You are on page 1of 24

Basic Safety Valve

นิยาม
• Maximum allowable working pressure(MAWP): ความดันสูงสุดที่ Pressure Vessel ลูกนั้นสามารถทนได้ ณ อุณหภูมิ Design Temperature ซึ่งคำนวณโดยใช้ความหนาของ Part ที่มี
ความแข็งแรงน้อยที่สุด ลบด้วย Corrosion Allowance

• Maximum operating pressure: ความดันสูงสุดที่ออกแบบไว้สำหรับการใช้งาน

• Set pressure: แรงกดที่ถูกตั้งค่าให้เปิ ดของ PRD

• Overpressure: แรงดันส่วนเกินของ vessel ในส่วนที่เกินมาจาก set pressure ของ PRD

• Back pressure: คือความดันที่ด้าน Outlet ของ Pressure Relief Valve (PRV) ซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานของ PRV โดย Backpressure จะประกอบด้วย Superimposed backpressure และ Built
up backpressure
• Built-up back pressure: เป็น Pressure ที่จะเกิดขึ้นเมื่อ Pressure Relief Valve (PRV) เปิ ดและมีการระบายความดันเกิดขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมี friction loss (Pressure drop) ในระบบระบาย
ความดัน
• Superimposed back pressure: เป็น Static pressure ที่ด้าน Outlet ของ Pressure Relief Valve (PRV) โดยที่จะมีทั้งแบบ Constant และ Variable

• Blowdown: % ความแตกต่างระหว่าง Closing Pressure (Reseating Pressure) กับ Set Pressure โดยทั่วไปแล้ว Blowdown จะถูก Set ให้อยู่ที่ 7% สำหรับ ASME Section VIII และ 4 – 6%
สำหรับ ASME Section I ซึ่งถ้าหาก Blowdown มีค่ามากเกินไป PRV ก็จะปิ ดช้าและทำให้สูญเสีย Process Fluid ในระบบเยอะ และถ้าหาก Blowdown มีค่าน้อยเกินไป PRV จะเกิดอาการ
Simmer เยอะ ซึ่งทำให้ Disc กับ Seat ของตัว Valve เสียหายได้

• Cold differential test pressure(CDTP): เป็นค่า Set Pressure ที่ถูกปรับมาเพื่อใช้สำหรับตอนทดสอบ PRV (Bench Testing) ทั้งนี้เพราะใน Condition การใช้งานจริงนั้น PRV อาจจะได้
รับผลกระทบจาก Backpressure และอุณหภูมิที่ใช้งาน ดังนั้นในตอนทดสอบซึ่งทำที่อุณหภูมิห้องและไม่มี Backpressure จึงจำเป็นต้องมีการปรับ Set Pressure เพื่อชดเชยปัจจัยเหล่านี้
Fired Pressure Vessel
Vessel ประเภทที่มีแหล่งกำเนิดความร้อน จากภายนอก (External heat source) เข้ามาเกี่ยวข้องในระบบ-ไม่ว่าจะเป็นแหล่งความร้อน
ประเภทใดก็ตามแต่ที่สามารถส่งผลให้เกิด overheating ได้ (ความร้อนจาก waste heat, ความร้อนจาก ไฟฟ้ า, ความร้อนจากแหล่งใดๆก็ได้
ทั้งทางตรง หรือทางอ้อม ที่สามารถเข้ามาเกี่ยวข้องกับระบบ คือ fired pressure vessel)
-Vessel ที่ถูกออกแบบ มาให้โดนความร้อน
-Vessel จำพวก waste heat/ gas steam (พวกที่มี waste heat)
-Hot oil ในส่วนของระบบที่มี waste heat/ gas steam เช่นเดียวกัน
-Thermal oil heater
-steam generator
Un Fired Pressure Vessel
Vessel ประเภทที่ no external heat source ( ไม่มีความร้อนจากภายนอกเข้ามายุ่งเกียว )
- Air tank, Air receiver tank, Tank NH3, Nitrogen tank
- ถัง Sterilizer
- LPG storage tank, ถัง sphere, รถขนส่งก๊าซ, ถังเก็บและจ่ายก๊าซ
- Natural gas storage tank/ ถัง NGV
- Pressure vessels/column ตามโรงปิ โตรฯ ต่างๆ
Code Requirements
Relieving pressure shall not exceed MAWP (accumulation) by more than:
– 10% for vessels equipped with a single pressure relief device
– 16% for vessels equipped with multiple pressure relief devices
– 21% for fire contingency
Pressure Relief Devices(PRD)
คือ อุปกรณ์ที่ช่วยระบายแรงดันที่เพิ่มขึ้นมากเกินกว่าค่าแรงดันที่ตั้งเอาไว้ที่อุปกรณ์โดยมีหน้าที่
1.ป้ องกันหม้อน้ำ อุปกรณ์ ระบบท่อ ภาชนะรับความดัน ถังน้ำมันและ อุปกรณ์ที่มีความดันอื่นๆ ไม่ให้เกิดความเสียหายในขณะใช้
งาน
2. ป้ องกันบุคคลไม่ให้ได้รับอันตรายจากการเสียหายของอุปกรณ์
3. ทําให้ระบบการผลิตมีการทํางานอยางต่อเนื่อง ไม่สะดุดจนเกิดการ Shut down

สาเหตุที่ทำให้ Pressure Relief Devices ทำงาน (Overpressure)


-BLOCKED DISCHARGE มีการปิ ดวาล์วทางออกของท่อ
-EXPOSURE TO EXTERNAL FLAMES มีการให้พลังงานความร้อนจํานวนมหาศาลในเวลาอันสั้น กับระบบ
-THERMAL EXPANSION มีการขยายความดันเนื่องจากการสะสมของความร้อนที่เพิ่มขึ้น
ประเภทของ Pressure Relief Devices
Pressure Relief Devices

Reclosing Type Vacuum Type Non reclosing Type


Reclosing Type

Safety valve Relief valve Safety relief valve Pilot-operated pressure


relief valve

Conventional safety relief


valve

Balanced safety relief valve


Vacuum Type Non Reclosing Type

Pressure and/or vacuum vent valve Rupture disk Fusible plug


Reclosing Type
Safety valve คือวาล์วนิรภัยที่ใช้สปริงในการควบคุมความดัน และจะเปิ ดระบายความดันอย่างรวดเร็วหรือที่
เรียกว่า pop action เหมาะสําหรับการใช้งานกับของไหลที่สามารถอัดตัวได้ (Compressible Fluid) เช่น ไอน้ำ
อากาศ ก๊าซเฉื่อย หลักการทํางานเมื่อความดันถึงที่ตั้งเอาไว้หน้าวาล์วจะเปิ ด ทําให้ของไหลระบายออกสู่
บรรยากาศหรือ ระบายออกเพื่อนำกลับไปจัดไว้ในระบบ

Relief valve คือวาล์วระบายความดันทีใช้สปริงในการ ควบคุมความดัน โดยปรกติจะเปิ ดเป็นสัดส่วนกับ


ความดันที่เพิมขึ้น เหมาะสําหรับการใช้งานกับของไหลทีไม่สามารถอัด ตัวได้ (Non Compressible Fluid) เช่น
น้ำ, น้ำมัน เป็นต้น
SAFETY RELIEF VALVE ใช้ระบายได้ทั้งของเหลวหรือแก๊สแล้วแต่จะเลือกใช้ เช่นตามโรงงาน chemical ส่วน
ใหญ่ ปรับให้เป็นได้ทั้ง pop หรือ non-pop action แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท

Conventional safety relief valve


วาล์วระบายแรงดันแบบใช้สปริงในการตั้งค่าแรงดัน วาล์วชนิดนี้เป็นชนิดที่เราพบเห็นได้บ่อยที่สุดในโรงงาน
อุตสาหกรรม โดยหลักการของมันก็คือใช้สปริงที่ติดตั้งอยู่ด้านบนเป็นตัวสร้างแรงต้านแรงดันของด้าน Inlet และ
หากเมื่อแรงดันของด้าน Inlet เกิดขึ้นสูงเกินกว่าที่แรงของสปริงจะรับไหว วาล์วก็ถูกเปิ ดขึ้นเพื่อป้ องกันไม่ให้
อุปกรณ์ของเราเกิดความเสียหาย

Balanced safety relief valve


จะมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับ Conventional spring loaded PRV เพียงแต่จะมี Bellow เพิ่มเข้ามาตรงบริเวณ Disc และ
Disc holder โดย Bellow มีไว้เพื่อช่วยลดแรงต้านที่เกิดขึ้นด้าน Outlet ของ PRV หรือที่เรียกว่า “Back pressure”
ทำให้ PRV ประเภทนี้เหมาะไปใช้ปกป้ องอุปกรณ์ที่มี Back pressure ที่สูง
Safety valve Relief valve
Pilot operated relief valve
PRV ที่มี PRV เสริมเล็กๆอีกตัวหนึ่งเป็นตัวควบคุมการเปิ ด-ปิ ดของ PRV หลักนั่นเอง โดย PRV ประเภทนี้จะนิยม
ใช้กับอุปกรณ์ที่ต้องการขนาดพื้นที่ระบายแรงดันสูง (Large relief area), ค่าแรงดันระบายสูง (High set pressure) และ
อุปกรณ์ที่ Operate pressure และ Set มีค่าใกล้เคียงกันมากๆ
Pilot-operated pressure relief valve
Vacuum Type

Pressure/Vacuum relief valve หรือที่เรียกสั้นๆว่า Breather valve วาล์วชนิดนี้คืออุปกรณ์ป้ องกันหากถังเก็บสารเคมีเกิดการ


Overpressure ขึ้นในถังก็จะระบายแรงดันออกไป หรือในกรณีที่ถังมีการโอนถ่ายสารเคมีออกไปและทำให้สภาพอากาศภายในถังเกิดเป็น
สุญญากาศหรือ Vacuum ก็จะดูดอากาศจากภายนอกเข้า
Non Reclosing Type
Rupture disk
คืออุปกรณ์นิรภัยทีเมือทํางานแล้วจะไม่สามารถนํากลับมา ใช้ได้อีก (non reclosing pressure relief device) โดยจะมี
รูปร่างหลากหลายแบบ เช่น แบบแผ่น เรียบ(flat) แบบโดม (dome) เป็นต้น จะใช้กับระบบทีมี ของไหลค่อนข้างไม่
สะอาด เช่น ระบบทีมีโพลิเมอร์ เป็นต้น

Fusible plug
จะทำงานเมื่อระดับน้ำต่ำจนเกือบถึงจุดอันตราย อสารที่อุดปลั๊กหลอมละลายมีจุดหลอมละลายต่ำจะหลอมละลาย
ทำให้ไอน้ำ หรือน้ำภายในหม้อไอน้ำไหลออกมาดับไป ปลั๊กหลอมละลายบางแบบจะติดตั้งไว้สำหรับพ่นไอน้ำออก
ไปภายนอกเพื่อลดความดัน หรือต่อเข้ากับนักหวีด เพื่อส่งสัญญาณเตือนผู้ควบคุมหม้อไอน้ำให้รีบหยุดไอน้ำ
1. แบบใส่ทางด้านในหรือด้านน้ำ (Inside Type)
2. แบบใส่ทางด้านนอกหรือด้านไฟ (Outside Type)
3. แบบทำหน้าที่เป็นฟิ วส์หลอมละลายจะมีสัญญาณ (Fuse Alarm)
Rupture disk Fusible plug
Pressure safety valve ที่มี Blowdown ring
การปรับตั้ง Blowdown ring ​

​กรณี Double blowdown ring Upper ring Lower ring

- ​หมุนขึ้น/ปรับขึ้น ส่​ งผลให้ blowdown ต่ำลง, ช่วยเรื่อง full lift/ ไม่ full lift เปิ ดสุด/ไม่สุด ลด simmer
- ​หมุนลง/ปรับลง Reaction force ที่มันกระทำจะเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งเป็นผลให้ blowdown เพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิด simmer

กรณี Single blowdown ring



- ​หมุนขึ้น/ปรับขึ้น ลด simmer แต่ blowdown จะเพิ่มขึ้น
- ​หมุนลง/ปรับลง blowdown จะลดลง/อาจทำให้เกิด simmer


หากทำการปรับตั้งค่า Blowdown ไม่เหมาะสมจะเกิดอาการอย่างไรบ้าง ?
1. Chatter อ่านว่า แชตเตอร์ คือ อาการที่ PSV เมื่อเปิ ดการทำงานแล้วกำลังจะปิ ด PSV ปิ ด แล้วปิ ดไม่สนิท หน้าสัมผัสของ Disc และ Seat ก็จะกระแทกกัน จะ
ส่งผลให้ capacity ในการทำงานลดลง ส่งผลไปยัง PSV ทำงานแบบเปิ ดไม่สุด
1.1. Flutter อ่านว่า ฟลัตเตอร์ เหมือนกับ chatter ทุกประการ แต่ disc จะไม่กระแทกกับ seat เท่านั้นเอง เราเรียกว่า flutter ส่งผลเหมือนกันครับ

2. Simmer อ่านว่า ซิมเมอร์ คืออาการ PSV กำลังจะเปิ ดแล้วหน้าสัมผัสมันไม่กระทบกัน มันก็จะมีเสียงของของไหล ไหลผ่าน disc กับ seat ส่งผลให้วาล์ว
ทำงานช้าลง หรือบางที่เราเรียกอาการ simmer ว่าวาล์วคราง เช่นกัน

3. long blowdown สิ่งที่ส่งผลหลักๆคือ ความร้อนที่สะสมจากการเปิ ดของวาล์วที่นานเกินไป จนเกิด overheat ขึ้นขณะที่วาล์วทำงาน เป็นผลให้ การทำงาน
เพี้ยนไปจากค่าที่ set ( steam ยิ่งแรงดันมาก Temp ยิ่งมากตาม, superheat )

โดยที่ค่า blowdown เราสามารถหาได้จาก

% blowdown = [(set P. – reseat P) x 100]/set P.


Seat Tightness of Pressure Relief Valves API STANDARD 527

The test medium for determining the seat tightness :


1. AIR (or Nitrogen)
2. STEAM
3. WATER
สาเหตุของการเสียหายของ Pressure Relieving Devices
Causes of improper performance
1. Corrosion ( การกัดกร่อนจากสนิม )
2. Damaged seating surfaces ( พื้นที่หน้าสัมผัสเสียหาย )
3. Failed springs ( การทำงานผิดปกติของสปริง )
4. Improper setting and adjustment ( การปรับตั้งค่าที่ไม่เหมาะสม )
5. Plugging and sticking ( การติดขัดของอุปกรณ์ภายใน )
6. Misapplication of materials ( การใช้วัสดุที่ไม่ถูกประเภท )
7. Improper location
8. Improper handling

You might also like