You are on page 1of 27

กรรมวิธีการเชื่อมอาร์คด้วยแท่งทังสเตนภายใต้แกสคลุม

GTAW : Gas Tungsten Arc Welding

TIG : Tungsten Inert Gas

เป็นกรรมวิธีการเชื่อมโลหะที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ.1935 และนำมาใช้ครั้งแรกใน


อุตสาหกรรมการบิน รวมไปถึงสมัยสงครามโลกครั้งที่2 โดยใช้เชื่อมจำพวก
แมกนีเซียม อลูมิเนียม และสเตนเลส ปัจจุบันการเชื่อมแบบนี้ใช้กันอย่างกว้างขวางใน
งานอุตสาหกรรมทั่วไป เชื่อมได้ทั้งโลหะประเภทเหล็ก และไม่ใช่เหล็ก
 กรรมวิธีเชื่อม
ความร้อนจากการอาร์ค ระหว่างแท่ง
ทังสเตนอิเลคโทรด กับชิ้นงานจะทำให้
โลหะหลอมละลายและจะมีแกสเฉื่อย
(Inert gas) ปกคลุมบริเวณนั้น เพื่อป้ องกัน
ออกซิเจน ไนโตรเจน และความชื้นใน
อากาศเข้ามารวมกับโลหะที่กำลัง
หลอมละลาย แต่เนื่องจากแท่งทังสเตน
อิเลคโทรดเป็ นวัสดุที่ไม่หลอมละลายหรือไม่
สิ้นเปลืองจึงจำเป็ นต้องเติมลวดเชื่อมลงใน
บ่อหลอม การเชื่อมทิกสามารถเชื่อมเหล็กที่
มีความหนาตั้งแต่ 0.79 - 4 มม.ได้
ข้อดีของการเชื่อมทิก
1.แนวเชื่อมสะอาดปราศจากแส
ลกปกคลุม
2.ไม่มีสะเก็ดโลหะ
3.ไม่มีควัน
4. สามารถมองเห็นบ่อ
หลอมละลายได้ชัดเจน
5.ไม่มีเสียงดังรบกวน
6.ใช้เชื่อมโลหะได้เกือบทุกชนิด อาทิ
เช่น เหล็ก สเตนเลส อลูมิเนียม
7.ใช้ในงานเชื่อมที่ต้องการคุณภาพสูง
เช่น เชื่อมแนวรูท (Root)
ข้อจำกัด
1.อัตราการเติมลวดช้าทำให้เชื่อม
ได้ช้า
2.ต้องใช้ทักษะในการเชื่อมสูง
VDO การเชื่อม
PROCESS GTAW
ส่วนประกอบของอุปกรณ์เชื่อม
1) เครื่องเชื่อม (Welding
Machine)
 แบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter)
เป็ นเครื่องเชื่อมที่ใช้วงจรอิเล็กทรอนิคในการควบคุม
โดยการเพิ่มค่าความถี่ของไฟเข้าด้าน Primary ของ
หม้อแปลงทำให้สามารถลดขนาดของหม้อแปลง
เหลือไม่ถึง 1/10 จึงทำให้มีน้ำหนักเบา
กระแสไฟที่ใช้จะเป็ นแบบกระแสตรง สามารถทำการ
เชื่อมได้ทั้ง
การเชื่อมอาร์คด้วยมือ (SMAW) การเชื่อมทิก
(GTAW)
ใช้กับไฟบ้าน 220 โวล์ท พกพาสะดวก ปรับแรงดันได้
ตั้งแต่ 5-150 แอมแปร์
2) หัวเชื่อม
(Torch)
ทำหน้าที่จับลวดทังสเตน และเป็ นที่ปล่อยแกส
Shield และเป็ นตัวนำกระแสไฟเพื่อใช้ในกา
รอาร์ค ควรมีความแข็งแรง และกระทัดรัด, น้ำ
หนักเบา และหุ้มด้วยฉนวนที่ดี หัวเชื่อมมีทั้ง
ชนิดหล่อเย็นด้วยน้ำ (Water cool) และหล่อ
เย็นด้วยอากาศ (Air cool)

Air cool Water


cool
Components of Torch

Cap
Nozzle Tungsten Collet Collet
Body
Switch

Torch body Gas hose

Water hose (in)

Water hose(out)
3)
Tungst
ทำหน้าที่สำหรับใช้ในการอาร์ค มีจุดหลอมละลาย
en F แท่งทังสเตนที่ใช้ มีทั้งชนิดทังสเตน
สูงถึง 6170
บริสุทธิ์ (Pure Tungsten) เหมาะสำหรับใช้งานเชื่อมอลู
มิเนียม และชนิด Thoriated 2% เหมาะสำหรับงาน
เชื่อมเหล็กต่างๆ และชนิด Zirconated เหมาะสำหรับ
เชื่อมเหล็ก และสแตนเลส ความแตกต่างดูได้จากสีปลาย
แท่ง
Pure Tungsten สีเขียว
2% Thoriated Tungsten สีแดง
Zirconated Tungsten สีน้ำตาล
Electrode shape
Electrode for AC power supply

Electrode shape for DC


power supply

ลักษณะของปลายลวดทังสเตนหลังการ
ใช้งานจะมีรูปร่างโค้งมนดังรูป A ถ้าเชื่อม
ด้วยกระแสไฟสูงเกินไปจะมีลักษณะดังรูป
B และ C
VDO
Tungsten Electrode Pre
paration
4. Filler
Metal

Filler metal ของ Process มี 2 แบบ คือ แบบเป็ น Rod สำหรับการ


เชื่อมด้วยมือ และแบบเป็ น Wire สำหรับการเชื่อมอัตโนมัติ

• การเลือกใช้ลวด จะต้องมีส่วนผสมทางเคมี
และคุณสมบัติทางกลที่เหมือน หรือใกล้เคียงกับ
Base Material มากที่สุด
Filler metal แบบ Rod จะมีขนาดตั้งแต่
0.8 – 3.2 mm. ความยาว 100 cm.
สำหรับป้อนด้วย Manual

แบบ Wire จะมีขนาดตั้งแต่ 0.8 – 1.2 mm. มี


น้ำหนักต่อม้วนตั้งแต่ 10-20 Kg. สำหรับการ
ป้อนลวดต่อเนื่องแบบใช้Mechanized
welding หรือแบบ Auto – welding
การอ่านค่าตามมาตรฐาน
AWS
E R XX S X
Chemical Composition

Solid wire

Tensile

Rod

Electrode
5. Shielding
Gas

หน้าที่ของ Shielding gas


-ป้องกันการเกิดออกซิเดชั่น, ทำให้การอาร์เสถียร, ช่วยไม่ให้เกิดจุดบกพร่องใน
แนวเชื่อม, มีผลต่อการหลอมละลายและการซึมลึก, ระบายความร้อนให้กับหัว
เชื่อม
ที่นำมาใช้ส่วนใหญ่จะมี 2 แบบ คือ อาร์กอน และฮีเลียม
Helium Gas
Argon Gas

Shape of
Shape of penetration penetration

ข้อดี อาร์สม่ำเสมอ, เริ่มต้นอาร์ ข้อดี แรงเคลื่อนอาร์กสูงเหมาะ


กง่าย, แรงเคลื่อนอาร์กต่ำให้ผล กับการเชื่อมโลหะหนา, คลุม
ดีกับงานเชื่อมโลหะบาง, เหมาะ บริเวณอาร์กท่า Vertical and
กับการเชื่อม Aluminum and Overhead ได้ดี, การหลอมลึก
Magnesium, ราคาถูก, หาซื้อ สูงเพราะให้ความร้อนมาก
ง่าย ข้อเสีย อาร์กเริ่มต้นยาก, คลุม
ชนิดของขั้วกระแสไฟฟ้ า กระแสไฟตรง

DC Electrode Positive
(DCEP)

2/3 ของความร้อนเกิด
+ ขึ้นที่อิเลคโทรด
อิเลคตรอน

- 1/3 ของความร้อนเกิด
ขึ้นที่ชิ้นงาน
• การซึมลึกตื้น
• เปลวอาร์คกว้าง
• ต้องใช้ทังสเตนขนาดใหญ่
ชนิดของขั้วกระแสไฟฟ้ า กระแสไฟตรง

DC Electrode Negative
(DCEN)
1/3 ของความร้อนเกิด
ขึ้นที่อิเลคโทรด
-
อิเลคตรอน

+ 2/3 ของความร้อนเกิด
ขึ้นที่ชิ้นงาน
• การซึมลึกดี
• เปลวอาร์ค
แคบ
ชนิดของขั้วกระแสไฟฟ้ า กระแสไฟสลับ

AC (ขั้วบวก 1/2 cycle) AC (ขั้วลบ 1/2 cycle)

2/3ความร้อน 1/3 ความร้อน


+ -
Electron Electron
Flow Flow

- 1/3 ความร้อน +
2/3ความร้อน
• ซึมลึกน้อย • ซึมลึกมาก
• การทำความสะอาดมาก • ไม่เกิดปฏิกริยาการทำความ
สะอาด

ขณะที่หัวเชื่อมเป็นบวกความร้อนจะเกิดที่ทังสเตนมาก ขณะที่หัวเชื่อมเป็นลบความร้อนจะเกิดที่ชิ้นงานมาก
และเกิดปฏิกริยาเปิ ดผิวออกไซด์ดังรูป ทำให้ชิ้นงานหลอมแต่ออกไซด์ที่ผิวยังอยู่
แกสปกคลุมไม่พอเพียง Defect Porosity
• แกสนอซเซิลรูเล็กลงเนื่องมีน้ำโลหะ
หลอมละลายแตกกระเด็นเข้าไปอุดรู
นอซเซิล
อากาศภายนอกไหลเวียนเข้าแทรก
ทำให้เกิดรูพรุนในแนวเชื่อม

• มุมทอร์ชเอียงมาก
อากาศภายนอกไหลเข้ารวมตัวกับแนว
เชื่อม เกิดรูพรุนในแนวเชื่อม

• ทอร์ชเชื่อมห่างจากแนวเชื่อมมาก
แก๊สปกป้ องไม่พอเพียง เกิดรูพุนใน
แนวเชื่อม
แกสปกคลุมไม่พอเพียง Defect Porosity
• กระแสลมภายนอกพัด
แกสปกป้ องไม่เพียงพอเกิดรูพรุนใน
แนวเชื่อม

• ปริมาณการไหลแกสปกคลุมต่ำ
แกสปกป้ องไม่เพียงพอ ทำให้เกิดรู
พรุนในแนวเชื่อม

• ปริมาณการไหลแกสปกป้ องสูงมาก
อากาศภายนอกไหลวนแทรกเข้า
แทนที่ ทำให้เกิดรูพรุนในแนวเชื่อม
การเกิดรูพรุนในแนวเชื่อม

• สิ่งสกปรก ,ไขมัน ,น้ำมัน ,วัสดุหรือสี


เคลือบ,ความชื้นที่เกิดขึ้นในบรรยากาศการ
เชื่อม

• การไหลวนของแกสปกป้ องดูดอากาศจาก
ภายนอกเข้าทางหัวนอซเซิลที่ชำรุด
การเกิดทังสเตนฝังใน ในการเชื่อมทิก

• ตำแหน่งที่ทังสเตนฝังในแนวเชื่อมมีผลเกิดเป็น
รอยบกพร่อง/ และสามารถทำให้เกิดการ
กัดกร่อน(corrosion)ขึ้นได้ถ้าทังสเตนฝังที่
ผิวหน้าหรือใกล้ผิวหน้าแนวเชื่อม

• ปลายลวดทังสเตน(Tungsten electrode) อาร์ค


สัมผัสกับบ่อหลอมละลาย

• ปลายลวดทังสเตนสัมผัสกับลวดเติม (Welding
rod)ขณะเกิดการอาร์ค
การเกิดทังสเตนฝังใน ในการเชื่อมทิก

 ทังสเตนรับกระแสไฟ
เชื่อมสูงเกินไป(แท่ง
ทังสเตนต่อขั้วลบ
DCSP หรือ DCEN)

 ทังสเตนรับกระแสไฟ
เชื่อมสูงเกินไป[ใช้
กระแสสลับ (AC)ใน
การเชื่อม]
ขอบคุณครับ

You might also like