You are on page 1of 9

แสงคืออะไร

แสงคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic wave) ประเภทหนึ่ ง ซึง่ อย่่


ในช่วงความยาวคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็น หรือบางครั้งอาจรวมถึง
การแผ่รงั สีแม่เหล็กไฟฟ้ าในช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่รง
ั สีอินฟราเรด
(Infrared) ถึงรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) ด้วย

ความถี่ของคลื่นแสงที่แตกต่างกันนั้นขึ้นอย่่กับความเร็วในการสั่นสะเทือน
ถ้าหากคลื่นแสงยิ่งมีความสั่นสะเทือนมากก็จะยิ่งมีความถี่มากแต่
ความยาวคลื่นก็จะยิ่งน้อย โดยแสงที่เรามองเห็นได้น้ันเป็ น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่ในระดับที่ดวงตาของมนุษย์สามารถมองเห็น
ได้ ซึง
่ ปกติแล้วแสงจะเคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยความเร็ว 299,792,458
เมตรต่อวินาที

จำำแนกวัตถุตำมกำรส่องผ่ำนของแสงได้ดังนี้
• วัตถุโปร่งใส คือวัตถุท่ียอมให้แสงส่องทะลุผ่านได้โดยง่าย
• วัตถุโปร่งแสง คือวัตถุท่ียอมให้แสงผ่านไปได้เพียงบางส่วน
• วัตถุทึบแสง คือวัตถุท่ีไม่ยอมให้แสงผ่านไปได้เลย
สมบัติพ้ ืนฐำนของแสงได้แก่
• ความเข้ม (ความสว่างหรือแอมพลิจ่ด) ซึ่งปรากฏแก่สายตามนุษย์ใน
ร่ปความสว่างของแสง
• ความถี่ (หรือความยาวคลื่น) ซึง
่ ปรากฏแก่สายตามนุษย์ในร่ปสีของ
แสง
• โพลาไรเซชัน (มุมการสั่นของคลื่น) ซึ่งโดยปกติมนุษย์ไม่สามารถรับร้่
ได้

แสงคืออะไร?

ก่อนที่เราจะเรียนร้่เรื่องการจัดแสง เราจะมาทำาความร้่จักกันสักหน่ อยว่า


แสงนั้นคืออะไรกันแน่ ?

ถ้าจะอธิบายกันตามนิ ยามที่มีผ้่คนมากมายได้ให้ไว้ แสง นั้นก็คือพลังงาน


ประเภทหนึ่ งที่เรียกกันว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่งจะมีโฟตอนเคลื่อนที่ไปและ
ผลิตคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าออกมารอบ ๆ ตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโฟตอน
โฟตอนที่มีพลังงานมากก็จะผลิตคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มค
ี วามถี่ส่ง นั่นคือจะมี
ความสามารถในการทะลุทะลวงได้ดีกว่าโฟตอนที่มีพลังงานตำ่า

คร่าวคร่าว..

คลื่นวิทยุ ความถี่ช่วง 104 - 109 Hz


ไมโครเวฟ ความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz
รังสีอินฟาเรด ความถี่ช่วง 1011 - 1014 Hz
แสง ความถี่ช่วง 1014 Hz
Ultraviolet ความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz
รังสีเอ็กซ์ ความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz

และอย่างที่เราทราบกันดีคือ ถ้าเราแยกแสงด้วยปริซึมก็จะได้แถบสีรุ้ง ซึ่ง


ถ้าแบ่งออกเป็ นกลุ่มหลัก ๆ ก็จะได้ 3 กลุ่มหลัก นั่นคือ แดง เขียว นำ้าเงิน
(Red, Green Blue, RGB) น่ันเอง และแสงสีน้ ำาเงินก็จะมีพลังงานมากที่สุด
มีความถี่ส่งที่สุด ความสามารถในการทะลุทะลวงส่งที่สุด ทำาให้เราเห็นแสง
สีน้ ำาเงินเป็ นแสงสีสุดท้ายเวลาเราดำาลงไปใต้น้ ำาลึก ๆ

แสง
จากวิกพ
ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี

แสง คือการแผ่รงั สีแม่เหล็กไฟฟ้ าในช่วงความยาวคลื่นทีส


่ ายตามนุ ษย์มอง
เห็น หรือบางครั้งอาจรวมถึงการแผ่รงั สีแม่เหล็กไฟฟ้ าในช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่
รังสีอินฟราเรดถึงรังสีอัลตราไวโอเลตด้วย สมบัติพื้นฐานของแสง (และของ
การแผ่รงั สีแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกช่วงคลื่น ) ได้แก่
 ความเข้ม (ความสว่างหรือแอมพลิจ่ด ซึง
่ ปรากฏแก่สายตามนุษย์ในร่ป
ความสว่างของแสง)
 ความถี่ (หรือความยาวคลื่น ซึ่งปรากฏแก่สายตามนุษย์ในร่ปสีของแสง)
และ
 โพลาไรเซชัน (มุมการสั่นของคลื่น ซึง
่ โดยปกติมนุษย์ไม่สามารถรับร้่ได้)
แสงจะแสดงคุณสมบัติท้ ังของคลื่นและของอนุ ภาคในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้
เนื่ องจากทวิภาวะของคลื่นและอนุ ภาค ธรรมชาติท่ีแท้จริงของแสงเป็ นปั ญหาหลัก
ปั ญหาหนึ่ งของฟิ สิกส์สมัยใหม่

แสงมีคุณสมบัติทวิภาวะ กล่าวคือ
1. แสงเป็ นคลื่น : แสงเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยที่ระนาบการสั่นของ
สนามแม่เหล็กตั้งฉากกับระนาบการสั่นของสนามไฟฟ้ า และตั้งฉาก
กับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น และแสงก็มก ี ารเลี้ยวเบนด้วย ซึ่ง
การเลี้ยวเบนก็แสดงคุณสมบัติของคลื่น
2. แสงเป็ นอนุภาค : แสงเป็ นก้อนพลังงานมีค่า
พลังงาน E = hf โดยที่ h คือค่าคงตัวของพลังค์ และ f คือความถี่ของ
แสง เรียกอนุภาคแสงว่าโฟตอน
[แก้]รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มองเห็นได้

แสงคือรังสีแม่เหล็กไฟฟ้ าที่อย่่ในช่วง สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ที่


สามารถมองเห็นได้ คือ อย่่ในย่านความถี่ 380 THz (3.8×1014 เฮิรตซ์) ถึง
750 THz (7.5×1014 เฮิรตซ์) จากความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็ว (v) ความถี่
(f หรือ ν) และ ความยาวคลื่น (λ) ของแสง:

และ ความเร็วของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่ ดังนั้ นเราจึงสามารถ


แยกแยะแสงโดยใช้ตามความยาวคลื่นได้ โดยแสงที่เรามองเห็นได้ข้างต้นนั้ น
จะมีความยาวคลื่นอย่่ในช่วง 400 นาโนเมตร (ย่อ 'nm') และ 800 nm (ใน
สุญญากาศ)

การมองเห็นของมนุ ษย์น้ ั นเกิดจากการที่แสง ไปกระตุ้น เซลล์ร่ปแท่งใน


จอตา(rod cell) และ เซลล์ร่ปกรวยในจอตา (cone cell) ทีจ
่ อตา (retina)
ให้ทำาการสร้างคลื่นไฟฟ้ าบนเส้นประสาท และส่งผ่านเส้นประสาทตาไปยัง
สมอง ทำาให้เกิดการรับร้่มองเห็น

[แก้]ความเร็วของแสง

บทความหลัก: อัตราเร็วของแสง
นั กฟิ สิกส์หลายคนได้พยายามทำาการวัดความเร็วของแสง การวัด
แรกสุดที่มีความแม่นยำานั้ นเป็ นการวัดของ นั กฟิ สิกส์ชาวเดนมาร์ก Ole
Rømer ในปี ค.ศ. 1676 เขาได้ทำาการคำานวณจากการสังเกตการ
เคลื่อนที่ของดาวพฤหัสบดี และ ดวงจันทร์ไอโอ ของดาวพฤหัสบดี โดย
ใช้กล้องด่ดาว เขาได้สังเกตความแตกต่างของช่วงการมองเห็นรอบของ
การโคจรของดวงจันทร์ไอโอ และได้คำานวณค่าความเร็วแสง
227,000 กิโลเมตร ต่อ วินาที (ประมาณ 141,050 ไมล์ ต่อ วินาที)
หรือค่าประมาณ 3x10 ยกกำาลัง 8== อ้างอิง ==

การวัดความเร็วของแสงบนโลกนั้ นกระทำาสำาเร็จเป็ นครั้งแรกโดย H


ippolyteFizeau ในปี ค.ศ. 1849 เขาทำาการทดลองโดยส่องลำาของ
แสงไปยังกระจกเงาซึ่งอย่่หา่ งออกไปหลายพันเมตรผ่านซี่ล้อ ในขณะที่ล้อ
นั้ นหมุนด้วยความเร็วคงที่ ลำาแสงพุ่งผ่านช่องระหว่างซี่ล้อออกไปกระทบ
กระจกเงา และพุ่งกลับมาผ่านซี่ล้ออีกซี่หนึ่ ง จากระยะทางไปยังกระจกเงา
จำานวนช่องของซี่ล้อ และความเร็วรอบของการหมุน เขาสามารถทำาการ
คำานวณความเร็วของแสงได้ 313,000 กิโลเมตร ต่อ วินาที

Albert A. Michelson ได้ทำาการพัฒนาการทดลองในปี ค.ศ.


1926 โดยใช้กระจกเงาหมุน ในการวัดช่วงเวลาที่แสงใช้ในการเดินทางไป
กลับจาก ยอด Mt. Wilson ถึง Mt. San Antonio ในมลรัฐ
แคลิฟอร์เนี ย ซึ่งการวัดนั้ นได้ 186,285 ไมล์/วินาที (299,796
กิโลเมตร/วินาที) ค่าความเร็วแสงประมาณหรือค่าปั ดเศษที่เราใช้กันในทุก
วันนี้ คือ 300,000 km/s and 186,000 miles/s.

[แก้]การหักเหของแสง

แสงนั้ นวิ่งผ่านตัวกลางด้วยความเร็วจำากัด ความเร็วของแสงใน


สุญญากาศ c จะมีค่า c =
299,792,458 เมตร ต่อ วินาที (186,282.397 ไมล์ ต่อ วินาที) โดย
ไม่ข้ ึนกับว่าผ้่สังเกตการณ์น้ ั นเคลื่อนที่หรือไม่ เมื่อแสงวิ่งผ่านตัวกลาง
โปร่งใสเช่น อากาศ นำ้า หรือ แก้ว ความเร็วแสงในตัวกลางจะลดลงซึ่ง
เป็ นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์การหักเหของแสง คุณลักษณะของการลดลง
ของความเร็วแสงในตัวกลางที่มีความหนาแน่นส่งนี้ จะวัดด้วยดรรชนี หักเห
ของแสง (refractive index) n โดยที่

โดย n=1 ในสุญญากาศ และ n>1 ในตัวกลาง

เมื่อลำาแสงวิ่งผ่านเข้าส่่ตัวกลางจากสุญญากาศ หรือวิ่งผ่านจาก
ตัวกลางหนึ่ งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ ง แสงจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ความถี่ แต่เปลี่ยนความยาวคลื่นเนื่ องจากความเร็วที่เปลี่ยนไป ใน
กรณี ท่ีมุมตกกระทบของแสงนั้ นไม่ต้ ังฉากกับผิวของตัวกลางใหม่ท่ี
แสงวิ่งเข้าหา ทิศทางของแสงจะถ่กหักเห ตัวอย่างของปรากฏการณ์
หักเหนี้ เช่น เลนส์ต่างๆ ทั้งกระจกขยาย คอนแทคเลนส์ แว่น
สายตา กล้องจุลทรรศน์ กล้องส่องทางไกล

[แก้]สีและความยาวคลื่น

ความยาวคลื่นที่แตกต่างกันนั้ น จะถ่กตรวจจับได้ด้วยดวงตา
ของมนุ ษย์ ซึ่งจะแปลผลด้วยสมองของมนุ ษย์ให้เป็ นสีต่างๆ ใน
ช่วง สีแดงซึ่งมีความยาวคลื่นยาวสุด (ความถี่ตำ่าสุด) ที่มนุ ษย์มอง
เห็นได้ ถึงสีม่วง ซึ่งมีความยาวคลื่นสั้นสุด (ความถี่ส่งสุด) ที่มนุ ษย์
มองเห็นได้ ความถี่ท่ีอย่่ในช่วงนี้ จะมีสส้
ี ม, สีเหลือง, สี
เขียว, สีน้ ำาเงิน และ สีคราม

[แก้]หน่วยวัดแสง

หน่วยที่ใช้ในการวัดแสง
 ความจ้า (brightness) หรือ อุณหภ่มิ(temperature)
 ความสว่าง (illuminance หรือ illumination)
(หน่ วย SI: ลักซ์ (lux))
 ฟลักซ์ส่องสว่าง (luminous flux) (หน่ วย SI: ล่
เมน (lumen))
 ความเข้มของการส่องสว่าง (luminous intensity) (หน่ วย
SI: แคนเดลา (candela))
นอกจากนี้ ยังมี:
 ความสุกใสของแสง (brilliance) หรือ แอมปลิ
จ่ด (amplitude)
 สี (color) หรือ ความถี่ (frequency)
 โพลาไรเซชั่น (polarization) หรือ มุมการแกว่งของคลื่น
(angle of vibration)
[แก้]หน่วย SI ของกำรวัดแสง

หน่วย SI ของแสง

ตั

ปริมำณ หน่วย SI หมำยเหตุ
ย่

พลังงานของการ
จ่ล (joule) J
ส่องสว่าง

ล่เมน (lumen)
อาจเรียกว่า กำาลัง
หรือ แคนเดลา · ส
ฟลักซ์ส่องสว่าง (L l ของความสว่าง
เตอเรเดียน (can
uminous flux) m (Luminous
dela ·
power)
steradian)

ความเข้มของการ
แคนเดลา (cande
ส่องสว่าง (Lumin cd
la)
ous intensity)

cd
ความเข้มของ แคนเดลา/ตาราง อาจเรียกว่า ความ
/
ความสว่าง (Lumi เมตร (candela/s หนาแน่ นของความ
m
nance) quare metre) 2 เข้มการส่องสว่าง

ความสว่าง (Illum ลักซ์ (lux) หรือ ล่


lx
inance) เมน/ตารางเมตร

ประสิทธิภาพการ ล่เมน ต่อ วัตต์ l


ส่องสว่าง (Lumin (lumens per m
ous efficacy) watt) /
W

[แก้]ด่เพิ่ม
คุณสมบัติของแสง

แสงจะมีคุณสมบัติท่ีสำาคัญ 4 ข้อ ได้แก่ การเดินทางเป็ นเส้นตรง


(Rectilinear propagation) , การหักเห (Refraction) , การสะท้อน
(Reflection) และการกระจาย (Dispersion)

กำรเดินทำงแสงเป็นเส้นตรง
ในตัวกลางที่มีค่าดัชนี การหักเห (refractive index ; n) ของแสงเท่า
กัน แสงจะเดินทางเป็ นเส้นตรงโดยค่า n สามารถหาได้จากสมการ 2.1

(2.1)
โดยที่ คือ ความเร็วของแสงในส่ญญากาศ
คือ ความเร็วของแสงในตัวกลางนั้นๆ

รูปที่ 2.1 ช่วงแถบความถี่แม่เหล็กไฟฟ้ าที่ใช้ในการสื่อสารเส้นใยแสง

ตั
ค่



1
เพ

2.
ดั



1.

4


เส้
ก้
1.

5

2
นี

น้
นใ
1.
ว-
5





3
1.
ำ ตำรำงที่ 2.2 ค่าดัชนี การหักเหโดยปกติของตัวกลางต่างๆ

3
9

สง
หั
กำรสะท้
กเ อน
ห การสะท้อนของแสงสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
» กำรสะท้อนแบบปกติ (Regular reflection) จะเกิดขึ้นเมื่อ
แสงตกกระทบกับวัตถุท่ีมีผิวเรียบมันวาวดังร่ปที่ 2.2

You might also like