You are on page 1of 2

หลักการอ่านในใจ

การอ่านในใจเป็ นการอ่านเพือ
่ เก็บใจความสำาคัญของ
เรือ
่ ง นักเรียนควรปฏิบัติตาม

หลักการอ่านในใจซึง่ มีดังนี ้
๑. นัง่ ให้เรียบร้อย ไม่แกล้งผ้้อืน
่ ขณะอ่าน และ
จับหนังสือให้ถ้กต้องโดยวางสันหนังสือบนแขนซ้ายใช้มือ
ซ้ายจับขอบหนังสือด้านบน แล้วใช้นิว้ มือขวาจับขอบ
หนังสือซีกขวา โดยใช้นิว้ หัวแม่มอ
ื กับนิว้ ชีจ
้ ับหนังสือแผ่น
บนไว้เพือ
่ เตรียมพร้อมสำาหรับพลิกหน้าถัดไป ส่วนอีก ๓
นิว้ ทีเ่ หลือให้รองไว้ทีใ่ ต้ปกหนังสือ
๒. ไม่อ่านออกเสียงและขยับริมฝึ กปากไปมา
๓. เคลือ
่ นสายตาไปตามหนังสืออย่างรวดเร็ว ไม่
ส่ายหน้าไปตามหนังสือ
๔. อ่านข้ามคำาหรือข้อความทีไ่ ม่สำาคัญเพือ
่ ให้อ่าน
ได้เร็วขึน

๕. แบ่งข้อความในประโยคให้เป็ นหน่วยหรือกล่่ม
คำาทีม
่ ีความยาวพอสมควร เพือ
่ ให้อ่านได้เร็วและเข้าใจ
เรือ
่ งได้ง่ายขึน

๖. ไม่ใช้นิว้ มือหรืออ่ปกรณ์ใด ๆ มาชีท
้ ีต
่ ัวหนังสือ
ซึง่ จะทำาให้อ่านช้าลง
๗. มีสมาธิในการอ่าน โดยใจต้องจดจ่ออย่้ทีต
่ ัว
หนังสือทีอ
่ ่านเท่านัน

๘. อ่านเรือ
่ งทัง้ หมดให้ละเอียด แล้วตัง้ คำาถาม
จากเรือ
่ งว่า ใคร ทำาอะไร ทีไ่ หน เมือ
่ ไร อย่างไร
ไปทีละตอน ๆ เพือ
่ จับใจความสำาคัญของเรือ
่ งได้รวดเร็ว
ขึน

๙. นำาใจความทัง้ หมดมาปะติดปะต่อกันให้เป็ นเรือ
่ ง
ราว เพือ
่ นำาไปเล่าหรือตอบคำาถาม

(ทีม
่ า : คณะอาจารย์ภาควิชาภาษาไทย
สถาบันราชภัฏธนบ่รี ( 2537: 49))

You might also like