You are on page 1of 66

โครงการนำร่องขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพหม้อน้ำโดย

วิศวกรด้านหม้อน้ำหรือวิศวกรพลังงาน

ภายใต้เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
ปี งบประมาณ ๒๕๖๑

มาตรการในการปรับปรุงระบบผลิตไอน้ำ
[ระบบผลิตไอน้ำ]
หัวข้อการนำเสนอ
 ประสิทธิภาพหม้อน้ำ
 มาตรการปรับปรุงระบบผลิตไอน้ำ
1. มาตรการปรับแต่งการเผาไหม้ของหม้อน้ำ
2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซไอเสียร้อน
3. มาตรการเพิ่มอุณหภูมิอากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้
4. มาตรการควบคุมความชื้นของเชื้อเพลิง
5. มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ
6. มาตรการลดการสูญเสียจากการโบล์วดาวน์
7. มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์กลับมาใช้ใหม่

2
efficiency)
1. การตรวจวัดด้วยวิธีทางตรง (Direct method)

2. การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม (Indirect method)

(
𝜂𝑡 h = 1 −
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘 + 𝐿𝐶𝑂 + 𝐿𝑢𝑛𝑏𝑢𝑟𝑛𝑒𝑑 + 𝐿𝑟𝑎𝑑 + 𝐿𝑒𝑡𝑐 .
𝐻𝑉 + 𝐻𝐺
× 100 % )
ตัวแปร เชื้อเพลิงก๊าซ เชื้อเพลิงเหลวและแข็ง
HV คือ ค่า HHV หรือ LHV kJ/m3fuel kJ/kgfuel
HG คือ ความร้อนอื่นๆ ที่ป้ อนเข้าระบบ kJ/m3fuel kJ/kgfuel
3
การประหยัดพลังงานเมื่อประสิทธิภาพหม้อน้ำเพิ่มขึ้น
เป็นการเปรียบเทียบการใช้พลังงาน (เชื้อเพลิง) ของอุปกรณ์ก่อนปรับปรุง และ
หลังปรับปรุง โดยการคำนวณจะอ้างอิงที่การใช้ความร้อน (ภาระ) เท่ากัน

ตัวแปร ก่อนปรับปรุง หลังการปรับปรุง


ความร้อนใช้ประโยชน์ (kJ) Q
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ (kg-fuel) Gf1 Gf2
ความร้อนเข้า (kJ/kg-fuel) HV+HG HV+HG
ประสิทธิภาพเชิงความร้อน (%)

4
การประหยัดพลังงานเมื่อประสิทธิภาพหม้อน้ำเพิ่มขึ้น

ประสิทธิภาพเชิงความร้อน (%)

อัตราการประหยัดพลังงาน = อัตราการประหยัดเชื้อเพลิง = %saving


𝐺𝑓 1− 𝐺𝑓 2
% 𝑠𝑎𝑣𝑖𝑛𝑔=
𝐺𝑓 1
𝑄 𝑄
𝐺 𝑓 1= 𝐺 𝑓 2=
𝜂 1 ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 ) 𝜂 2 ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝑄 𝑄 1 1 𝜂 2 −𝜂 1
− −
𝜂 1 ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 ) 𝜂 2 ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 ) 𝜂1 𝜂2 𝜂 1 ∙ 𝜂2
% 𝑠𝑎𝑣𝑖𝑛𝑔= = =
𝑄 1 1
𝜂 1 ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 ) 𝜂2 𝜂1

𝜂 2 −𝜂 1
% 𝑠𝑎𝑣𝑖𝑛𝑔=𝑆𝐸= ×100 %
𝜂2
5
ไอน้ำ
ลำดับที่ ชื่อมาตรการ
1 มาตรการปรับแต่งการเผาไหม้ของหม้อน้ำ
2 มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยความร้อนจากก๊าซไอเสีย (Economizer)
3 มาตรการเพิ่มอุณหภูมิอากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้ (Air preheater)
4 มาตรการควบคุมความชื้นของเชื้อเพลิง
5 มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ (Insulation)
6 มาตรการลดการสูญเสียจากการโบล์วดาวน์
7 มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์กลับมาใช้ใหม่

6
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

(CO loss)
(อุณหภูมิก๊าซไอเสีย)

7
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ
ปรับอัตราส่วนผสมระหว่างอากาศและเชื้อเพลิงที่ใช้เผาไหม้ให้เหมาะสม

กรณีที่อากาศไม่เพียงพอต่อการเผาไหม้ จะทำให้การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ พลังงาน


ที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงไม่ได้ถูกนำมาใช้อย่างเต็มที่ ทำให้เกิดควันและมีเขม่าเกาะใน
หม้อน้ำ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้การถ่ายเทความร้อนในหม้อน้ำไม่ดี

หากมีการใช้อากาศมากเกินไป พลังงานส่วนหนึ่งจะถูกใช้ในการทำให้อากาศส่วน
เกิน (Excess air) ร้อนเกินไป แล้วถูกปล่อยทิ้งทางปล่องไอเสียโดยเปล่าประโยชน์

ปริมาณอากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ที่เหมาะสมสำหรับเชื้อเพลิงแต่ละประเภท
สังเกตได้จากปริมาณ O2 หรือ CO ในไอเสีย
8
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ
 การปรับแต่งการเผาไหม้ทำได้โดยการปรับลม (อากาศ) สำหรับ
การเผาไหม้ ซึ่งจะส่งผลต่อ
 O2
 CO ส่งผลต่อประสิทธิภาพ
 Tex หม้อน้ำ
 Unburned carbon

เครื่องมือตรวจวัดและวิเคราะห์ก๊าซไอเสีย
9
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

10
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ
น้ำป้ อน น้ำโบล์วดาวน์

• อุณหภูมิน้ำเติม 32 C
• อัตราการไหลน้ำป้ อน 23 m3/h
• ต้นทุนน้ำป้ อน 25 บาท/m3
• ฉนวนอยู่ในสภาพดี (อุณหภูมิผิวเฉลี่ยไม่เกิน 60 C)
• อุณหภูมิอากาศ 32.9C, %RH = 66%

11
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ
ผลการวิเคราะห์เชื้อเพลิง (ultimate analysis)
ความชื้น (Moisture) : 37.86
%

• อัตราการป้ อนเชื้อเพลิง
10.678 ton/h
• ราคาเชื้อเพลิง 450 บาท/ตัน
• ทำงาน 16 h/d, 352 d/y 12
1. มาตรการปรับแต่งการเผาไหม้ของหม้อน้ำ

13
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

14
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

15
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

16
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

17
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

18
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

19
ไหม้ของหม้อน้ำ
1

ลด %O2

Boiler

Chimney
กำจัดฝุ่ น

20
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ

21
1. มาตรการปรับแต่งการเผา
ไหม้ของหม้อน้ำ
ลด %O2 จาก 10.57% เหลือ 8%

22
2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
เนื่องจากในก๊าซไอเสียที่ปล่อยออกทางปล่อง ยังคงมีพลังงาน
ปริมาณมากหลงเหลืออยู่ (อุณหภูมิสูง)

ปัจจัยที่ส่งผลต่ออุณหภูมิไอเสีย ได้แก่
การออกแบบหม้อน้ำ
เชื้อเพลิง
การมีอุปกรณ์หมุนเวียนความร้อนกลับมาใช้ ติดตั้งไว้ใช้งาน
ตะกรันด้านไฟ หรือด้านน้ำ
โหลดของหม้อน้ำ

23
2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
o เครื่องอุ่นน้ำป้ อน (Feedwater Economizer) นำพลังงานจาก
ก๊าซไอเสียกลับมาที่น้ำป้ อนหม้อน้ำ ผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยน
ความร้อน
o ต้องระวังเรื่องของฝุ่ นที่จะไปเกาะอยู่ที่ท่อน้ำของ economizer
เพราะเมื่อก๊าซไอเสียแลกเปลี่ยนความร้อนแล้ว อาจเกิดการ
ควบแน่นของไอน้ำในไอเสียที่ผิวท่อ
o การออกแบบต้องคำนึงถึง pressure drop ที่เพิ่มขึ้นในระบบ
หม้อน้ำ ดังนั้น I.D. fan ต้องมีกำลังมากพอ

24
2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน1
ลด %O2
Economizer

ติดตั้ง Eco 2
Boiler

Chimney
กำจัดฝุ่ น

25
2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน

อุณหภูมิก๊าซไอเสียลดลง 85C อุณหภูมิน้ำป้ อนเพิ่มขึ้น 67C 26


2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
Economizer

ติดตั้ง Eco
Boiler

Chimney
กำจัดฝุ่ น

3-
27
2. มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน

อุณหภูมิก๊าซไอเสียลดลง 85C อุณหภูมิน้ำป้ อนเพิ่มขึ้น 80C 28


3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
o เครื่องอุ่นอากาศร้อน (Air-preheater) พลังงานจากก๊าซไอเสียนำกลับมาที่อากาศ
ที่ใช้ในการเผาไหม้
o ต้องระวังเรื่องของอุณหภูมิการเผาไหม้ที่สูงขึ้นเมื่อมีการอุ่นอากาศ
o ก่อนติดตั้งต้องตรวจสอบกำลังของ I.D. fan ว่าเพียงพอหรือไม่?
o ต้องเช็ค F.D. fan ว่ามีกำลังเพียงพอหรือไม่? เพราะว่าเมื่ออากาศร้อนขึ้น จะมี
ความหนืดเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย

29
ไอเสียร้อน
1

ลด %O2
Economizer

ติดตั้ง Eco 2
Boiler

Chimney
A/H

ติดตั้ง A/H 3

กำจัดฝุ่ น

30
3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
ใส่ Eco และ
ลด %O2

อุณหภูมิก๊าซไอเสียลดลง 78C อุณหภูมิอากาศเพิ่มขึ้น 116C 31


3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน

Economizer

ติดตั้ง Eco 1
Boiler

Chimney
A/H

ติดตั้ง A/H 2

กำจัดฝุ่ น

32
3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
ใส่ Eco แต่
ไม่ลด %O2

อุณหภูมิก๊าซไอเสียลดลง 78C อุณหภูมิอากาศเพิ่มขึ้น 111C 33


ไอเสียร้อน
1

ลด %O2

Boiler

Chimney
A/H

ติดตั้ง A/H 2

กำจัดฝุ่ น

34
3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
ไม่ใส่ Eco
แต่ลด %O2

อุณหภูมิก๊าซไอเสียลดลง 75C อุณหภูมิอากาศเพิ่มขึ้น 111C 35


3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน

Boiler

Chimney
A/H

ติดตั้ง A/H 1

กำจัดฝุ่ น

36
3. มาตรการอุ่นอากาศด้วยก๊าซ
ไอเสียร้อน
ไม่ใส่ Eco และ
ไม่ลด %O2

อุณหภูมิก๊าซไอเสียลดลง 82C อุณหภูมิอากาศเพิ่มขึ้น 117C 37


4. มาตรการลดความ นเ อ
เพลิง
จะมีผลกระทบอย่างมากในกรณีที่เป็นเชื้อเพลิงแข็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อเพลิงชีวมวล
เชื้อเพลิงก๊าซ และ เชื้อเพลิงเหลว มีผลน้อยมากจนสามารถละทิ้งได้
เชื้อเพลิงเปี ยก  ค่าความร้อนจะลดลง เนื่องจากมีน้ำไปแทนที่เชื้อเพลิงแห้ง
 ดังนั้นค่าความร้อนที่ได้ จะได้จากเนื้อเชื้อเพลิงแห้งเท่านั้น

𝐻𝐻𝑉 𝑤. 𝑏. =15,316 ×
( 100 − 37.86 )
=9,517
𝑘𝐽 ความชื้น (Moisture) : 37.86 %
100 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
( 100 −37.86 ) 𝑘𝐽 เปี ยก
𝐿𝐻𝑉 𝑤 . 𝑏. =14,083 × =8,751 แห้ง
100 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 แห้ง

38
4. มาตรการลดความ นเ อ
เพลิง
ความชื้น (Moisture) : 37.86 ความชื้น (Moisture) : 32.86
% =15 , 316 × ( 100 −10037 . 86 ) =9 ,517 𝑘𝑔𝑘𝐽
𝐻𝐻𝑉 𝑤. 𝑏.
𝑓𝑢𝑒𝑙
𝐻𝐻𝑉% =15 , 316 ×
𝑤. 𝑏.
( 100 − 32. 86 )
100
=10 , 283
𝑘𝐽
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙

( 100 − 37 . 86 ) 𝑘𝐽 ( 100 − 32. 86 ) 𝑘𝐽


𝐿𝐻𝑉 𝑤 . 𝑏. =14 , 083 × =8 ,751 𝐿𝐻𝑉 𝑤 . 𝑏. =14 , 083 × =9 , 455
100 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 100 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙

HHVd.b. kJ/kgfuel 15,316 HHVd.b. kJ/kgfuel 15,316


LHVd.b. kJ/kgfuel 14,083 LHVd.b. kJ/kgfuel 14,083
HHVw.b. kJ/kgfuel 9,517 HHVw.b. kJ/kgfuel 10,283
LHVw.b. kJ/kgfuel 8,751 LHVw.b. kJ/kgfuel 9,455

ามร้อนแบบเปียกไม่เท่ากัน แม้ว่าจะเป็ นเชื้อเพลิงชนิดเดียว

39
4. มาตรการลดความ นเ อ
เพลิง

พลังงานป้อนเท่าเดิม (ประสิทธิภาพหม้อน้ำเท่าเดิม)
40
5. มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ
ส่วนมากจะสังเกตจากอุณหภูมิผนังหม้อน้ำ โดยถ้ามีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐานความ
ปลอดภัย (สูงเกิน 60C) จึงจะนำมาคิดหามาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ
เพื่อความสะดวกในการประเมินการสูญเสียผ่านผนังหม้อน้ำ จะใช้โปรแกรม 3E plus
เข้ามาช่วยในการคำนวณ

41
5. มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ

แก้ไขไม่ได้ Lrad คงที่

42
5. มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ

 ภาพถ่ายทางความร้อน
 อุณหภูมิเฉลี่ยของผนังหม้อน้ำ
 พื้นที่หม้อน้ำ
 การคำนวณ 3E-Plus

เลือกความหนาฉนวนที่
เหมาะสมใน 3E-Plus จะ
ทำให้การสูญเสียความ
ร้อนลดลง
3-
43
43
5. มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ

44
6. มาตรการลดการสูญเสียจาก
การโบล์วดาวน์
𝐹
˙ 𝑏𝑑 =
𝑚 𝑄
โดยที่ (𝐵−𝐹 )
A = ปริมาณการโบลว์ดาวน์ [kg/h]
F = ค่าความนำไฟฟ้ า (conductivity) ของน้ำป้ อนหม้อน้ำ (feed water) [S/cm]
หรือค่าความเข้มข้นสารละลายของแข็ง (TDS) [ppm]
B = ค่าความนำไฟฟ้ าที่วัดได้จริงในหม้อน้ำ (Boiler water) [S/cm]
หรือระดับค่าความเข้มข้นสารละลายของแข็งที่วัดได้จริงในหม้อน้ำ
[ppm]
Q = อัตราการผลิตไอน้ำ [kg/h]
𝑚˙ 𝑏𝑑 × ( h𝑏𝑑 − h𝐹𝑊 )
𝐵𝑙𝑜𝑤𝑑𝑜𝑤𝑛 𝑙𝑜𝑠𝑠=𝐿𝑏𝑑= × 100 %
˙ 𝑓𝑢𝑒𝑙 × ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝑚
hbd = เอนทาลปี ของน้ำโบล์วดาวน์ (hf ที่ความดันไอน้ำ)
 ข้อควรระวัง คือ เวลาในการโบล์วดาวน์ โดยสูตรนี้จะอ้างอิงที่อัต 45
6. มาตรการลดการสูญเสียจาก
การโบล์วดาวน์
ความจุหม้อน้ำ 30 ตันต่อชั่วโมง (ใช้งาน 18.5 t/h, 20 barg, 282C)
ความถี่ในการโบล์วดาวน์ 1 ครั้ง/ชั่วโมง
TDS น้ำป้ อน 740 ppm (25C, ATC)
อุณหภูมิน้ำป้ อน 70C
TDS น้ำในหม้อน้ำ 2,480 ppm (25C, ATC)
ค่าพลังงานเชื้อเพลิง HHV 9,517 kJ/kg
ปริมาณการใช้เชื้อเพลิง 10,678 kg/h
ระยะเวลาการทำงาน 16 h/day (352 วันทำงานต่อปี )
คำถาม Blowdown loss มีค่าเท่าไหร่?
𝐹 740 𝑘𝑔 𝑘𝑔
˙ 𝑏𝑑 =
𝑚 𝑄= × 18,500 =7,868
(𝐵−𝐹 ) ( 2480 − 740 ) h h
𝑘𝑔 𝑘𝐽
7,868 × ( 920.137 − 293.02 )
h 𝑘𝑔
𝐿𝑏𝑑, 𝐻𝐻𝑉 = ×100 % =4.86 %
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 𝑘𝐽
10,678 × ( 9,517 +0 )
h 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙

46
6. มาตรการลดการสูญเสียจาก
การโบล์วดาวน์
มี 3 กรณี
1. ควบคุม TDS ของน้ำโบล์วดาวน์
2. ลด TDS ของน้ำป้ อน
3. ลด TDS ของน้ำป้ อน และ ควบคุม TDS น้ำโบล์วดาวน์

47
การโบล์วดาวน์
1. ควบคุม TDS ของน้ำโบล์วดาวน์

เพิ่มค่า TDS โดยการลด


เวลาในการโบล์วดาวน์
แต่ละครั้ง หรือเพิ่ม
ระยะเวลาการโบล์ว
ดาวน์ต่อครั้งให้นานขึ้น

48
6. มาตรการลดการสูญเ ยจาก
การโบล์วดาวน์
2. ลด TDS ของน้ำป้ อน
ปรับปรุงระบบบำบัด
น้ำป้ อน เพื่อลดค่า TDS
ของน้ำป้ อน

49
6. มาตรการลดการสูญเสียจาก
การโบล์วดาวน์
3. ลด TDS ของน้ำป้ อน และ
ควบคุม TDS น้ำโบล์วดาวน์
ปรับปรุงระบบบำบัด
น้ำป้ อน เพื่อลดค่า TDS
ของน้ำป้ อน และ
ควบคุมค่า TDS ของน้ำ
ในหม้อน้ำ

50
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่
• น้ำโบล์วดาวน์เป็นน้ำที่มีพลังงานสูง (ความดันสูงและอุณหภูมิสูง)
• ใช้หลักการประหยัดเหมือนกับ economizer
• ใช้น้ำโบล์วดาวน์มาอุ่นน้ำเติม (make up water)
𝑚˙ 𝑏𝑑 ,𝑖𝑛
Blowdown 𝑇 𝑏𝑑, 𝑖𝑛
Make up water
𝑚
˙ 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 Heat exchanger 𝑚˙ 𝑚𝑢 ,𝑜𝑢𝑡
𝑇 𝑚𝑢,𝑖𝑛 𝑇 𝑚𝑢, 𝑜𝑢𝑡
𝑇 𝑏𝑑, 𝑜𝑢𝑡
𝑚
˙ 𝑏𝑑 ,𝑜𝑢𝑡
51
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่

สมดุลพลังงาน
พลังงานเข้า =
𝑚 ,𝑖𝑛 𝑐 𝑝 𝑇 𝑏𝑑, 𝑖𝑛 + 𝑚
˙ 𝑏𝑑พลังงานออก ˙ 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 𝑐 𝑝 𝑇 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 =𝑚˙ 𝑏𝑑 ,𝑜𝑢𝑡 𝑐𝑝 𝑇 𝑏𝑑 ,𝑜𝑢𝑡 + 𝑚
˙ 𝑚𝑢, 𝑜𝑢𝑡 𝑐 𝑝 𝑇 𝑚𝑢, 𝑜𝑢𝑡
𝑚 ˙ 𝑏𝑑 ,𝑖𝑛 𝑇 𝑏𝑑, 𝑖𝑛 + 𝑚˙ 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 𝑇 𝑚𝑢,𝑖𝑛 =𝑚˙ 𝑏𝑑, 𝑜𝑢𝑡 𝑇 𝑏𝑑 ,𝑜𝑢𝑡 + 𝑚 ˙ 𝑚𝑢 ,𝑜𝑢𝑡 𝑇 𝑚𝑢, 𝑜𝑢𝑡
𝑚˙ 𝑚𝑢 ,𝑜𝑢𝑡 𝑇 𝑚𝑢, 𝑜𝑢𝑡 =𝑚 ˙ 𝑏𝑑 ,𝑖𝑛 𝑇 𝑏𝑑,𝑖𝑛 + 𝑚˙ 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 𝑇 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 − 𝑚˙ 𝑏𝑑, 𝑜𝑢𝑡 𝑇 𝑏𝑑, 𝑜𝑢𝑡
+

52
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่
3
𝑚 32℃
23
𝑘𝑔 h 𝑘𝑔
7 , 868 7 , 868
h h

2 15 ℃ 50℃
3
𝑚
23 𝑇 𝑚𝑢, 𝑜𝑢𝑡
h

53
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มา
ใช้ใหม่
3
𝑚 32℃
23
𝑘𝑔 h 𝑘𝑔
7 , 868 7 , 868
h h

2 15 ℃ 50℃
3
𝑚 8 8.69 C
23
h
พลังงานที่ประหยัดได้ = 𝐸𝑆=𝑚
˙ 𝑚𝑢 ,𝑜𝑢𝑡 𝑐 𝑝 ( 𝑇 𝑚𝑢 ,𝑜𝑢𝑡 − 𝑇 𝑚𝑢 ,𝑖𝑛 )
3
𝑚 𝑘𝑔 𝑘𝐽 ( 𝑘𝐽
𝐸𝑆=23 , 000 × 995 .06 3 × 4 . 184 88 . 69 −32 ) =5 , 428 ,235
h 𝑚 𝑘𝑔∙ 𝐾 h
𝑘𝐽 h
5 , 428 , 235 × 5 , 632
𝐸𝑆 h 𝑦 𝑘𝑔
คิดเป็นเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้¿ 𝐻𝐻𝑉
=
𝑘𝐽
=3 ,212 , 265
𝑦
9 ,517
𝑘𝑔
𝑘𝑔 𝐵𝑎h 𝑡 𝐵𝑎h𝑡
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ ¿3 ,212 , 265 × 0 . 45 =1 , 445 , 519
𝑦 𝑘𝑔 𝑦 54
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่
มี 4 กรณี
1. ควบคุม TDS ของน้ำโบล์วดาวน์
2. ลด TDS ของน้ำป้ อน
3. ลด TDS ของน้ำป้ อน และ ควบคุม TDS น้ำโบล์วดาวน์
4. ไม่มีการควบคุมการโบล์วดาวน์

55
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่
1. ควบคุม TDS ของน้ำโบล์วดาวน์

ถ้าจะให้เห็นผลที่
ชัดเจนการโบล์วดาวน์
ควรเป็นแบบต่อเนื่อง
(continuous
blowdown)

56
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่
2. ลด TDS ของน้ำป้ อน

ถ้าจะให้เห็นผลที่
ชัดเจนการโบล์วดาวน์
ควรเป็นแบบต่อเนื่อง
(continuous
blowdown)

57
7.มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์มาใช้ใหม่
3. ลด TDS ของน้ำป้ อน
และ ควบคุม TDS น้ำ
โบล์วดาวน์

ถ้าจะให้เห็นผลที่
ชัดเจนการโบล์วดาวน์
ควรเป็นแบบต่อเนื่อง
(continuous
blowdown)

4. ไม่มีการควบคุมการ
โบล์วดาวน์

58
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
ผลประหยัด % saving (คิดเทียบค่าใช้
ลำดับ ชื่อมาตรการ
(บาท/ปี ) จ่ายเชื้อเพลิงทั้งปี )
ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงทั้งปี 27,062,323 -
1 มาตรการปรับแต่งการเผาไหม้ของหม้อน้ำ 3,723,851 13.76%
2 มาตรการอุ่นน้ำป้ อนด้วยความร้อนจากก๊าซไอเสีย (Economizer)
2.1 ปรับแต่งการเผาไหม้ (ลด %O2) 1,342,396 4.96%
2.2 ไม่มีการปรับแต่งการเผาไหม้ (ไม่ลด %O2) 1,609,161 5.95%
3 มาตรการเพิ่มอุณหภูมิอากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้ (Air preheater)
3.1 ติดตั้งหลัง Economizer (ลด %O2) 1,353,873 5.00%
3.2 ติดตั้งหลัง Economizer (ไม่ลด %O2) 1,307,485 4.83%
3.3 ไม่ติดตั้ง Economizer (ลด %O2) 1,306,093 4.83%
3.2 ไม่ติดตั้ง Economizer (ไม่ลด %O2) 1,335,695 4.94%
4 มาตรการควบคุมความชื้นของเชื้อเพลิง 2,015,365 7.45%
5 มาตรการหุ้มฉนวนหม้อน้ำ (Insulation) 0 0.00%
59
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
ผลประหยัด % saving (คิดเทียบค่าใช้
ลำดับ ชื่อมาตรการ
(บาท/ปี ) จ่ายเชื้อเพลิงทั้งปี )
ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงทั้งปี 27,062,323 -
6 มาตรการลดการสูญเสียจากการโบล์วดาวน์
6.1 ควบคุม TDS น้ำในหม้อน้ำอย่างเดียว 302,318 1.12%
6.2 ควบคุม TDS น้ำป้ อนอย่างเดียว 967,566 3.58%
6.3 ควบคุม TDS น้ำป้ อนและน้ำในหม้อน้ำ 1,033,059 3.82%
7 มาตรการนำความร้อนจากการโบล์วดาวน์กลับมาใช้ใหม่
7.1 มีการลดปริมาณการโบล์วดาวน์ตามข้อ 6.1 890,337 3.29%
7.2 มีการลดปริมาณการโบล์วดาวน์ตามข้อ 6.2 304,836 1.13%
7.3 มีการลดปริมาณการโบล์วดาวน์ตามข้อ 6.3 247,194 0.91%
7.4 ไม่มีการลดปริมาณการโบล์วดาวน์ 1,156,415 4.27%

60
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
1

ลด %O2
Economizer
•ลดความชื้นเชื้อเพลิง
•ซ่อมฉนวน
ติดตั้ง Eco 2
Boiler

Chimney
•Feedwater control A/H
•Blowdown control
•Blowdown recovery
ติดตั้ง A/H 3

มาตรการที่ 1+2.1+3.1+4+5+6.3+7.3
กำจัดฝุ่ น

ผลประหยัด 9,715,738 บาท/ปี (35.90%)


61
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
Economizer
•ลดความชื้นเชื้อเพลิง
•ซ่อมฉนวน
ติดตั้ง Eco 1
Boiler

Chimney
•Blowdown control A/H
•Blowdown recovery

ติดตั้ง A/H 2

มาตรการที่ 2.2+3.2+4+5+6.1+7.1
กำจัดฝุ่ น

ผลประหยัด 6,124,667 บาท/ปี (22.63%)


62
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
Economizer

ติดตั้ง Eco 1
Boiler

Chimney
A/H

ติดตั้ง A/H 2

มาตรการที่ 2.2+3.2
กำจัดฝุ่ น

ผลประหยัด 2,916,646 บาท/ปี (10.78%)


63
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
Economizer
•ลดความชื้นเชื้อเพลิง
•ซ่อมฉนวน
ติดตั้ง Eco 1
Boiler

Chimney
•Blowdown control
•Blowdown recovery

มาตรการที่ 2.2+4+5+6.1+7.1
กำจัดฝุ่ น

ผลประหยัด 4,817,182 บาท/ปี (17.8%)


64
สรุปมาตรการประหยัดพลังงาน
ในระบบผลิตไอน้ำ
1

ลด %O2

Boiler

Chimney
•Blowdown recovery

มาตรการที่ 1+7.4
กำจัดฝุ่ น

ผลประหยัด 4,880,266 บาท/ปี (18.03%)


65
ขอบคุณครับ

You might also like