You are on page 1of 7

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบค้นข้อมูล

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
จาก การเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์โลกที่ก้าวสู่โลกแหูง
การเรียนร้่เทคโนโลยีนานา ประเทศตูางพยายามปรับกลยุทธ์ เพื่อ
ยกระดับศักยภาพของสังคมด้วยการนำาเทคโนโลยีรูวมสมัยถึงผลก
ระทบในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในสังคม 4 ด้าน คือ
ด้านความร้่เทคโนโลยี สารสนเทศชูวยอำานวยความสะดวกใน
การขยายขอบเขตของความร้่ท้ ังในแนวลึกและแนว กว้างให้แกูผ้่
ศึกษา ค้นคว้าผลกระทบประการที่สองคือทำาให้เกิดอาชีพใหมูและ
ทุกคนจำาเป็ นต้องมีความ ร้่และทักษะทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศผลกระทบประการตูอไปคือสังคม ทำาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านความสัมพันธ์ของผ้่คนในสังคม รวมทั้งความ
ไมูเทูาเทียมกัน ในสังคมผลกระทบประการ สุดท้ายคือการอำานวย
ความสะดวกทั้งในด้านการศึกษา การดำารงชีวิต ชูวยในการคิด การ
ตัดสินใจ และประหยัดเวลาเมื่อนั กการศึกษานำาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ ประโยชน์เพื่อการศึกษาให้สามารถ
แขูงขันในโลกสากล กูอให้เกิดภ่มิปัญญาและการเรียนร้่อันจะนำาไป
สู่คุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนนั้ นถือ ได้วูาเป็ นเรื่องสำาคัญในระดับประเทศ
สำาหรับประเทศไทยได้กำาหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในวงการศึกษาเชูน
เดียวกัน เชูน การใช้ดาวเทียมสื่อสาร ใยแก้วนำาแสง ซีดีรอม
มัลติมีเดีย อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ชูวยสอน การเรียนการสอน
ผูานเว็บ เป็ นต้นบทบาทและคุณคูาของเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารเพื่อการศึกษาการนำา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารมาใช้เพื่อการศึกษา มีหลายลักษณะคือ (ปทีป เมธาคุณวุฒิ,
2544 ; ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2542)
1)เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารลดความเหลื่อมลำ้า
ของโอกาสทางการศึกษา สิ่งนี้ เป็ นเงื่อนไขสำาคัญในการตอบสนอง
นโยบายการศึกษาที่เป็ น "การศึกษาเพื่อประชาชนทุกคน" ที่จะ
เป็ นการสร้างความเทูาเทียมทางสังคม โดยเฉพาะอยูางยิ่งความเทูา
เทียมทางด้านการศึกษา ตัวอยูางที่สำาคัญคือ การเรียนการสอนทาง
ไกลที่ทำาให้ผ้่เรียนในทีห
่ ูางไกลในชนบทที่ด้อยโอกาส ให้มีโอกาส
เทูาเทียมกับผ้่เรียนที่อยูใ่ นสถานที่ในเมือง รวมทั้งการที่ผ้่เรียนมี
โอกาสเข้าถึงแหลูง ข้อม่ลของโลก ผูานทางเครือขูายอินเทอร์เน็ต
หรือการที่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่องมือที่ชูวยให้คนพิการ
สามารถมีโอกาส รับการศึกษาในสิ่งแวดล้อมของคนปกติ และยัง
เปิ ดโอกาสให้คนพิการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนร้่และ
เพื่อการ ประกอบอาชีพอีกด้วย

2) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็ นเครื่องมือในการ
พัฒนาคุณภาพทางการศึกษา เทคโนโลยี สามารถทำาได้ในร่ปแบบ
ตูาง ๆ เชูน การที่ผ้่เรียนทีเ่ รียนร้่โดยสามารถใช้เวลาเพิ่มเติมกับ
บทเรียนด้วยสื่อซีดี รอมเพื่อตามให้ทันเพื่อน ผ้่เรียนที่รบ
ั ข้อม่ลได้
ปกติสามารถเพิ่ม ศักยภาพในการเรียนร้่ด้วยตนเองได้มากขึ้น จาก
ความหลากหลายของเนื้ อหาในสื่อสารอิเล็กทรอนิ กส์
นอกจากนี้ ฐาน ข้อม่ลอิเล็กทรอนิ กส์ท้ ังในระดับท้องถิ่นหรือ
ระดับโลกอยูางระบบเวิลด์ไวด์ เว็บในอินเทอร์เน็ต ยังเปิ ดโอกาสให้
ผ้่เรียนสามารถพัฒนาคุณภาพของการเรียนร้่จากฐานข้อม่ลที่
หลากหลายและกว้างขวาง อยูางที่ระบบฐานข้อม่ลหรือห้องสมุด
เดิมไมูสามารถรองรับได้ วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศยัง
ทำาให้ส่ ือทางเสียง สื่อข้อความ สื่อทางภาพ สามารถผนวกเข้าหา
กัน และนำาเสนอได้อยูางนูาสนใจและไมูนูาเบื่อ ไมูวูาจะดึงข้อม่ล
จากสื่อที่เก็บข้อม่ล เชูน ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม หรือจากเครือขูาย ซึ่ง
ปั จจุบันมีเทคโนโลยีดิจิทัล และการบีบอัดสัญญาณที่ก้าวหน้าที่ได้
อยูางรวดเร็วและสมบ่รณ์ ในขณะเดียวกันข้อม่ลที่มีประโยชน์ยัง
สามารถเก็บบันทึกและเรียกใช้รูวมกันได้ จากคลังดิจิทัล (Digital
Archive) ในร่ปแบบตูาง ๆ นอกจากนี้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ประเภทความจริงเสมือน (Virtual Reality) ยังสามารถประยุกต์ใช้
เป็ นประโยชน์ทางการศึกษาและการฝึ กอบรม
3) การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความร้่ทางด้าน
เทคโนโลยี ในประเด็นนี้ ได้คำานึ งถึงระดับการสร้างทักษะพื้ นฐาน
(Literacy) การสร้างผ้่สอนที่มีความร้่ท่ีจะใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
และการสื่อสารประกอบการเรียนการสอน การสร้างผ้่มีความร้่
ความชำานาญ เฉพาะศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์ในระดับตูาง ๆ เพื่อที่
จะนำาไปสู่การคิดค้นสร้างสรรค์เทคโนโลยี สารสนเทศ และที่จำาเป็ น
มากสำาหรับประชาชนทัว่ ไป คือการสร้างทักษะพื้ นฐานทาง
คอมพิวเตอร์
4) บทบาทของอินเทอร์เน็ตกับการศึกษา อินเทอร์เน็ตเป็ น
"เครือขูายแหูงเครือขูาย" (Network of Networks) ทำาให้เกิดการ
เชื่อมโยงกันอยูางเสรี โดยไมูมีการปิ ดกั้น การเผยแพรูและสืบค้น
ข้อม่ลผูานระบบเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ทำาให้บุคคล
สามารถเผยแพรูข้อม่ลของตนเองตูอโลกได้งูาย พอกับการสืบค้น
ข้อม่ลโดยใช้ระบบทะเบียนที่อยู่ (Uniform Resource Locator-
URL) และผูานตัวสืบค้น (Search Engines) ตูาง ๆ นอกจากนั้ น
การสื่อสารผูานระบบไปรษณี ย์อิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Mail
หรือ E-mail) เป็ นการปฏิวัติระบบการสื่อสารทัว่ โลกด้วยสะดวก
ความเร็ว และถ่กต้องสมบ่รณ์ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนสาระความร้่
ผูานระบบแผนกระดานขูาว (Bulletin Board) และกลูุมอภิปราย
(Discussion Groups) ตูาง ๆ ทำาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความร้่กัน
อยูางกว้างขวางและทัว่ ถึงกันมากขึ้น ร่ปแบบของการสืบค้นข้อม่ล
ของภาษา HTML (Hyper Text Markup Language)

นอก จากความสะดวกและงูายตูอการใช้แล้วยังเป็ นสภาพ


แวดล้อมที่อาจมีผลทางจิตวิทยา ให้ผ้่ใช้ค้นหาข้อม่ลลึกลงไปโดย
สรุปเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีสวู นสัมพันธ์หรือเอื้ อ
ตูอการศึกษาทั้งในด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริหาร และ
การบริการสังคมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการ
ศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษาการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจัดวูา
เป็ นการศึกษาที่สำาคัญส่งสุดในการ เตรียมนิ สิตให้มีความร้่และ
ทักษะในการแสวงหาความร้่ด้วยปั ญญา การวิจัยเป็ นกระบวนการ
แสวงหาความร้่ความจริงอยูางเป็ นระบบ จึงเป็ นที่ยอมรับกันวูา
หลักส่ตรระดับบัณฑิตศึกษาทุกหลักส่ตรไมูวูาจะเป็ น ระดับมหา
บัณฑิตทั้งแผน ก และแผน ข หรือระดับดุษฎีบัณฑิตทั้งแบบ 1
และแบบ 2 มีข้อกำาหนดให้นิสิตต้องทำาการวิจัยที่แสดงถึงความคิด
ริเริม
่ โดยอาจทำาในร่ปวิทยานิ พนธ์หรือการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ในลักษณะโครงการวิจัย ขนาดเล็ก นอกจากจะวัดจากตัวมหา
บัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตแล้ว ยังต้องวัดจากคุณภาพและความเป็ น
เลิศทางวิชาการของวิทยานิ พนธ์หรือรายงาน /โครงการวิจัยที่นิสิต
นั กศึกษาได้จัดทำาตามข้อกำาหนดของหลักส่ตรด้วย (สุวิมล วูอง
วาณิ ช และ นงลักษณ์ วิรช
ั ชัย, 2546) การที่จะให้นิสิตนั กศึกษาใช้
กระบวนการวิจัยเป็ นสูวนหนึ่ งของการเรียนระดับ บัณฑิตศึกษาได้
นั้ น นิ สิตจะต้องศึกษาค้นคว้า สร้าง และพัฒนางานวิจัยหรือ
รายงาน/โครงการวิจัยอยูางจริงจัง เพื่อสร้างองค์ความร้่ เผยแพรู
ความร้่ควบคู่ไปกับการเรียนร้่และติดตามความ ก้าวหน้าในองค์
ความร้่ของตูางประเทศ ดังนั้ นนิ สิตจำาเป็ นต้องมีทักษะในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ การศึกษา เชูน การ
สืบค้นข้อม่ลจากแหลูงการเรียนร้่ตูาง ๆ และแหลูงการเรียนร้่ท่ีได้
รับการยอมรับวูาเป็ นอภิมหาขุมทรัพย์ทางปั ญญาคือ เครือขูาย
อินเทอร์เน็ต เนื่ องจากเครือขูาย อินเทอร์เน็ตเป็ นศ่นย์รวมของ
ข้อม่ลทุกสาขาจากทัว่ ทุกมุมโลก และสามารถเข้าถึงแหลูงข้อม่ลได้
ทุกเวลา ทุกสถานที่ ที่สำาคัญคือนิ สิตจะต้องมีทักษะในการสื่อสาร
ผูานเครือขูายอินเทอร์เน็ตได้ การวิจัยและการศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเองของนิ สิตจำาเป็ นต้องวิเคราะห์ขอ
้ ม่ลจาก ผลการวิจัยหรือการ
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซึ่งการที่จะให้การวิเคราะห์ข้อม่ลการวิจัย
หรือการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ถ่กต้อง รวดเร็ว นิ สิตจึงควรร้่
เรื่องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อประโยชน์ใน
การวิเคราะห์ข้อม่ลอีกด้วย และเพื่อเผยแพรูความร้่ท่ีได้จากการ
วิจัยหรือการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นิ สิตจำาเป็ นต้องมีทักษะที่
สำาคัญอีกทักษะหนึ่ งคือทักษะการนำาเสนอ

การสืบค้นข้อมูลและการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การ สืบค้นข้อม่ลผูานเครือขูายอินเทอร์เน็ต เครือขูาย
อินเทอร์เน็ตในปั จจุบันมีข้อม่ลขูาวสารอยู่มากมายหลายอยูาง โดย
เฉพาะข้อม่ลที่มีให้บริการอยู่ในระบบ World Wide Web ซึ่งเป็ นที่
ได้รบ
ั ความนิ ยมอยูางมากสำาหรับผ้่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต หาก
ทราบวูาข้อม่ลที่ต้องการอยู่ท่ีเว็บไซด์ใด นิ สิตนั กศึกษาสามารถเปิ ด
เว็บไซด์น้ ั นได้ทันที เชูน ต้องการหาข้อม่ลเกี่ยวกับการศึกษา

สามารถค้นคว้าจากแหลูงตูาง ๆ ดังนี้
http://www.moe.go.th กระทรวงศึกษาธิการ
http://www.onec.go.th สกศ.
http://www.nu.ac.th สำานั กหอสมุด/ศ่นย์วิทยบริการตูาง ๆ
http://www.tiac.or.th ฐานข้อม่ลวิทยานิ พนธ์ไทย

You might also like