You are on page 1of 21

มรรยาทเล่มน้อย

1. จรรยา คือ ความประพฤติได้แก่ ความมีมรรยาทดี ความต้อนรับเชื่อ


เชิญ ความอดกลั้น และความเมตตากรุณา
2. มรรยาท คือ กิรย
ิ าวาจาที่ถือว่าสุภาพเรียบร้อย ซึ่งบางขณะต้อง
ประกอบด้วยการเสียสละ ความพอใจส่วนตัว เพื่อความพอใจให้ผ้อ่ ืน
3. ชาติไทยได้ช่ ือว่าเป็ นชาติท่ีมีมรรยาทงามที่สุดในโลก เพราะบรรพบุรุษ
ของเราได้วางแบบอย่างมรรยาทไว้อย่างเหมาะสม
4. แบบอย่างมรรยาทของชาติไทยเป็ นหลักการที่ไม่มีวันล้าสมัย จึงใช้ได้
ทุกโอกาส ทุกสมัย และทุกสถานที่
5. มรรยาทที่ถือว่างามสำาหรับสังคมที่ดีของไทยย่อมนำาไปใช้ในสังคมที่ดี
ของชาติอ่ ืนได้อย่างถ้กต้องและเหมาะสม
6. กุลบุตร คือ ล้กผ้้ชาย (ไม่ว่าจะเป็ นชาติใด) ที่ได้รบ
ั การศึกษาอบรม
แล้ว ย่อมเป็ นผ้้มีอัธยาศัยสุภาพและความประพฤติเรียบร้อย
7. กุลบุตรย่อมมีความเหนี่ ยวรั้นใจตนเอง และมีความละอายต่อบาป
8. กุลบุตรไม่มัว่ สุมกับสิ่งที่ไม่ดีงาม เช่น เป็ นนั กดื่ม และนั กพนั น
9. กุลสตรี คือ ล้กผ้้หญิง (ไม่ว่าจะเป็ นชาติใด) ที่ได้รบ
ั การศึกษาอบรม
แล้ว ย่อมเป็ นผ้้มีอัธยาศัยสุภาพ และมีความประพฤติเรียบร้อย
10. กุลสตรีย่อมมีความเหนี่ ยวรั้งใจตนเอง และมีความละอาย ไม่
ประพฤติการอันร้้อย่้แก่ในว่าไม่เหมาะสมที่สุภาพสตรีจะประพฤติ
11. กุลสตรีย่อมสำานึ กในความเป็ นสตรี และมีความสำารวม กาย วาจา
และใจอย่้เป็ นนิ ตย์ ไม่ส่งเสียง อื้ ออึง ไม่ทำาตนสนิ ทสนมหรือหยอก
เย้ากับบุรุษทั้งในที่ลับและที่เปิ ดเผย ไม่พ้ดจาหยาบคาย และไม่
ปล่อยใจให้ฟ้งุ ซ่าน
12. กุลสตรีไม่แต่งตัวและแต่งหน้ามากจนเกินไป
13. กุลบุตรและกุลสตรี เป็ นผ้้มีมรรยาทอันได้ขัดเคลาแล้วอย่าง
เรียบร้อย จึงเรียกสั้น ๆ ว่า เป็ นผ้้มีมรรยาท
14. ผ้้มีมรรยาท คือ ผ้ท
้ ่ีร้จัก “หัวนอนปลาย” ในร่างกายของเรา เรา
ถือว่าศีรษะเป็ นของส้ง และถือว่าเท้าเป็ นของตำ่า
15. ผ้้มีมรรยาทไม่ถ้กต้องศีรษะหรือบ่าผ้้ใด นอกจากผ้้น้ ั นจะเป็ นเด็ก
ยังไม่เดียงสา ซึ่งการจับต้องนั้ น ทำาไปเพื่อความเอ็นด้
16. ผ้้มีมรรยาทไม่ข้ามกรายหรือยืนคำ้าศีรษะผ้้ใด ไม่ว่าผ้้น้ ั นจะเป็ นคน
ส้งกว่าหรือตำ่ากว่าหรือมีฐานะเสมอกัน
17. ผ้้มีมรรยาทไม่รบ
ั ของหรือส่งของข้าม หรือเฉียดศีรษะผ้้ใด ไม่ว่าผ้้
นั้ นจะมีฐานะส้งตำ่าหรือยากจนเพียงใด
18. ผ้้มีมรรยาทถือว่าเท้าเป็ นของตำ่า ฉะนั้ นไม่ใช้เท้าชี้ส่ิงใด และไม่วาง
รองเท้าไว้ทางหัวนอน
19. ผ้้มีมรรยาทย่อมระมัดระวังในขณะที่จะลุก จะนั ่งจะยืนและ จะเดิน
มิให้กระทบกระทั้งผ้้ใด หรือของสิง่ ใด
20. ผ้้มีมรรยาทย่อมส่งของให้ผ้อ่ ืนโดยสุภาพไม่โยนไปหรือผลักไป
21. ผ้้มีมรรยาทย่อมมีกิรย
ิ าอันสำารวมอย่้เสมอ เฉพาะอย่างยิง่ ไม่นั่ง
ไขว่ห้างเฉพาะหน้าผ้้ใหญ่ ไม่เท้าสะเอวพ้ดกับผ้้ใหญ่ ไม่เอามือล้วง
กระเป๋ าเสื้ อหรือกางเกงขณะพ้ดกับผ้้ใหญ่
22. ผ้้มีมรรยาท ไม่ล่วงเกินผ้้ใด แม้ในสิ่งเล็กน้อย เช่น ไม่บุกบัน

เข้าไปใช้ส่ิงใด แม้เป็ นของสาธารณะในขณะที่ผ้อ่ ืนกำาลังใช้อย่้ ในการ
ใช้ของสาธารณะทุกอย่าง ผ้้มีมรรยาทย่อมช่วยกันรักษาให้สะอาดและ
เรียบร้อย
23. ผ้้มีมรรยาท ย่อมช่วยรักษาของทุกอย่างอันเป็ นสาธารณะให้สะอาด
และเรียบร้อย ไม่ทำาให้สกปรก รกเปื้ อน หรือเสียหาย ไม่ขีดเขียน
ตามกำาแพงผนั งหรือที่ใด ๆ เพราะการทำาเช่นนั้ นเป็ นการทำาลายของ
สาธารณะ
24. ผ้้มีมรรยาท ย่อมถือเป็ นหน้าที่ท่ีจะต้องระวังรักษาสมบัติของชาติ
ได้แก่ ศิลปะและโบราณวัตถุให้คงอย่้ถาวร เพื่อเป็ นมรดกของชาติ
ไทยสืบต่อไป ไม่ทำาลาย ไม่หยิบฉวย หรือขุดค้นเอาเป็ นสมบัติส่วน
ตนเป็ นอันขาด เมื่อพบเห็นผ้้ใดทำาลายหรือหยิบฉวยสมบัติของชาติ
ไป ต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบโดยเร็วที่สุด
25. ผ้้มีมรรยาทย่อมยืนและเดินด้วยท่าทางอันสุภาพเรียบร้อย ไม่ส่าย
ไหล่หรือแกว่งแขนจนเกินไป ไม่ส่งเสียงเอ็ดอึง ไม่หยอกล้อกันกลาง
ถนน ไม่เดินรับประทานและไม่ท้ ิงสิ่งที่ตนไม่ต้องการลงในที่สาธารณะ
26. เมื่อไปบ้านผ้้อ่ ืน ผ้้มีมรรยาทย่อมสัน
่ กระดิ่ง หรือเคาะประต้ให้
คนในบ้านทราบ ไม่ละลาบละล้วงเข้าไปในห้องก่อนได้รบ
ั เชิญ เมื่อจะ
เข้าห้องในบ้านเรือน หรือแม้ท่ีทำางานของผ้้ใด ก็เคาะประต้ให้เจ้าของ
ทราบก่อน
27. ผ้้มีมรรยาท ย่อมสำารวมกิรย
ิ าวาจายิ่งขึ้นเมื่อมิได้อย่้ในบ้านเรือน
ของตนเอง
28. เมื่อเข้าไปในบ้านผ้้ใด ผ้้มีมรรยาทย่อมไม่เที่ยวหยิบสิ่งของเขาด้
29. ผ้้มีมรรยาทไม่อ่านจดหมายผ้้ใด โดยไม่ได้รบ
ั อนุ ญาตจากเจ้าของ
30. ผ้้มีมรรยาทไม่พ้ดสอดหรือชิงพ้ด และเมื่อผ้้ใดพ้ดด้วยก็ตอบ ไม่
นิ่ งเฉยเสีย การพ้ดด้วยเสียงดังเกินไปเป็ นมรรยาทที่ไม่งาม
31. เมื่อผ้้ใหญ่พ้ดด้วยต้องหันมาฟั งและรับคำาก่อน ไม่หันหลักเดิน
ออกเสียเฉย ๆ เมื่อพ้ดกับผ้้ใหญ่ ควรนั ่งให้เรียบร้อย ถ้าในโอกาสที่
ควรยืน ก็ยืนโดยสำารวม แม้เมื่อยืนอย่้หรือนั ่งอย่้โดยลำาพัง ถ้าผ้้ใหญ่
ผ่านมาในระยะใกล้ชิด ก็ควรแสดงคารวะโดยยอบตัวลง
32. ผ้้มีมรรยาทไม่ตะโกนคำาที่หยาบคาย และไม่ใช้ภาษาที่หยาบคายใน
การสนทนา ไม่ว่าในกรณี ใด ๆ การกล่าวคำาหยาบต่อกันมิใช่เป็ นการ
แสดงความสนิ ทสนมแต่เป็ นการแสดงมรรยาทรามต่อกัน
33. ผ้้มีมรรยาทย่อมพ้ดจาด้วยถ้อยคำาและสำานวนอันเรียบร้อย และ
ออกสำาเนี ยงได้ชัดเจนถ้กต้องทุกถ้อยคำา การพ้ดด้วยสำานวนและ
สำาเนี ยงอันถ้กต้องแสดงให้เห็นความเป็ นผ้้มีการศึกษาดี
34. ผ้้มีมรรยาทไม่ล้วง แคะ แกะ เกา หรือหาวเรอต่อหน้าผ้้อ่ ืน แม้
จะไอหรือจามก็ต้องใช้ผ้าเช็ดหน้าปิ ดปาก
35. ผ้้มีมรรยาทไม่บ้วนนำ้าลาย หรือสัง่ นำ้าม้กลงบนถนนหรือที่สาธารณะ
ใด ๆ ถ้าจำาเป็ นต้องสัง่ นำ้าม้กหรือบ้วนคายสิ่งหนึ่ งสิ่งใด ให้สงั ่ หรือ
บ้วนคายใส่ผ้าเช็ดหน้าของตน
36. ผ้้มีมรรยาทไม่ด้ดมือแทนการล้างมือ
37. ผ้้มีมรรยาทไม่จ้องด้ผ้ใดโดยแพร่งพิศเหลือเกิน
38. ผ้้มีมรรยาทไม่นำาสิ่งที่น่ากระดากมาเล่าให้แขกฟั งและไม่กล่าวถึง
เรื่องร้ายในงานมงคล
39. ผ้้มีมรรยาทมีความเกรงใจผ้้อ่ ืนอย่้เป็ นนิ ตย์
40. ผ้้มีมรรยาทไม่ลืมที่จะส่งของซึ่งผ้้อ่ ืนได้สงเคราะห์ให้ตนยืม
41. ผ้้มีมรรยาทไม่ข่มเหง แต่ต้องช่วยเหลือผ้ท
้ ่ีอ่อนแอ เช่น เด็ก หรือ
ผ้้หญิง หรือคนชรา
42. ผ้้มีมรรยาทไม่หาประโยชน์ใส่ตนด้วยอาการที่ทำาให้ผ้อ่ ืนเดือดร้อน
43. ผ้้ฉวยโอกาสเอาเปรียบผ้้อ่ ืนไม่ว่าทางใดเป็ นผ้้ไม่มีมรรยาท
44. ผ้้มีมรรยาทย่อมมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็ นนิ ตย์ คือ สุจริตในการงาน
สจริตในการเล่น สุจริตในการเรียน สุจริตในการสอบไล่ และสุจริตใน
ความเป็ นอย่้ประจำาวัน
45. ผ้้มีมรรยาทย่อมตรงต่อเวลาเสมอ
46. ผ้้มีมรรยาท ย่อมแสดงความขอบคุณต่อผ้้แสดงความเมตตากรุณา
ตน ถ้าเป็ นผ้้เสมอกันก็กล่าวขอบใจหรือขอบคุณ ถ้าผ้้น้ ั นเป็ นผ้้ใหญ่
กว่า ควรยกมือไหว้และกล่าวว่าขอบพระคุณ แต่ถ้าผ้้น้ ั นเป็ นผ้้ทรง
อาวุโสส้ง ควรแดสงความสำานึ กในบุญคุณ โดยหมอบกราบลงเท่านั้ น
47. ผ้้มีมรรยาทย่อมแสดงความเคารพบิดามารดา คร้บาอาจารย์ และ
ผ้้ใหญ่โดยอ่อนน้อม
48. เมื่อพบผ้้ท่ีจะทักทายด้วย ผ้้มีมรรยาทยกมือไหว้โดยพนมมือ ให้
นิ้ วหัวแม่มือจรดจรม้กและก้มศรีษะลง ถ้าก้มศีรษะตำ่ามากเป็ นการ
แสดงความเคารพมาก ก้มศีรษะน้อยเป็ นการแสดงความเคารพน้อย
49. ผ้้ใหญ่จะพนมมือรับไหว้ผ้น้อย โดยตั้งศีรษะตรงและยกมือขึ้น
เพียงอก
50. ถ้าผ้้ทักทายมีฐานะเสมอกัน หรือมีอายุไร่เรีย
่ กัน ย่อมทักทายกัน
ด้วยกิรย
ิ าอาการอย่างเดียวกัน
51. ผ้้อ่อนอาวุโสไม่นั่งส้งกว่าผ้้ใหญ่ ต้องนั ่งโดยสำารวมและไม่หันเท้า
ไปทางผ้้ใหญ่ ถ้านั ่งเก้าอี้อย่้และผ้้ทรงอาวุโสผ่านมา ผ้้มีมรรยาทย่อม
ลุกขึ้นยืนแสดงคารวะ
52. ท่านั ่งที่เรียกว่าสำารวม คือ นั ่งตัวตรงและวางมือทั้งสองไว้บนตัก
ถ้านั ่งกับพื้ นต้องนั ่งพับเพียบและวางมือไว้บนตักทั้งสองข้างไม่ท้าว
แขน ท่ายืนที่เรียกว่าสำารวม คือ ยืนตัวตรง และปล่อยแขนทั้งแนบ
ไว้กับตัวหรือยืนประสานมือ
53. เมื่อเข้าพบผ้ใ้ หญ่ ในที่ๆ ใช้เก้าอี้ ผ้้มีมรรยาทย่อมรอให้ผ้ใหญ่บอก
นั ่งก่อนจึงนั ่ง ถ้าในโอกาสที่ควรยืนก็ยืนตัวตรง หรือยืนประสานมือ
ถ้าเข้าพบผ้้ใหญ่ท่ีนั่งอย่้กับพื้ น ผ้้มีมรรยาทย่อมนั ่งลงกับพื้ นทันที
54. เมื่อผ้้มีมรรยาทออกจากห้อง ซึ่งยังมีบุคคลอื่นอย่้ข้างใน ย่อมปิ ด
ประต้ด้วยความระมัดระวังมิให้เป็ นการกระแทก การปิ ดประต้รถก็เช่น
ดียวกัน
55. ในสังคมปั จจุบัน สุภาพสตรีได้รบ
ั การยกย่อมอย่างมาก กุลสตรีจึง
ควรประพฤติตนให้สมเกียรติท่ีได้รบ

56. ในสังคมปั จจุบัน สุภาพบุรุษย่อมเชิญสุภาพสตรีให้เดินหน้า ให้เข้า
ประต้ก่อน และให้ข้ ึนรถก่อนเสมอ ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึงองค์
พระมหากษัตริย์ ซึง่ ทรงเป็ นที่เคารพสักการะส้งสุด หรือการปฏิบัติ
ตามวินัย เช่น ศิษย์กับคร้ หรือ ผ้้อย่้ใต้บังคับบัญชากับผ้้บังคับบัญชา
57. ในสังคมปั จจุบัน สุภาพบุรุษย่อมลุกขึ้นยืน เมื่อสุภาพสตรีมาพ้ด
ด้วย และยังไม่นั่งจนกว่าสุภาพสตรีมาพ้ดด้วย สุภาพบุรุษย่อมยืนรับ
สุภาพสตรี แต่สุภาพสตรีไม่ยืนรับสุภาพบุรุษ เว้นไว้แต่เป็ นการปฏิบัติ
ตามวินัย
58. การรับประทานอาหารนั้ น ไม่ว่าจะเป็ นการรับประทานแบบไทย
หรือแบบฝรัง่ หรือแบบของชาติใดย่อมใช้มรรยาทเช่นเดียวกัน คือ
ต้องนั ่งโดยเรียบร้อยและใช้เครื่องใช้ในการรับประทานอาหารที่เป็ น
ส่วนของตน เช่น จาน ช้อนซ่อม มีด จานแบ่ง ผ้าเช็ดมือและถ้วยนำ้า
ต้องใช้ช้อนกลางตักอาหารที่เป็ นของกลาง ไม่ใช้เครื่องใช้ของตนเอง
ตักอาหารซึ่งเป็ นของกลางเป็ นอันขาด
59. เวลารับประทานอาหารต้องรับประทานโดยระมัดระวังไม่ทำาให้
เลอะเทอะม้มมาม และหุบปากเวลาเคี้ยวอาหารเพื่อระวังมิให้มีเสียง
ดัง
60. ผ้้มีมรรยาทไม่ใช้มือของตนแตะต้อง หรือหยิบอาหารที่ผอ
้ ่ ืนจะ
บริโภค หรืออาหารที่เป็ นของกลาง
61. ในการรับประทานอาหารร่วมกับผ้้อ่ ืน ต้องรอให้ผ้มีอาวุโสกว่านั ่ง
ก่อนจึงนั ่ง และให้ผ้มีอาวุโสเริม
่ รับประทานก่อนจึงรับประทาน
62. ถ้านั ่งเก้าอี้ ควรนั ่งตัวตรง ไม่ท้าวศอกบนโต๊ะอาหาร ถ้านั ่งกับพื้ น
ควรนั ่งพับเพียบเรียบร้อยและนั ่งตัวตรงไม่ท้าวแขน
63. ผ้าเช็ดมือ มีไว้สำาหรับเช็ดมือ เช็ดปาก และป้ องกันอาหารมิให้
เปื้ อนเสื้ อผ้า ก่อนรับประทานจึงควรคลี่ผ้าเช็ดมือป้ไว้บนตัก
64. ผ้้มีมรรยาทถือช้อนด้วยมือขวา และถือซ่อมด้วยมือซ้ายในเวลารับ
ประทานอาหาร ถ้ารับประทานที่ต้องใช้มีดกับซ่อม ก็ถือมีดด้วย
มือขวาถือซ่อมด้วยมือซ้าย ส่วนขนมปั งใช้บิรบ
ั ประทานด้วยมือ การ
ซดนำ้าแกงหรือนำ้าซุบ ผ้้มีมรรยาทย่อมซดจากข้างซ้อน
65. มีด มีไว้สำาหรับตัดอาหาร จึงจะนำาไปตักอาหารเข้าปากไม่ได้ไม่ว่า
กรณี ใด ๆ ผ้้ใดใช้มีดส่งอาหารเข้าปากผ้้น้ ั นเสียกิรย
ิ าอย่างมาก
66. ในการรับประทานนำ้าชาหรือกาแฟ ช้อนกาแฟ หรือช้อนชามีไว้
สำาหรับใช้คนกาแฟหรือนำ้าชาเท่านั้ น เมื่อคนเสร็จแล้วต้องวางไว้ใน
จานรองถ้วย จะนำาไปตักนำ้าชากาแฟซดไม่ได้ไม่ว่ากรณี ใด ๆ
67. การดื่มควรดื่มช้า ๆ ระวังไม่ด่ ืมให้ดัง ควรมีการเว้นระยะบ้าง ไม่
ดื่มรวดเดียวหมด ไม่ด่ ืมขณะที่ยังมีอาหารอย่้ในปาก และไม่ท้ ิงรอย
ปากไว้ท่ีถ้วย
68. ผ้้มีมรรยาทไม่พ้ดถึงสิ่งน่ารังเกียจ หรือว่าหวาดเสียวในขณะรับ
ประทานอาหาร และเมื่อรับประทานเสร็จแล้วควรนั ่งสนทนาอย่้อีกสัก
คร่้หนึ่ ง
69. ในการสนทนา ผ้้มีมรรยาทไม่โอ้อวดตนหรือสบหล่้ผ้อ่ ืน หรือไม่
สนทนาแต่เรื่องของตนฝ่ ายเดียว
70. เมื่อรับวาจาว่าจะทำาสิ่งใดแล้ว และมีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ซึง่ จะทำา
ไม่ได้ ผ้้มีมรรยาทย่อมแจ้งให้ผ้ท่ีขอให้ทำานั้ นทราบเหตุขัดข้องโดยเร็ว
ที่สุด
71. เมื่อมีหน้าที่อย่างไร หรือได้รบ
ั มอบหมายให้ทำาอะไร ผ้้มีมรรยาท
ย่อมทำาจนสุดความสามารถ
72. ผ้้มีมรรยาทย่อมพยายามปฏิบัติหน้าที่ท่ีได้รบ
ั มอบหมายอย่าง
เคร่งครัด แม้แต่หน้าที่ที่ต้องกระทำาร่วมกับคนหม่้มาก เช่น การยืน
เข้าแถวเพื่อเป็ นเกียรติยศแก่ผ้ใดก็ตาม ผ้้มีมรรยาทย่อมยืนรออย่้
อย่างสงบและเป็ นระเบียบเรียบร้อย ไม่ส่งเสียงอื้ อฉาว หรือหยอกล้อ
ผ้้ใดเป็ นอันขาด
73. การเปล่งเสียงไชโยนั้ น อาจจะกระทำาได้ในโอกาสที่ต้องการแสดง
ความจงรักภักดีต่อชาติ หรือต่อพระมหากษัตริย์ หรือเมื่อต้องการจะ
แสดงความยินดีหรืออำานวยพร แต่ควรมีการนั ดหมายในการเปล่ง
เสียงให้เป็ นไปโดยพร้อมเพรียง
74. การหมอบคลานเป็ นประเพณี ของไทย ผ้้มีมรรยาทจึงควรทราบว่า
จะปฏิบัติอย่างไร และควรเลือกใช้ให้เหมาะสมโอกาสและสถานที่
75. การแสดงความเคารพนั้ นกระทำาได้หลายวิธี ผ้้มีมรรยาทจึงควรจะ
ร้้จักวิธีแสดงความเคารพที่ถ้กต้อง
76. วิธีแสดงความเคารพผ้้มีอาวุโส เมื่อนั ่งกับพื้ นควรหมอบกราบ เมื่อ
ยืนหรือนั ่งเก้าอี้ควรพนมมือเคารพโดยน้อมตัวลงตำ่า และก้มศีรษะลง
จรดมือ
77. ผ้้น้อยเคารพผ้้ใหญ่ก่อน ผ้้อ่อนอาวุโสย่อมเคารพผ้้แก่อาวุโสกว่า
โดยวิธีพนมมือและน้อมศีรษะลงจรดมือ ผ้แ
้ ก่อาวุโสย่อมตอบการ
เคารพโดยวิธีพนมมือรับ
78. วิธีไหว้ไม่ควรกางศอก แต่ควรยกมือขึ้นพนม โดยศอกทั้งสองชิด
สีข้าง นิ้ วหัวแม่มือทั้งสองจรดปลายจม้ก หรือระหว่างคิ้ว แล้วแต่
ระดับความส้งตำ่าแห่งการเคารพ
79. การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ กระทำาโดยวิธีกราบ คือ นั ่งพับเพียบแล้วหมอบกราบแบมือ
หรือกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ คือ คุกเข่าลงทั้งอสองข้างแล้วก
ราบลง โดยฝ่ ามือทั้งสองข้างและศีรษะจรดพื้ น
80. การกราบบุคคลที่ไม่ใช่ภิกษุ ต้องกราบโดยตั้งมือทั้งสองประกบกัน
ไว้บนพื้ น และเมื่อก้มศีรษะลงจรดมือนั้ น ควรยกปลายมือขึ้นเล็ก
น้อย
81. การถวายความเคารพพระมหากษัตริย์ และพระมเหษี กระทำาโดย
กราบ คือ หมอบลงแล้วกราบ โดยตั้งมือทั้งสองข้างประกบกันไว้
หรือถวายบังคม คือ คุกเข่าลง วางตัวไว้บนซ่นเท้าทั้งสองข้าง พนม
มือไว้ใต้อกและยกขึ้นไปจรดหน้าผากแล้วยกลงมาและกลับขึ้นไปจน
ครบสามครั้ง (ในปั จจุบันการถวายบังคมเช่นนี้ ใช้แต่บางโอกาสและใช้
เฉพาะผ้้ชาย หรือผ้้ที่แต่งกายแบบละครรำา )
82. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่้หัวในรัชชกาลที่ ๕ ได้ทรงปรับปรุง
ประเพณี บางอย่าง เพื่อความเหมาะสมกาลสมัย วิธีถวายความเคารพ
พระมหากษัตริย์และพระมเหษี จึงมีอีกวิธีหนึ่ ง คือ การถวายคำานั บ
สำาหรับผ้้ชายยืนตัวตรงแล้วก้มศีรษะลงอย่างตำ่า สำาหรับผ้้หญิงยืนตัว
ตรงแล้วถอยเท้าข้าหนึ่ งไปข้างหลัง แล้วย่อเข่าข้างที่ถอยไปนั้ นจน
เกือบจรดพื้ น การถวายคำานั บของผ้้หญิงมีช่ ือเฉพาะเรียกว่า “ถอน
สายบัว” (การถอยเท้านี้ ควรจะถอยเท้าซ้าย แต่ถึงจะถอยเท้าขวาก็ไม่
ผิด)
83. เมื่อเสด็จพระราชดำาเนิ นผ่านมาในรถพระที่นั่งควรถวายความ
เคารพ โดยยืนตรงแล้วถวายคำานั บ ถ้าเสด็จพระราชดำาเนิ นมาโดย
พระบาท จะยืนตรงแล้วถวายคำานั บหรือจะนั ่งพับเพียบแล้วหมอบ
กราบลงกับพื้ นก็ได้ หลักสำาคัญที่ควรทราบคือ ถ้าจะยืนต้องถวาย
คำานั บ ถ้าไม่ถวายคำานั บให้นั่งลงหมอบกราบ การยืนไหว้ไม่เป็ นการ
ถวายความเคารพอันถ้กต้อง สำาหรับพระราชเกียรติยศ พระมหา
กษัตริย์และพระมเหษี
84. การแสดงความเคารพ โดยวิธีถอนสายบัวนั้ น ใช้เฉพาะแก่พระมหา
กษัตริย์ พระมเหษี พระบรมวงศ์ช้ ันพระราชโอรส ธิดา พระราชบิดา
มารดา พระราชภคินี และพระราชภาตาโดยตรงของพระมหากษัตริย์
การเคารพพระราชวงศ์ช้ ันรองลงมาและผ้้มีอาวุโสอื่น ๆ ในขณะที่ยืน
อย่้ควรยืนระวังตรงหรือพนมมือเคารพโดยน้อมตัวอย่างตำ่าและก้ม
ศีรษะลงจรดมือ
ประเพณี การถวายคำานั บสำาหรับสตรี โดยวิธีถอนสายบัวซึ่งภาษ
อังกฤษ เรียกว่า Curtsey นั้ น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยุ่หัวโปรดเกล้า ฯ ให้เปลี่ยนประเพฯการหมอบเฝ้ า เป็ นการยืน
เฝ้ าในงานพระราชพิธี ก็ได้ทรงนำาแบบของราชสำานั กยุโรปเข้ามาใช้
ธรรมเนี ยมอังกฤษใช้การ Curtsey เป็ นเครื่องหมายแสดงความเคารพ
สำาหรับผ้้นอ
้ ยต่อผ้้ใหญ่ ทำานองเดียวกับการไหว้ของไทยเรา ซึง่ มีวิธี
เคารพเป็ นชั้น ๆ เพราะผ้้น้อยจะบังอาจยื่นมือไปสัมผัสผ้้ใหญ่ก่อน
โดยวิธีจับมือ (Shake hand) ไม่ได้ บุตรหลานหญิงอาจคำานั บ
(Curtsey) บิดา มารดา หรือญาติผ้ใหญ่ก็ได้ โดยมิได้จำากัดว่า ต้อง
เป็ นพระราชวงศ์เท่านั้ น นั กเรียนหญิงในยุโรปที่รบ
ั ประกาศนี ยบัตร
จากคร้ใหญ่ก็ Curtsey คร้ใหญ่ โดยถอยเท้าและย่อตัวลงเพียงเล็ก
น้อย หลังและศีรษะตั้งตรง แต่ธรรมเนี ยมไทยเราสงวนการแสดง
ความเคารพแบบที่เรียกว่า “ถอนสายบัว” หรือ Curtsey นี้ ไว้ใช้
เฉพาะการเฝ้ าท้ลละอองธุลีพระบาท และเฝ้ าสมเด็จพระบรมราชวงศ์
เท่านั้ น
ในการถวายความเคารพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่้หัวและสมเด็จ
บรมราชินีนาถต้องก้มศีรษะลงด้วยอย่างที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า “drop
a Curtsey” คือ น้อมศีรษะลงช้าง ๆ ขณะที่เข่าแตะพื้ นและเงยศีรษะ
ขึ้นในขณะที่ยืดตัวตรง สำาหรับการถวายความเคารพสมเด็จพระบรม
ราชวงศ์น้ ั น ไม่ต้องก้มศีรษะ และการย่อเข่าไม่ต้องตำ่าเท่าการเฝ้ าท้ล
ละอองธุลพ
ี ระบาท ส่วนแขนทั้งสองข้างควรเหยียดโดยสำารวมไว้ชิด
กับตัว แต่ในกรณี ท่ีเข้าเฝ้ าท้ลละอองธุลพ
ี ระบาท เมื่อเวลาถวายคำานั บ
ควรประสานมือทั้งสองข้างไว้บนเข่าในขณะที่น้อมศีรษะลง
85. ผ้้มีมรรยาทไม่โบกมือกับผ้้ใหญ่เป็ นอันขาด ถ้าท่านผ้้ใหญ่
โบกด้วยผ้้มีมรรยาทย่อมแสดงความเคารพต่อท่านโดยควรแก่ฐานะ
ของท่าน เช่น น้อมตัวลงไหว้หรือก้มศีรษะคำานั บหรือถอนสายบัว
86. การเฝ้ าท้ลละอองธุลพ
ี ระบาท ในการรโหฐานที่มิได้นั่งเก้าอี้
เมื่อแลเห็นพระองค์ต้องหมอบกราบลงครั้งหนึ่ งแล้วคลานโดยมือทั้ง
สองจรดพื้ น เมื่อใกล้ท่ีประทับแล้วหมอบกราบถวายบังคมอีกครั้ง
หนึ่ ง และหมอบฟั งพระราชโองการหรือพระราชเสาวนี ย์ เมื่อรับพระ
ราชโองการหรือพระราชเสาวนี ย์แล้ว กราบถวายบังคมและคลานถอย
หลังออกมาจนห่างที่ประทับพอสมควร แล้วจึงกราบถวายบังคมอีก
ครั้งหนึ่ งแล้วคลานกลับหลังต่อไปได้
87. การเฝ้ าท้ลละอองธุลพ
ี ระบาท ในงานที่นั่งเก้าอี้หรือยืนเฝ้ า
พอแลเห็นพระองค์ต้องถวายคำานั บ ครั้งหนึ่ ง เมื่อทรง
พระราชดำาเนิ นผ่านมาต้องถวายคำานั บอีกครั้งหนึ่ ง และยืนตรงอย่้
ผ้้เฝ้ าท้ลละอองธุลพ
ี ระบาทจะนั ่งลงได้ต่อเมื่อเสด็จขึ้นประทับบนพระ
ราชอาสน์แล้ว ก่อนจะนั ่งทุกครั้งต้องถวายคำานั บ และก่อนจะลุกขึ้น
ย้ายที่ทุกครั้งต้องถวายคำานั บ เมื่อทรงลุกจากที่ประทับทุกครั้งผ้้ที่นั่ง
เฝ้ าท้ลละอองธุลีพระบาทอย่้ต้องลุกขึ้นยืนเป็ นการถวายความเคารพ
และต้องบ่ายหน้าไปทางที่ประทับทุกขณะ
88. ในการเฝ้ าท้ลละอองธุลพ
ี ระบาท ไม่ว่าจะเป็ นในที่รโหฐาน ซึ่ง
ใช้วิธีหมอบคลานและกราบถวายบังคม หรือในงานพิธีที่ใช้วิธีถวาย
คำานั บ เมื่อมีโอกาสเข้ารับพระราชทานของสิ่งหนึ่ ง สิ่งใดก็ตาม ต้อง
“เอางาน” เสียก่อนจึงจะรับได้ การ “เอางาน” คือ การยกมือขวา
ตั้งขึ้น และกระดกปลายมือขึ้นเล็กน้อย การจับต้องราช้ปโภคทุกครั้ง
ต้อง “เอางาน” เสียก่อน
89. ผ้้มีมรรยาทไม่บังอาจแตะต้องส่วนหนึ่ งส่วนใดแห่งพระองค์
พระมหากษัตริย์ พระมเหษีหรือพระราชวงศ์ผ้ใหญ่ โดยมิได้รบ

พระบรมราชานุ ญาตหรือพระอนุ ญาต
90. ของสำาหรับจะท้ลเกล้า ฯ ถวาย หรือถวาย หรือมอบแก่ผ้มี
อาวุโส ต้องใส่พานแล้วส่งถวายหรือส่งให้ท้ งั พาน ไม่ใช่ใส่พานมาแล้ว
หยิบจากพานออกส่งด้วยมือถวาย หรือให้แก่ผ้มีอาวุโสผ้้ทรงอาวุโส
เท่านั้ น จึงจะส่งของให้ผ้อ่อนอาวุโส โดยหยิบจากพานแล้วมอบให้กับ
มือ
91. เมื่ออย่้เฉพาะพระพักตร์พระมหากษัตริย์ไม่ต้องแสดงความ
เคารพผ้้อ่ ืน และไม่ควรกล่าวถ้อยคำาอันใดแก่ผ้ใดก่อนที่จะได้ขอ
พระบรมราชานุ ญาต
92. ในงานพระราชพิธี เมื่อพระภิกษุถวายอดิเรกและถวาย
พระพร ผ้้ท่เี ฝ้ าท้ลละอองธุลีพระบาทอย่้ไม่ต้องพนมมือรับ เพราะพร
นั้ นพระภิกษุถวายแด่พระมหากษัตริย์โดยเฉพาะแต่ผ้เฝ้ าท้ลละอองธุลี
พระบาทควรพนมมือรับศีลและฟั งธรรมโดยเสด็จ ฯ
93. การเฝ้ าท้ลละอองธุลพ
ี ระบาทในงานพระราชพิธีน้ ั นมี
ประเพณี การลำาดับอาวุโส เช่น พระราชวงศ์ผ้ใหญ่ประทับหน้าพระ
ราชวงศ์ผ้น้อยท้ตต่างประเทศที่ถวายพระราชสาส์นตราตั้งก่อนนั ่ง
หรือยืนหน้าท้ตที่ถวายพระราชสาส์นภายหลัง สำาหรับข้าราชการนั้ น
ถ้าอย่้ในตำาแหน่งเสมอกัน ผ้้ได้รบ
ั พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
์ ้งกว่า นั ่งหรือยืนหน้าผ้้ได้รบ
ที่มีศักดิส ั พระราชทานเครื่องราชอิสริยา
์ ำ่ากว่าในกรณี ท่ีได้รบ
กรณ์ท่ีมีศักดิต ์ ้ง
ั เครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีมีศักดิส
เสมอกัน ผ้้ได้รบ
ั พระราชทานก่อนย่อมนั ่งหรือยืนหน้าผ้้ได้รบ

พระราชทานภายหลัง
94. ข้าราชการสตรีมีสิทธิ และฐานะเท่าเทียมกับข้าราชการที่เป็ น
ชาย ตำาแหน่งเฝ้ าจึงลำาดับอาวุโสเช่นเดียวกับชายทุกประการ
ข้าราชการผ้้ใดยังมิได้รบ
ั พระราชทานเครื่องราชอิสริยากรณ์ผ้น้ ั นยัง
ไม่มีตำาแหน่งเฝ้ า เว้นแต่จะเป็ นเจ้าหน้าที่ส่วนสตรีที่เป็ นภริยา
ข้าราชการนั้ น เฉพาะผ้้ได้รบ
ั พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
จุลจอมเกล้าฝ่ ายในเท่านั้ น จึงจะมีตำาแหน่งเฝ้ าของตนเองเท่าเทียบ
กับสามี สตรีที่ได้รบ
ั พระราชทานตราจุลจอมเกล้ามีคำาขนานนามเป็ น
ประเพณี มาว่า “สตรีบรรดาศักดิ”์
95. ผ้้มีมรรยาทย่อมระมัดระวังในเรื่องการลำาดับอาวุโสเป็ นอย่าง
มาก เฉพาะอย่างยิ่งในงานที่เสด็จพระราชดำาเนิ นอย่างเป็ นทางการ
สำาหรับงานสังคมที่มีเจ้าภาพเชิญ เช่น งานศพหรืองานสมรส ผ้้มี
มรรยาทย่อมนั ่งตามที่ ๆ เจ้าของงานเชิญไปนั ่ง
96. เมื่อเป็ นเจ้าของงานผ้้มีมรรยาทย่อมใช้ความระมัดระวังที่จะ
จัดให้แขกนั ่งยังที่อันเหมาะสมแก่ฐานะ ในการจัดงานเพื่อเป็ นเกียรติ
แก่ผ้ใดต้องแนะนำาแขกอื่นให้ผ้ได้รบ
ั เกียรติน้ ั น ร้้จักด้วยว่าใครคือใคร
97. ในการออกบัตรเชิญ ผ้ม
้ ีมรรยาทย่อมเขียนนามผุ้รบ
ั เชิญให้
์ ย่างใดก็ต้องเขียนลงด้วย เช่น
ถ้กต้อง ผ้้ใดมียศหรือบรรดาศักดิอ
์ ้าราชการ
คำานำาพระนามพระราชวงศ์ หรือยศทหาร หรือบรรดาศักดิข
ส่วนคำาขึ้นต้นก่อนถึงนามนั้ นย่อมใช้อนุ โลมตามฐานะของท่านผ้้รบ

เชิญ และผ้้ออกบัตราเชิญ เช่น “ขอพระราชทาน
ท้ลเกล้า ฯ ถวาย” “ขอพระราชทานกราบบังคมท้ล” “ท้ลเกล้า ฯ
ถวาย” “ขอประทานกราบท้ล” “ถวาย” หรือ “กราบท้ล” หรือ
“ท้ล” ขอประทานกราบเรียน” “กราบเรียน” และ “เรียน”
เป็ นต้น
98. ถ้าผ้้เป็ นเจ้าของงานเป็ นชายและมิได้ระบุนามภริยาของตน
เป็ นเจ้าของงานร่วมด้วย การเชิญแขกจะเชิญเฉพาะผ้้ชายหรือจะเชิญ
ภริยาด้วยก็ได้ แต่ในกรณี ท่ีระบุนามภริยาเจ้าของงานเป็ นเจ้าของงาน
ร่วมด้วยผ้้มีมรรยาทย่อมไม่ละเลยที่จะเชิญแขกทั้งสามีและภริยา แต่
ถ้าเป็ นการเชิญโดยตำาแหน่งหน้าที่ ก็อาจเชิญแต่สามีหรือแต่ภริยาผ้้
เดียวได้
99. ผ้้มีมรรยาทย่มระบุนามบุรุษผ้้เป็ นแขกก่อนและเติมคำาว่า
“และภริยา” ลงภายหลัง ในกรณี ท่ีภริยาของบุรุษนั้ นมีบรรดาศักดิ์
์ ละนามสตรีผ้น้ ั นลงภายหลังนาม
ของตนเอง ก็ควรระบุบรรดาศักดิแ
ของสามี ผ้ม
้ ีมรรยาทไม่ออกนามสตรีผ้เป็ นแขกแล้วเติมคำาว่า “และ
สามี” ลงภายหลังนามสตรีผ้เป็ นภริยาเป็ นอันขาด ในกรณี ที่ไม่
สามารถทราบนามสามีของสตรีผ้เป็ นแขกได้ก็จำาเป็ นต้องเชิญเฉพาะ
สตรีผ้น้ ั นแต่ผ้เดียว
100. เมื่ออย่้ในที่ชุมนุ ม เพื่อฟั งการแสดงพระธรรมเทศนา ฟั งปาฐกถา
หรือแม้เมื่อด้การมหรสพ ผ้้มีมรรยาทย่อมสำารวมกิรย
ิ า และประหยัด
วาจาเป็ นอย่างมาก ทั้งระมัดระวังไม่ทำาให้เกิดเสียงใด ๆ ให้เป็ นที่
รบกวนสมาธิของผ้้อ่ ืน
101. ในการฟั งพระภิกษุแสดงพระธรรมเทศนาผ้้มีมรรยาทควรพนมมือ
และสำารวมใจ เพื่อให้ได้ซาบซึ้งในรสพระธรรม
102. ในการฟั งปาฐกถา หรือในการด้มหรสพ เมื่อถึงตอนที่ขบขัน ผ้้มี
มรรยาทอาจหัวเราะหรือปรบมือให้เกียรติแก่ผ้แสดงได้ตามจังหวะอัน
สมควร ผ้้มีมรรยาทไม่ฮาหรือตบมือโดยไม่มีเหตุผล
103. ในการด้กีฬา ผ้้มีมรรยาทควรปรบมือให้เกียรติแก่ผ้เล่น แม้ว่าจะ
เป็ นผ้้เล่นของฝ่ ายตรงกันข้ามผ้้มีมรรยาทไม่เยาะเย้ยเมื่อผ้้เล่นฝ่ าย
หนึ่ งฝ่ ายใดเพลี่ยงพลำ้า
104. การนั ่งห้อยเท้าควรนั ่งตัวตรงเขาชิดเข่าและเท้าชิดเท้า มือวางบน
ตักหรือวางข้าตัว ไม่โยกตัว ส่ายศีรษะ กระดิกขากระดิกเท้า
หรือแกว่งเท้า หรือป่ ายเท้าไปบนสิ่งใด ๆ เมื่ออย่้เฉพาะหน้าผ้้ใหญ่ไม่
ควรไขว่ห้างไม่ว่าในกรณี ใด ๆ เมื่อนั ่งเก้าอี้ แต่ผ้อ่ ืนนั ่งกับพื้ นอย่้ใกล้
ๆ ผ้้มีมรรยาทควรรวบเท้าขึ้นในท่าพับเพียบ
105. การนั ่งกับพื้ นเฉพาะหน้าผ้้ใหญ่ ควรนั ่งพับเพียบโดยสำารวมตัว
และเก็บเท้าให้เรียบร้อย วางสะโพกให้แน่นและวางมือไว้บนตัก หรือ
วางมือชิดกันบนตัก
106. การยืนควรยืนตัวตรง และปล่อยมือไว้ข้างตัว เมื่อผ้้ใหญ่พ้ดด้วย
ควรแสดงคารวะ โดยน้อมตัวลงเล็กน้อยและประสานมือ
107. เมื่อได้ยินเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมี หรือเสียงเพลงถวาย
ความเคารพ เช่น เสียงประโคมและเสียงเพลงมหาฤกษ์มหาชัย หรือ
เพลงแตรเดี่ยวถวายความเคารพของทหารหรือเพลงชาติ ให้ยืนระวัง
ตรงเมื่อสุดเสียงประโคมหรือเสียงเพลงแล้ว ควรน้อมศีรษะลง ถ้า
ขณะนั้ นแลเห็นพระองค์ด้วยก็ต้อง ถวายคำานั บ
108. การยืนตรง นอกจากพึงกระทำาเมื่อได้ยินเสียงเพลงแสดงความ
เคารพแล้ว ยังพึงกระทำาเมื่อเห็น ธงชาติข้ ึนลงเมื่อธงชัยเฉลิมพล
ผ่านมา เมื่อทหารเป่ าแตรนอนในงานศพ และเมื่อประธานจุดเพลิง
ศพ การยืนในกรณี ดังกล่าวไม่ต้องคำานั บ
109. ท่าเดินที่สุภาพ คือ เดินโดยสำารวมตัวตรงไม่ส่ายไหล่ส่ายศีรษะ ไม่
แกว่งแขนเกินปกติ ไม่เอามือไพล่หลังไม่เดินเหม่อ และไม่เดินจน
กระทบผ้อ
้ ่ ืน เมื่อเดินไปด้วยกันหลายคนไม่ควรเดินจนเต็มถนน แต่
ควรเปิ ดช่องทางไว้ให้ผ้อ่ ืนเดินผ่านไปมาได้โดยสะดวก
110. ถ้าจะเดินผ่านผ้้ใด ซึ่งนั ่งอย่้นอกอาคารในระยะใกล้ชิด ควรย่อตัว
คือ ก้มลงเล็กน้อยเป็ นการแสดงคารวะและไม่แกว่งมือ แกว่งเท้าไป
กรายผ้้น้ ั น ถ้าจะผ่านผ้้เป็ นผ้้ใหญ่ซ่ึงนั ่งอย่้กับพื้ นอาคารในระยะใกล้
ชิด ควรคลานไป
111. เมื่อเข้าไปในที่ชุมนุ มที่นั่งกับพื้ นควรคลานไป การคลานเข่า
เป็ นการแสดงคารวะแล้วก็จริงอย่้ กแต่การคลานโดยจรดมือทั้งสอง
ลงบนพื้ น เป็ นการแสดงความสำารวมยิ่งขึ้น การคลานในขณะที่มือทั้ง
สองข้างถือของอย่้ อาจใช้วิธีคลานยกของ คือ ลงเข่าข้างซ้ายก่อน
แล้วก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า แล้วเคลื่อนเข่าซ้ายเข้าชิดขวาโดยวางตัว
ลงบนซ่นเท้าซึ่งเขย่งอย่้ท้ งั สองข้าง แล้วลงเข่าซ้ายและก้าวเท้าขวา
อีก ทำาเช่นที่กล่าวมาต่อไปทีละก้าว ๆ การคลานโดยถือของในมือข้าง
หนึ่ งควรใช้วิธีคลานสามขา คือคล้ายกับคลานยกของ แต่ใช้มือซ้าย
แตะพื้ นทุก ๆ ก้าวที่คลานไป
112. ในการนั ่งกับพื้ นเมื่อมีโอกาสสนทนากับผ้้ทรงอาวุโสซึ่งนั ่งกับพื้ น
เช่นเดียวกัน ควรใช้วิธีหมอบพนมมือ หรือประสานมือ เมื่อเสร็จการ
สนทนาควรกราบลง และเมื่อจะเปลี่ยนจากการหมอบเป็ นคลาน ควร
คลานโดยศอกทั้งสอง ถอยหลังออกมาก่อน
113. การนั ่งในขณะสนทนากับท่านผ้้ทรงอาวุโสส้งควรนั ่งลงศอก คือ นั ่ง
พับเพียบวางศอกลงบนเข่าข้างเดียวหรือสองข้าง และประสานมือเข้า
ด้วยกันแม้ในขณะนั ่งเก้าอี้ก็ควรนั ่งลงศอกด้วย
114. เมื่อจะส่งของให้ผ้ใหญ่ ต้องส่งโดยอ่อนน้อม ถ้าเป็ นเจ้านาย หรือ
ผ้้ทรงอาวุโสส้ง เมื่อส่งแล้วควรหมอบกราบหรือไหว้ แล้วแต่กรณี
เมื่อส่งให้ผ้มีฐานะเสมอกัน ก็ต้องส่งให้ถึงมือ ไม่เสือกไสไปให้หรือ
โยนไปให้
115. การนั ่งหรือยืน ควรสังเกตว่าไม่ล้ ำาหน้าผ้้ใหญ่ ไม่หันหลังให้ผ้ใหญ่
ไม่นั่งเหยียดเท้าไปทางผ้้ใหญ่และไม่ถือวิสาสะใช้ส่ิงของที่เขาจัดไว้
สำาหรับผ้ใ้ หญ่โดยเฉพาะ
116. ไม่ล้อเลียนผ้้ใหญ่หรือผ้้ที่แก่กว่า เมื่อเห็นผ้้ใหญ่หรือสตรียืนใน
ท่ามกลางผ้้ท่ีกำาลังนั ่ง ควรลุกขึ้นให้ท่ีนั่ง หรือหาที่อ่ ืนให้นั่ง
117. เมื่อต้องการด้ส่ิงใดที่ผ้อ่ ืนกำาลังด้อย่้ ต้องด้โดยมิให้เป็ นการผ่าน
หน้า หรือบังตาผ้้น้ ั น
118. ก่อนจะทำาสิ่งใด เนื่ องด้วยร่างกายเป็ นของผ้้อ่ ืนควรขอโทษเสีย
ก่อน แม้จะเป็ นการกระทำาเพื่อประโยชน์ของเขาผ้้น้ ั นเอง เช่น ปั ดมด
ออกจากเสื้ อ
119. เมื่อเห็นสิ่งของผ้้ใดตก หรือจะเสื่อมเสีย ควรบอกให้เจ้าของทราบ
120. ผ้้มีมรรยาทไม่พ้ดจนชิดหน้าผ้้อ่ ืน และไม่กระซิบกระซาบกับผ้้ใด
ในขณะที่กำาลังนั ่งอย่้ด้วยกัน หลายคน
121. ผ้้มีมรรยาทย่อมแต่งกายให้เหมาะสมกับกาละเทศะ การแต่งกาย
พึงกระทำาให้สมแก่เกียรติของสถานที่และบุคคล เช่น ในงานพิธีหรือ
ในการส่งเสด็จ ฯ , รับเสด็จ ฯ ผ้้มีเครื่องแบบควรสมให้ครบเครื่อง
ส่วนผ้้ท่ีไม่มีเครื่องแบบก็ควรแต่งให้สะอาดและสภาพเรียบร้อย
122. ผ้้มีมรรยาทย่อมคำานึ งถึงเกียรติของชาติอย่้เป็ นนิ ตย์ การแต่งกาย
สะอาดเรียบร้อยอย่้เสมอย่อมเป็ นเกียรติแก่ชาติไทย
123. การแต่งหน้า เช่น ผัดหน้า ทาปาก หรือวาดคิ้ว เมื่อทำาเสร็จแล้ว
เป็ นสิ่งที่น่าด้ แต่การแต่งหน้าให้ผ้อ่ ืนเห็น ย่อมไม่น่าด้อย่างยิ่ง
124. สำาหรับผ้้ชาย เสื้ อเชิ้ท คือ เสื้ อชั้นใน เวลาใส่จึงต้องเก็บชายเสื้ อไว้
ภายใน การใส่เสื้ อแขนยาวแล้วพับขึ้นมาให้ส้ ันนั้ น เรียกว่า ถลกแขน
เป็ นการไม่สุภาพ
125. สำาหรับผ้ห
้ ญิง กางเกงเป็ นเครื่องแต่งกายที่ควรสวมกับบ้าน หรือ
อย่างมากก็ใช้ในขณะที่กำาลังตากอากาศเท่านั้ น
126. รองเท้าแตะไม่ว่าซ่นส้งหรือซ่นเตี้ย ควรถอดออกเมื่อเข้าไปใน
สถานที่ท่ีควรให้คารวะ ฉะนั้ น การสวมรองเท้าหุ้มซ่นจึงสะดวกกว่า
เพราะเป็ นการสุภาพ และอาจจะไม่ต้องถอดรองเท้าแตะ
127. การเข้าไปในป้ชนี ยถาน เช่น ในพระอุโบสถ ถ้าแต่งกายสุภาพตาม
ประเพณี นิยม เช่น สวมถุงเท้ารองเท้า ก็ไม่จำาเป็ นต้องถอดรองเท้า
แต่ถ้าไม่ได้สวมถุงเท้า จำาเป็ นต้องถอดรองเท้าเสียก่อนเข้าไป
128. สุภาพบุรุษย่อมถอดหมวก เมื่อเข้าไปในสถานที่ป้ชนี ยสถานของ
ทุกศาสนา เมื่ออย่้ในชายคาของอาคาร และเมื่ออย่้เฉพาะหน้าผ้้ใหญ่
หรือสุภาพสตรี การใส่แว่นตาดำาเพื่อกันแดดนั้ น ผ้้มีมรรยาทย่อมถอด
ออกเมื่อจะเข้าหาผ้้ใหญ่
129. ภาษาไทยมีถ้อยคำา ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกันอย่้มากมาย ซึ่งผ้้
มีมรรยาทสนใจที่จะใช้แต่คำาที่สุภาพ และใช้ให้ถ้กต้องเหมาะสมแก่
ฐานะของบุคคลทั้งภาษาพ้ดและภาษาเขียน
130. การพ้ดเพื่อกราบบังคมท้ล ซึ่งผ้้พ้ดเป็ นผ้้เริม
่ ขึ้นเอง ต้องขึ้นต้น
ด้วยคำาว่า “ขอเดชะ ฝ่ าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม”
เมื่อจบข้อความที่กราบบังคมท้ลแล้วต้องกล่าวลงท้ายด้วยคำาว่า “ด้วย
เกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ” สรรพนามแทนพระองค์ใช้ว่า “ใต้ฝ่า
ละอองธุลพ
ี ระบาท” สรรพนามแทนตัวผ้้พ้ดใช้ว่า “ข้าพระพุทธเจ้า”
ทงหญิงชาย สำาหรับผ้้ชายใช้คำารับสนองพระราชดำารัสว่า
“พระพุทธเจ้าข้าขอรับ รับใส่เกล้าใส่กระหม่อม” ถ้าในโอกาสที่
จำาเป็ นต้องย่อก็ใช้ว่า “พระพุทธเจ้าข้า” สำาหรับผ้้หญิงใช้คำารับว่า
“เพคะ เหนื อเกล้าเหนื อกระหม่อม”
131. การพ้ดเพื่อกราบท้ลเจ้านายชั้นพระเจ้าบรมวงศ์ สำาหรับผ้้ชายใช้
สรรพนามตนเองว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” ใช้สรรพนามพระบรมวงศ์น้ ั น
ๆ ว่า “ใต้ฝ่าพระบาท” ใช้คำารับว่า “พ่ะย่ะค่ะ” สำาหรับสตรีใช้
สรรพนามตนเองว่า “เกล้ากระหม่อม” หรือ “หม่อมฉัน” ใช้ คำารับว่า
“เพคะ”
132. การพ้ดเพื่อท้ลหม่อมเจ้า สำาหรับผ้้ชายใช้สรรพนามตนเองว่า
“กระหม่อม” ใช้สรรพนามหม่อมเจ้านั้ น ๆ ว่า “ท่าน” หรือ “ฝ่ า
บาท” ใช้คำารับว่า “กระหม่อม” สำาหรับผ้้หญิงใช้สรรพนามตนเองว่า
“หม่อมฉัน” ใช้คำารับว่า “เพคะ”
133. การใช้ราชาศัพท์พึงใช้ให้ถ้ก และไม่ใช้ราชาศัพท์ซ้อนคำาที่เป็ น
ราชาศัพท์อย่้แล้ว
134. การพ้ดกับผ้้มีอาวุโสส้งที่มิใช่พระราชวงศ์ใช้สรรพนามท่านผ้้อาวุโส
ส้งว่า “ใต้เท้า” สำาหรับผ้้ชายใช้สรรพนามตัวเองว่า “เกล้ากระผม” ใช้
คำารับว่า “ขอรับกระผม” สำาหรับผ้้หญิงใช้สรรพนามตัวเองว่า “ดิฉัน”
และใช้คำารับว่า “เจ้าค่ะ”
135. ในการเป็ นผ้้แจกของชำาร่วย เช่น ในงานศพ หรืองานแต่งงาน
เจ้าของงานย่อมจัดสิ่งของใส่พานไว้ ซึ่งผ้้มีหน้าที่แจกจะต้องแจกโดย
ส่งให้แขกทั้งพาน ไม่ใช่หยิบจากพานมาส่งให้ด้วยมือ
136. ในงานรื่นเริงทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่้หัวสมเด็จพระอัครมเหษี
หรือพระราชวงศ์ผ้ใหญ่ช้ ันพระเจ้าบรมวงศ์ เสด็จมาประทับเป็ น
ประธาน ผุ้ประกาศจะต้องถวายความเคารพโดยควรแก่พระเกียรติยศ
เช่น กราบถวายบังคม และกล่าวคำาขอพระบรมราชานุ ญาตหรือพระ
อนุ ญาตเสียก่อน จึงจะประกาศแก่ผ้อ่ ืนทัว่ ไปได้
137. การเข้ารับประกาศนี ยบัตรหรือรางวัลนั้ น ผ้้มีมรรยาทย่อมใช้
มรรยาทให้เหมาะสมแก่ฐานะของผ้้เป็ นประธาน ถ้าผ้้เป็ นประธานคือ
องค์พระมหากษัตริย์ พระมเหษี หรือพระราชบิดามารดา พระ
ราชโอรส ธิดา ของพระมหากษัตริย์ ผ้้รบ
ั พระราชทานย่อมยืนตรงแล้ว
ถวายคำานั บครั้งหนึ่ ง แล้วเดินไปใกล้ท่ีประทับประมาณครึง่ วา จึง
ถวายคำานั บอีกครั้งหนึ่ ง และคุกเข่าซ้ายลงตั้งเข่าขวาขึ้น “เอางาน”
ด้วยมือขวาแล้วรับพระราชทาน เมื่อได้รบ
ั พระราชทานแล้วยืนขึ้น
ถวายคำานั บแล้วเดินถอยหลังไปประมาณ ๑ วา จึงถวายคำานั บ
อีกครั้งหนึ่ ง (การคุกเข่าข้างหนึ่ งนี้ มีพระราชนิ ยมในรัชกาลที่ ๖ ให้
คุกเข่าขวาและ ตั้งเข่าซ้าย) สำาหรับพิธีซึ่งได้มีการตกลงกันว่าจะใช้
ประเพณี เดิมนั้ น ใช้วิธีคลานแทนเดิน และใช้วิธีหมอบกราบแทน
ถวายคำานั บ แล้วหมอบโดยลงศอกข้างซ้ายและเอื้ อมมือขวาขึ้น
“เอางาน” แทนการคุกเข่า “เอางาน” รับพระราชทานแล้ว หมอบ
กราบและคลานถอยหลังจนห่างที่ประทับพอสมควรจึงหมอบกราบอีก
ครั้งหนึ่ ง
ถ้าประธานเป็ นพระราชวงศ์ช้ ันรอง หรือเป็ นผุ้มีเกียรติที่มิใช่พระ
ราชวงศ์ ผ้้รบ
ั ที่เป็ นชายใช้วิธีคำานั บก่อนเข้ารับครั้งหนึ่ ง และภายหลัง
การเข้ารับอีกครั้งหนึ่ ง หรือจะใช้วิธียืนตรงแล้วน้อมศีรษะลงไหว้แทน
คำานั บก็ได้ สำาหรับผ้้รบ
ั ที่เป็ นสตรีใช้วีนั่งลงไหว้อย่างเรียบร้อย หรือ
น้อมตัวลงไหว้ หรือยืนไหว้แล้วแต่ฐานะส่วนบุคคลของผ้้เป็ นประธาน
ส่วนการ “เอางาน” นั้ น เป็ นวิธีแสดงคารวะ ซึ่งจำาเป็ น
ต้องแสดงก่อนรับของจากพระราชหัตถ์ หรือ พระหัตถ์พระบรมวงศ์ท่ี
ทรงพระเกียรติส้งยิ่ง เช่น สมเด็จพระราชบิดามารดา และสมเด็จพระ
ยุพราช
138. การนำาดอกไม้ธุปเทียนไปเคารพผ้้ใหญ่ภายหลังการสมรส หรือการ
ลาบวช ต้องจัดธ้ปเทียนแพกับกระทงดอกไม้สดใส่พานไปตั้งตรงหน้า
ผ้้ใหญ่แล้วเปิ ดกรวยที่ครอบกระทงดอกไม้ ถ้าเป็ นค่้สมรส ก็
เพียงแต่หมอบกราบลงพร้อมกัน ถ้าเป็ นผ้้ลาบวชจึงประคองพาน
ดอกไม้ธ้ปเทียนส่งถึงมือผ้้รบ
ั ลา เว้นแต่เป็ นการกราบถวายบังคม
ลา
139. ผ้้มีมรรยาทย่อมไม่ฝ่าฝื นข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ ของส่วน
รวม ทั้งคำานึ งถึงประโยชน์ของส่วนรวมอย่้เป็ นนิ ตย์ ไม่ฉวยโอกาสที่
เปิ ดให้กระทำากิจใด ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนตนเลย
140. ผ้้มีมรรยาทเป็ นผ้้ร้หน้าที่ จึงเป็ นได้ดีท้ ังผ้้สัง่ งานและผ้้ปฏิบัติงาน
ตามคำาสัง่ ของผ้้อ่ ืน

***********************************

หมายเหตุ เอกสารอ้างอิง “หนั งสือมรรยาทเล่มน้อย”

You might also like