (~400 oC) ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เกลือโซเดียมไนเตรด


กับโปแตสเซียมไนเตรด (40-50%) ซึ่งมีจุดหลอมเหลวที่ 145 oC
ที่อุณหภูมิเหนือเส้น Ms โดยเวลาต้องไม่ถึงช่วงที่เกิด Bainite (ดูจาก TTT diagram)

เอาออกจากเตาทำให้เย็นต่อโดยเร็ว ด้วยการจุ่มในน้ำ หรือในน้ำมัน

ได้โครงสร้าง Martensite ที่มีความแข็งสูง


19
Mar-Tempering Hardening
- นิยมใช้กับชิ้นงานที่มีรูปร่างซับซ้อน
มีความหนา บางแตกต่างกันมาก (ถ้า
ชุบแบบปกติชิ้นงานอาจบิดงอ เกิด
ความเครียดจากการเย็นตัวเร็ว อาจ
แตกร้าวในที่สุด)
- ควรมีการอบคืนตัวเพื่อลด
ความเครียด

20
1.1.2 Aus-tempering Process
เผาเหล็กให้ร้อนถึงอุณหภูมิประมาณ 800-900 oC
ถ้า C< 0.8%ให้ใช้อุณหภูมิเลยเส้น Ac3 ประมาณ 50-75 oC
ถ้า C>0.8% ให้ใช้อุณหภูมิเลยเส้น Ac1 ประมาณ 50-75 oC เท่านั้น

เมื่อเหล็กกลายเป็น ออสเทนไนท์ แช่อุณหภูมิไว้ประมาณ 1 ชม./ความหนา 25 มม.

ชุบลงในอ่างเกลือหลอมละลาย (~500-600 oC) ถ้าต้องการ Upper bainite (ขนนก)


ชุบลงในอ่างเกลือหลอมละลาย (~400-500 oC) ถ้าต้องการ Lower bainite (Acicular)
ทิ้งไว้ระยะยาวจนแน่ใจว่า austenite เปลี่ยนเป็น Bainite ทั้งหมด (TTT diagram)

เอาออกจากเตาทำให้เย็นโดยเร็ว ด้วยการจุ่มในน้ำ หรือในน้ำมัน

ได้โครงสร้าง Bainite ตามอุณหภูมิที่ชุบในอ่างเกลือ


21
Aus-Tempering Hardening
Bainite
• เป็นโครงสร้างที่ผสมระหว่าง Ferrite และ
Cementite คล้าย Pearlite แต่จะแข็งแรงกว่า
• เกิดที่อุณหภูมิระหว่าง Ms ถึง 530 C
• โครงสร้างมีหลายแบบ เช่น แบบขนนก,
แบบเลนส์ เป็นต้น ขึ้นกับอุณหภูมิการเย็น
ตัว

22
Hardenability
 ความสามารถในการชุบแข็งไม่สามารถวัดเป็นปริมาณ(ตัวเลข)ได้
 แต่ จะได้จากการเปรียบเทียบลักษณะความแข็งที่ได้จากการทดลอง
 เหล็กชนิดใดมีความแข็งถึงผิวใจกลางสม่ำเสมอถือว่ามี Hardenability
สูง

http://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/jominy/jominy.php

23
Jominy End Quenched Test
วิธีการ:
ใช้แท่งเหล็กกลมขนาดศูนย์กลาง 1 นิ้ว,
ยาว 4 นิ้ว เผาให้ร้อนถึงอุณหภูมิ
Austenite

นำมาฉีดแขวนโดยฉีดน้ำ(ศก.ท่อ 0.5 นิ้ว)


ที่ปลายแท่งเหล็กจนเย็น

วัดความแข็งทุกๆ ระยะ 1/6 นิ้ว จากปลาย


แท่งเหล็กจนถึงจุดที่ความแข็งไม่
เปลี่ยนแปลง

Plot กราฟ ความแข็ง vs ระยะจากปลาย


แท่งเหล็ก
24
ชิ้นงานวัดความแข็ง
Oil quench

HRC
HRC

1 2

 เส้นผ่าศูนย์กลาง (มม.)
1
2
ผิว ใจกลาง

ระยะห่างจากปลายสุด

25
ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสามารถในการชุบแข็ง
1. Austenite ที่เกรนโตจะมี Hardenability สูง (มีระยะฟักตัวนาน)
2. Fe3C หรือ Carbide หรือสารมลทิน ที่ไม่สลายได้หมดใน Austenite จะ
ทำให้ความแข็งลดลง (กราฟขยับซ้าย)
3. เหล็ก 0.8%C เป็นเหล็กที่มี Hardenability สูงที่สุด (กราฟ ขยับขวาสุด)
4. ระดับความแข็งที่ผิวกับบริเวณภายในไม่ต่างกันมาก ถือว่ามี
Hardenability สูง (ความชันต่ำ)
5. เหล็กส่วนผสมเท่ากัน ใช้อัตราเย็นตัวที่เท่ากัน  ความแข็งเท่ากัน
(ขนาดเหล็กไม่มีผลต่อความแข็ง)

26
Diffusion treatment

carbulizing

27
Nitriding

28
Induction induced
29
2. Tempering (การอบคืนตัว)
เป็นการอบที่อุณหภูมิต่ำเพื่อให้เหล็กมีคุณสมบัติเหมาะในการ
ใช้งานภายหลังจากการชุบแข็งเพื่อลดความเค้น เพิ่มความ
เหนียว ลดความเปราะลง
เนื่องจากเหล็กที่ผ่านการชุบ ย่อมเกิดความเค้นขึ้น
ภายใน ถึงมีความแข็งเพิ่มขึ้น แต่ขาดความเหนียว (Ductility)
ทำให้เปราะ หลังจากชุบแข็งแล้วจึงต้องนำมาอบ Tempering
ก่อนนำไปใช้งานจริง เช่น มีดกลึงที่ผ่านการ quenching มีความ
แข็ง62 HRC ต้อง temper ลดความแข็งลงมาที่ 60 HRC
30
Tempering Process
นำเหล็กที่ผ่านการชุบแล้วมาเผาในเตา อุณหภูมิประมาณ 200-400 oC

แช่เหล็กทิ้งไว้ในเตา 1 - 3 ชั่วโมง

เอาออกจากเตา ปล่อยให้เย็นในอากาศธรรมดา

ข้อควรระวัง ขณะเผาที่อุณหภูมิต่ำ มาร์เทนไซต์จะเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย


จะพยายามเปลี่ยนเป็นโครงสร้างที่สมดุลย์ที่อุณหภูมิบรรยากาศ ดังนั้น
ไม่ควรเผาอุณหภูมิเกิน 400 oC เพื่อไม่ให้มาร์เทนไซต์คืนตัวหมด

ความแข็งจะลดลงเล็กน้อยเพียง 1-2 HRC แต่ toughness เพิ่มได้ถึง 10เท่า


31
Tempering temperature range for steel

ทำลายความเครียด/เหนียวสูง 500-650 oC
เหนียวสูง/สปริง/ใกล้เคียง Bainite 350-450 oC
ลดความเครียด/hardness ลดลงเล็กน้อย150-250 oC

32
200-280 oC
เกิด Ferrite (0.025%C)
+ Fe3C ที่ละเอียด
1 300-500 oC
2 Ferrite(Pseudo cubic) Ferrite
80-200 oC  Carbide (Fe2C) Fe3C
3
เกิด Ferrite(Pseudo cubic)
+  carbide Fe2C (หรือ
Fe2C4)
4
> 500 oC
โครงสร้างสู่สมดุลย์ / ความแข็งลดลงมาก

ค่าความแข็งที่เปลี่ยนแปลงหลังการอบคืนตัว 33
การเปราะเนื่องจากการอบคืนตัว
(Tempered Brittleness)
 การอบคืนตัวจะทำให้สมบัติด้านความเหนียวดีขึ้น แต่ที่ช่วง
อุณหภูมิ 300-500 oC จะได้ทำให้สมบัติทนแรงกระแทก (Impact
strength) ลดลง
 เหล็กกล้าคาร์บอนจะเกิดการเปราะเล็กน้อย
 เหล็กกล้าผสม (โดยเฉพาะ Mn, Cr และ Mo) จะปรากฏชัดเจน
 สาเหตุจาก เกิดการตกผลึกของคาร์ไบด์ที่มาจาก Martensite
หรือจากการที่ martensite แตกตัว  ควรหลีกเลี่ยงอุณหภูมิดัง
กล่าว หรือใช้เวลาน้อยที่สุดในช่วงนี้

34
3. Annealing (การอบอ่อน)
หมายถึง การอบและปล่อยให้เหล็กเย็นตัวอย่างช้าๆ เพื่อให้เหล็ก
มีความอ่อนตัว (Softening) หรือเพื่อทำให้เหล็กมีความเหนียว
(Toughening) เพิ่มขึ้น

ทั้งนี้ เนื่องจากเหล็กที่ผ่านการขึ้นรูปเย็น (Cold Working)


หรือการหล่อ (Casting) มักจะมีความแข็งมากและสมบัติทางกลที่ไม่
สม่ำเสมอ ทำให้การกลึงหรือไสทำได้ยาก ดังนั้นจึงจำเป็นต้องลด
ความแข็งของเหล็กเพื่อให้การแปรรูปขั้นต่อไปทำได้ง่ายขึ้น

35
มีสอง 2 วิธี คือ
1.1 Full Annealing (การอบอ่อนอย่างสมบูรณ์)
1.2 Incomplete Annealing หรือ Process Annealing
(การอบอ่อนไม่สมบูรณ์) มี 2 ประเภท ได้แก่
1.2.1 Stress-relief Anneals
1.2.2 Spheroidising Anneals

36
3.1 Full Annealing Process
เหล็ก Hypo-eutectoid เผาให้มีอุณหภูมิเหนือเส้น Ac3 ประมาณ 30-50 oC (เผาช้าๆ)
เหล็ก Hyper-eutectoid เผาให้มีอุณหภูมิเหนือเส้น Ac1 ประมาณ 30-50 oC (เผาช้าๆ)

แช่เหล็กทิ้งไว้ในเตา ให้โครงสร้างจุลภาค เป็น austenite ทั้งหมด

ปิ ดเตา และปล่อยให้ชิ้นงานเย็นในเตาที่ปิ ดฝาสนิท(Furnace cooling)

โครงสร้างจุลภาคจาก Austenite Ferrite + Pearlite

37
Full Annealing Temperatures range for steel

Hypo-eutectoid Hyper-eutectoid

38
3.2.1 Incomplete Annealing (Stress-relieving)
เผาเหล็กให้มีอุณหภูมิต่ำกว่าเส้น Ac1 เล็กน้อย (~500-650 oC)

แช่เหล็กทิ้งไว้ในเตาไว้นานพอสมควรเพื่อให้เหล็กร้อนทั่วถึงกัน
(ให้มีอุณหภูมิเท่ากันถึงภายใน)

ปล่อยให้เย็นในอากาศ

โครงสร้างของเหล็กไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก
ความแข็งจะลดลงเล็กน้อย เพราะความเค้นที่เกิดจาก strain hardening ลดลง
รวมทั้งความเครียดภายในลดลง
39
3.2.2 Incomplete Annealing (Spheroidising)
•0.7-0.8%C เผาให้มีอุณหภูมิต่ำกว่า Ac1 และเผาสลับกับ อุณหภูมิสูงกว่า Ac1
•>0.8%C เผาให้มีอุณหภูมิสูงกว่าเส้น Ac1 เล็กน้อย

แช่เหล็กทิ้งไว้ในเตา 10-15 hr.

ปล่อยให้เย็นในอากาศ

โครงสร้างจุลภาคเปลี่ยนแปลง:Pro-eutectoid cementite ขาดเป็นช่วงๆ และ


cementite ใน pearlite ซึ่งเป็นแถบบางๆ จะมีลักษณะเป็นเม็ดกลมเล็กๆ (Spheroid)

มีความเหนียวเพิ่มขึ้น ลดความเปราะลง เช่น มีดกลึงสามารถกลึงได้ผิวที่เรียบขึ้น

40
Incomplete Annealing temperature ranges for steel

Spheroidising Anneals

500-650 oC Stress-relieving

41
4. Normalizing (การอบปกติ )
•โดยทั่วไปเหล็กที่ผ่านการหล่อ (Casting) หรือการรีดร้อนขึ้นรูป
เช่น เหล็กรูปพรรณรีดร้อน (Hot-rolled bars) มักจะมีความแข็ง
หรือความเหนียวไม่สม่ำเสมอตลอดทั้งแท่ง เนื่องจากการเย็นตัว
ที่ไม่เสมอกัน
• ดังนั้น จึงจำเป็นต้องนำมาทำ Normalizing ซึ่งก็คือ การอบและ
มีอัตราเย็นตัวปานกลาง เป็นการลดขนาดของเม็ดเกรน (Grain
Size) ของเหล็ก เพื่อทำให้คุณสมบัติของเหล็กสม่ำเสมอ
(Homogenous) แต่ยังคงความแข็งแรงไว้ได้

42
Normalizing Process
เหล็ก Hypo-eutectoid เผาให้มีอุณหภูมิเหนือเส้น Ac3 ประมาณ 30-50 oC
เหล็ก Hyper-eutectoid เผาให้มีอุณหภูมิเหนือเส้น Acm ประมาณ 30-50 oC

แช่เหล็กทิ้งไว้ในเตา (30-60 นาที/ความหนาเฉลี่ย 25 มม.)


ให้อุณหภูมิเท่ากันหมดทุกจุดตลอดภายในใจกลางด้วย

เอาออกจากเตา ปล่อยให้เย็นในอากาศปกติ

เม็ดเกรนของเหล็กจะมีขนาดเล็กกว่าแบบ Annealing
เนื่องจากมีอัตราการเย็นตัวที่สูงกว่า

เหล็กจะมีความเหนียวและคุณสมบัติสม่ำเสมอ 43
Normalizing temperature range for steel

44
Summary

45
Austenite transition temperature Martempering
Full annealing Hardening Austempering
Spheroidizing
Stress-relieving

Tempering
Ms

Heat treatment thermal cycles


46
อ้างอิง
 รศ.มนัส สถิรจินดา. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก. วิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. พิมพ์ครั้งที่ 3, กุมภาพันธ์ 2537
 K.G. Budinski and M.K. Budinski, Engineering materials :
Properties and Selection 8th edition, Pearson Prentice Hall,
USA, 2005

47

You might also like