You are on page 1of 22

โครงการนำร่องขยายผลการเพิ่ม

ประสิทธิภาพหม้อน้ำโดยวิศวกร
ด้านหม้อน้ำหรือวิศวกรพลังงาน
ภายใต้เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
ปี งบประมาณ ๒๕๖๑
การประเมินศักยภาพของระบบส่งจ่ายไอ
น้ำ

1
หัวข้อการอบรม
 ระบบส่งจ่าย
 การสูญเสียในระบบส่งจ่าย
 ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียของระบบ
ส่งจ่าย
 การรั่วของไอน้ำ (Steam Leak)
 การประเมินการรั่วของไอน้ำ
 มาตรการลดการรั่วของไอน้ำ
 การสูญเสียความร้อนผ่านพื้นผิว (Surface Loss)
 การประเมินการสูญเสียความร้อนผ่านพื้นผิว
 มาตรการลดการสูญเสียความร้อนผ่านพื้นผิว
2
ระบบส่งจ่ายไอน้ำ

Credit: U.S. DOE 3


ระบบส่งจ่ายไอน้ำ
อุปกรณ์ในระบบส่งจ่ายไอน้ำ

4
การสูญเสียของระบบส่งจ่าย
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท

การรั่วของไอน้ำในระบบส่งจ่าย การสูญเสียความร้อนผ่านพื้นผิวท่อส่งจ่าย

5
ปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียของระบบส่งจ่าย
ไอน้ำ(ไอเปี ยกไหลเข้า
 ปั ญหาด้านคุณภาพไอน้ำ
กระบวนการ)
 ความดันไอน้ำลดลงที่ตำแหน่งใช้งาน
 ปริมาณไอน้ำไม่เพียงพอที่หัวจ่ายสำหรับผู้ที่ใช้
งานปลายทาง
วิธีการปฏิบัติที่ดีในส่วนของระบบส่งจ่ายไอน้ำ
 เกิด Water Hammer ที่หัวจ่าย
 หมั่นซ่อมแซมจุดรั่วไหลของไอน้ำ
 ปล่อยไอน้ำทิ้งให้น้อยที่สุด
 ให้มั่นใจว่าหุ้มฉนวน ท่อไอน้ำ วาล์ว ข้อต่อ และ
ถังต่างๆ เป็ นอย่างดี
 ลดการไหลผ่านสถานีลดความดันให้น้อยที่สุด
 ลดการสูญเสียความดันที่เฮดเดอร์
 หมั่นระบายคอนเดนเสทออกจากเฮดเดอร์จ่าย 6
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
วิธีการตรวจวัด
• ตรวจวัดด้วยตา
• ตรวจวัดด้วยกล้องถ่าย
ภาพความร้อน
ตำแหน่งที่มักเกิดการรั่ว
ของไอน้ำ
• หน้าแปลน
• จุดเชื่อมต่อปะเก็น
• อุปกรณ์วาล์ว ท่อ และข้อ
ต่อต่าง ๆ

7
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
วิธีที่ 1: สมการ Napier’s Choked
Flow
msteam  0.695  Aorifice  Psteam

msteam คือ อัตราการรั่วของไอน้ำ (kg/h)


Aorifice คือ พื้นที่หน้าตัดของรูรั่วที่คิดเป็ นพื้นที่รูป
วงกลมเทียบเท่า
P คือ (mm 2
)
ความดันสัมบูรณ์ของไอน้ำ
(Bara)
steam

*** สมการนี้เหมาะกับสภาพการไหลแบบ Choked flow


(ความดันด้าน low ต้องน้อยกว่า 0.51เท่าของความดัน
ด้าน high)
8
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการรั่วไหล และความดันสัมบูรณ์
ที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไฮ-ดรอลิค (เส้นผ่านศูนย์กลางออริ
ฟิ ส) ต่างกัน ตามสมการ Napier’s choke flow

9
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
ที่ 1: สมการ Napier’s Choked Flow
พบการรั่วไหลของไอน้ำ พบขนาดรู orificeประมาณ 2
มม. ที่ท่อส่งไอน้ำ มีความดันไอน้ำใช้งาน 7.5 barg และ
ประสิทธิภาพของหม้อน้ำมีค่าเท่ากับ 80% จงประเมินค่าใช้
จ่ายที่เกิดจากรอยรั่วนี้
 (ต้นทุนไอน้ำ
2  2 750 บาท/ตันไอน้ำ
Aorifice  (d orifice )  (2)  3.14 mm 2 และ
ทำงาน 7,200 ชม./ปี 4 ) 4
Psteam ,abs  Psteam , g  Patm  7.5  1.013  8.5 bara
สมการการไหล Choked flow
ของ Napierm  0.695  A  Psteam
steam orifice

𝑚 𝑠𝑡𝑒𝑎𝑚 =0 . 695 ×3 . 14 × 8 .5=18 . 55 𝑘𝑔 /h


Loss
10
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
วิธีที่ 2: การประเมินด้วยโปรแกรม TLV ToolBox
1 2 3 4

11
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
วิธีที่ 2: การประเมินด้วยโปรแกรม TLV ToolBox

12
การประเมินการรั่วของไอน้ำ
การประเมินหาผลประหยัด

13
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
เหตุใดจึงต้องหุ้มฉนวน?
 เพื่อความปลอดภัยของบุคลากรผู้ปฏิบัติ
งาน
 เพื่อลดการสูญเสียพลังงาน
 เพื่อรักษาสภาวะของไอน้ำให้อยู่ภายใต้
เงื่อนไขการใช้งานของอุปกรณ์ใช้ไอน้ำ
 เพื่อป้ องกันอุปกรณ์จากสภาวะแวดล้อม
 เพื่อรักษาความสมบูรณ์ของระบบ

14
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
ความบกพร่องที่ทำให้เกิดการสูญเสียผ่านผิวท่อ
 ฉนวนเสียหาย เนื่องจากขาดการบำรุงรักษา
 ฉนวนเสียหาย เนื่องจากเกิดอุบัติเหตุ
 ฉนวนเสียหายเนื่องจากเกิดการสึกกร่อนและฉีกขาดของ
ฉนวนตามอายุการใช้งาน
 อุปกรณ์ต่างๆ ขาดการหุ้มฉนวนเนื่องจากมีรูปร่างจำเพาะ
พื้นที่ ที่มักเกิดความบกพร่องของฉนวน
 ถังรวมไอน้ำ (Header)
 วาล์ว (Valve)
 อุปกรณ์ใช้ไอน้ำ (End-use)
 ถังบรรจุและภาชนะรับความดัน (Storage tank and
vessel)
 ท่อคอนเดนเสท 15
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
วจสอบการสูญเสียความร้อนจากท่อส่งจ่ายไอน้ำ

องมือที่ใช้ตรวจสอบ
ล้องถ่ายภาพความร้อน
ครื่องวัดอุณหภูมิอากาศ และความเร็วลม
16
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
การคำนวณโดยใช้โปรแกรม 3E Plus คู่กับโปรแกรม
คำนวณ Microsoft Excel

17
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
พบการสูญเสียความร้อนที่ท่อส่งจ่ายไอน้ำขนาด 3 นิ้ว
ยาว 6 เมตร ดังรูป อุณหภูมิผิวท่อวัดได้ 105 C ไม่มีลม
o

ภายในอาคารการผลิต และมีอุณหภูมิบรรยากาศ 35oC โดย


ประสิทธิภาพของหม้อน้ำมีค่าเท่ากับ 80% เมื่อต้นทุนเชื้อ
เพลิงมีค่า 4,000 Baht/Ton ชั่วโมงทำงาน 24 h/day 320
day/y

18
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
การคำนวณโดยใช้โปรแกรม 3E Plus คู่กับโปรแกรม
คำนวณ Microsoft Excel
1. ลักษณะการวางท่อ
1 2. รูปแบบการคำนวณ
2
4 3. อุณหภูมิที่วัดได้
3 5 4. อุณหภูมิบรรยากาศ
6
5. ขนาดท่อ (NPS)
7 6. ความเร็วลม
7. อุณหภูมิผิวที่ควบคุ
8 8. วัสดุท่อ
9 9. ประเภทฉนวน
1 10. เสื้อหุ้มฉนวน
0
19
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
การคำนวณโดยใช้โปรแกรม 3E Plus คู่กับโปรแกรมคำนวณ Microsoft Excel

1. ความหนาฉนวน
2. อุณหภูมิผิว
3. ความร้อนสูญเสีย

1 2 3
ก่อน
ปรับปรุง
หลัง
ปรับปรุง

20
การสูญเสียความร้อนผ่านผิวท่อส่งจ่าย
ไอน้ำ
การคำนวณโดยใช้โปรแกรม 3E Plus คู่กับโปรแกรม
คำนวณ Microsoft Excel

21
จบการบรรยาย
ขอบคุณครับ

22

You might also like