You are on page 1of 27

แผนการจัดการเรียนรูท

้ ี่ 11
หน่ วยการเรียนรูท ้ ี่ 2 เรือ
่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ
เวลา ๑ ชั่วโมง
กลุม่ สาระการเรียนรูภ ้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู ้ แหล่งเรียนรู ้
ลักษณะโครงสร้างของคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ ๑.
จุดประสงค์การเรียนรู ้ ขัน
้ นา
๑. ห้องสมุดโรงเรียน
ด้านความรู ้
การจาแนกคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ ครูให้นกั เรียนช่วยกันอ่านกลอนสุภาพทีค ่ รูเขียนบนกระดา 2.
น ห้องศูนย์การเรียน
ด้านทักษะและกระบวนการ ภาษาไทย
๑. อันชาติอืน
่ นัน
้ หนาอย่ามาใกล้
อธิบายโครงสร้างและลักษณะเฉพาะของคาสมา หลีกให้ไกลอย่ามาคูด ่ บ
ู ดั สี
จับมือกันสันสกฤตกับบาลี สือ

สทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อง ๑.
๒. จาแนกคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อง ผูกไมตรีไม่หา่ งกันสัมพันธ์มต ิ ร
ความหมายนัน ้ แปลจากหลังมาหน้า บัตรคาสมาสทีไ่ ม
ด้านคุณลักษณะ สนธิ ๒๒ คา
๑. ใฝ่ เรียนรู ้ ไขภาษาจึงจะเพราะเสนาะจิต
ท่านผูป ้ ญ
ั ญาไวใฝ่ เฝ้ าคิด ๒. บัตรคาบาลี-
2. มุง่ มั่นในการทางาน สันสกฤต ๔๔ คา
บอกสักนิดเขาเรียกฉันคาอะไร
ประเด็นคาถามการคิดวิเคราะห์ ๓. ใบความรู ้ เรือ

๒. นักเรียนสังเกตบทกลอนทีค ่ รูนามา คาสมาสทีไ่ ม่มีสน
ครูตง้ ั คาถามว่ามีเนื้อหาเกีย่ วกับเรือ ่ งอะไร ๔. ใบงานที.่ ...
ขัน
้ กิจกรรมการเรียนรู ้ เรือ่ ง
1. นักเรียนศึกษาศึกษาเพิม ่ เติมจากใบความรู ้ เรือ่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มีสน
คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ
2. ครูอธิบายเกีย่ วกับความหมาย ลักษณะเฉพาะ
และวิธีการสมาสของคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ ภาระงาน/ชิ้นงาน
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถาม - ตอบ ใบงานที.่ ... เรือ
่ ง
4.ครูให้นกั เรียนทาใบงานที.่ ... เรือ ่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ คาสมาสทีไ่ ม่มส ี น
5. นักเรียนทากิจกรรม ไม่มีฉน ั ไม่มีเธอ
ให้นกั เรียนแบ่งกลุม ่ ออกเป็ น ๒ กลุม ่ คือ
กลุม
่ ฉันและกลุม ่ เธอ
6.
นักเรียนรับบัตรคาทีค ่ รูแจกทีส่ ามารถประกอบกันเป็ นคาส
มาสทัง้ สองกลุม่
7.
นักเรียนทัง้ สองกลุม ่ เดินหาคูข่ องตัวเองทีส ่ ามารถนาบัตร
คามาต่อกันแล้วเป็ นคาสมาส ภายในระยะเวลาทีค ่ รูกาหนด
8. นักเรียนอ่านบัตรคาทีน ่ ามาสมาสกันของคูต ่ นเอง
โดยให้นกั เรียนในห้องร่วมกันพิจารณาว่าถูกต้องหรือไม่
จากนัน ้ ครูเฉลยด้วยการแสดงบัตรคาสมาสทีถ ่ ูกต้อง
ขัน
้ สรุป
1. นักเรียนและครูรว่ มกันเฉลยทาใบงานที.่ ... เรือ ่ ง
คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ
2.
นักเรียนร่วมกันอภิปรายลักษณะของวิธีการสร้างคาสมาสแ
บบไม่มีสนธิ
ใบความรูท ้ ี่ เรือ
่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่ ๑๑
เรือ
่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มส ี นธิ รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓

วิธีสร้างคาสมาสแบบไม่มีสนธิ
๑. คาตัง้ แต่สองคาขึน ้ ไปทีม
่ ีรากศัพท์มาจากบาลีและสันสกฤตเท่านัน ้ เช่น
- วิทย์ (สันสกฤต) + ศาสตร์ (สันสกฤต) = วิทยาศาสตร์
ถ้าคาทีน ้ คาใดคาหนึ่งไม่ใช่บาลีหรือสันสกฤตจะไม่นบ
่ ามาสร้างนัน ั ว่าเป็ นคาสมา
ส เช่น
- สรรพ (สันสกฤต) + สิง่ (ไทย) = สรรพสิง่ (ประสม)
- ราช (บาลี) + วัง (ไทย) = ราชวัง (ประสม)
๒. ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาหน้ามีรูปสระ ะ หรือตัวการันต์
ต้องตัดสระหรือไม้ทณ ั ฑฆาต ( ) ออก เช่น
- ศิลปะ + ศึกษา = ศิลปศึกษา

๓. การเรียงคาเข้าสมาส คาทีเ่ ป็ นคาหลักจะวางไว้หลัง คาขยายจะวางไว้หน้า


เมือ
่ แปลความหมายจะต้องแปลจากหลังมาหน้า เช่น
- ภูมศ
ิ าสตร์ หมายถึง วิชาทีว่ า่ ด้วยโลก
- ราชโอรส หมายถึง ลูกชายพระราชา

๔. การออกเสียงคาสมาส ต้องออกเสียงสระทีพ ่ ยางค์สุดท้ายของคาหน้า


ถ้าพยางค์สุดท้ายของคาหน้าไม่มีรูปสระกากับ ให้อา่ นออกเสียง อะ เช่น
- รัฐ + ศาสตร์ = รัฐศาสตร์ อ่าน รัด – ถะ – สาด
- ภูมิ + ทัศน์ = ภูมท ิ ศั น์ อ่าน พูม – มิ – ทัด

๕. คาบาลี – สันสกฤต ซึง่ มีคาว่า “พระ” ซึง่ แผลงมาจาก “วร”


ทีเ่ ป็ นภาษาบาลีประกอบข้างหน้าจัดว่าเป็ นคาสมาสเช่นเดียวกัน
- พระ + กรรณ = พระกรรณ
ในทางตรงกันข้าม คาว่า “พระ” อยูข ่ า้ งหน้าคาภาษาอืน ่ ทีไ่ ม่ใช่ภาษาบาลี –
สันสกฤต คานัน ้ ไม่ใช่คาสมาส เช่น พระ + เขนย = พระเขนย “เขนย”
เป็ นคาเขมร ดังนัน ้ คาว่า “พระเขนย” จึงไม่ใช่คาสมาส
๖. คาส่วนใหญ่ทลี่ งท้ายด้วยคาว่า กิจ การ กรรม กร ศึกษา ภัย สถาน
ภาพ วิทยา ศิลป์ ธรรม ศาสตร์
- เศรษฐกิจ
หรือ...................................................................................................
................................
ข้อสังเกตคาสมาส
๑. คาสมาสบางคาไม่อา่ นออกเสียงรูปสระระหว่างคาหน้าและคาหลัง
เช่น
- เกียรตินิยม อ่านว่า เกียด - นิ - ยม
- ชาตินิยม อ่านว่า ชาด – นิ – ยม

๒. คาสมาสบางคาอ่านออกเสียงได้ทง้ ั แบบมีพยางค์เชือ ่ มระหว่างคา


หรือแบบไม่อา่ นออกเสียงพยางค์เชือ ่ มก็ได้ เช่น
- ประถมศึกษา อ่านว่า ประ - ถม - สึก - สา
หรือ...................................................
- รสนิยม อ่านว่า รด - นิ - ยม
หรือ...................................................
๓. ชือ ่ จังหวัดทีล่ งท้ายด้วย “บุร”ี บางชือ ่ ก็อา่ นออกเสียงเชือ ่ มระหว่างคา
บางชือ
่ ก็ไม่อา่ นออกเสียงเชือ ่ ม บางชือ ่ ก็อา่ นได้ทง้ ั สองอย่าง เช่น
- จันทบุรี อ่านว่า จัน - ทะ - บุ - รี
- ชลบุรี อ่านว่า ...................................................

- เพชรบุรี อ่านว่า ...................................................

๔. คาสมาสส่วนใหญ่จะแปลจากหลังมาหน้า
แต่ก็มีคาสมาสบางคาทีแ ่ ปลจากหน้าไปหลัง เช่น
- มณฑลพิธี หมายถึง บริเวณพิธี
- ผลกรรม หมายถึง
...................................................
- ผลบุญ หมายถึง ...................................................
ใบงานที่ เรือ
่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่ ๑๑
เรือ
่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มส
ี นธิ รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓

คาชี้แจง จงแยกคาสมาสต่อไปนี้
๑. วิทยฐานะ 
....................................................................................
๒. สุนทรพจน์ 
....................................................................................
๓. มัธยมศึกษา 
....................................................................................
๔. วรรณคดี 
....................................................................................
๕. ทัศนคติ 
....................................................................................
๖. อักขรวิธี 
....................................................................................
๗. จิตแพทย์ 
....................................................................................
๘. ประวัตศ ิ าสตร์ 
....................................................................................
๙. ชีวภาพ 
....................................................................................
๑๐. วิศวกรรม 
....................................................................................
เฉลยใบงานที่ เรือ ่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่
๑๑
เรือ
่ ง คาสมาสทีไ่ ม่มสี นธิ รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓
คาชี้แจง จงแยกคาสมาสต่อไปนี้
๑. วิทยฐานะ  . . . . . . . วิ ท ย ะ +
ฐานะ............................................................................
๒. สุนทรพจน์  . . . . . . . สุ น ท ร +
พจน์.............................................................................
๓. มัธยมศึกษา  . . . . . . . มั ธ ย ม +
ศึกษา............................................................................
๔. วรรณคดี  . . . . . . . ว ร ร ณ +
คดี...............................................................................
๕. ทัศนคติ  . . . . . . ทั ศ น ะ +
คติ................................................................................
๖. อักขรวิธี  . . . . . . . อั ก ข ร ะ +
วิธี...............................................................................
๗. จิตแพทย์  . . . . . . . จิ ต +
แพทย์...............................................................................
๘. ประวัตศ ิ าสตร์  . . . . . . . ป ร ะ วั ติ +
ศาสตร์........................................................................
๙. ชีวภาพ  . . . . . . . ชี ว ะ +
ภาพ...............................................................................
๑๐. วิศวกรรม  . . . . . . . วิ ศ ว ะ +
กรรม.............................................................................
การวัดและประเมินผล
สิง่ ทีต
่ อ
้ งการวัด/ประเมิน วิธีกา เครือ
่ ง เกณฑ์
ร มือทีใ่ ช้
ด้านความรู ้ นักเรียนสามารถการจาแนกและใ
การจาแนกคาสมาสทีไ่ ม่มี การถา คาถาม ช้คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิได้ ร้อยละ
สนธิ มคาถ 60
าม
ด้านทักษะและกระบวนกา 1.
ร การถา คาถาม นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้า
๑. มคาถ งและลักษณะเฉพาะของคาสมาส
อธิบายโครงสร้างและลักษ าม ทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อง ร้อยละ 60
ณะเฉพาะของคาสมาสทีไ่ ม่ 2.
มีสนธิได้ถูกต้อง ใบงาน นักเรียนสามารถจาแนกคาสมาส
ที.่ ... ทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้องร้อยละ 60
๒. ตรวจ เรือ ่ ง
จาแนกคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ ใบงา คาสมา
ได้ถูกต้อง น สทีไ่ ม่
มีสนธิ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่ เรียนรู ้ สังเกต แบบป
2. มุง่ มั่นในการทางาน พฤติก ระเมิน
รรม แบบป
สังเกต ระเมิน
พฤติก
รรม

บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู ้
.........................................................................................................
....................................................................
ปัญหาและอุปสรรค

.........................................................................................................
.................................................................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
.........................................................................................................
..................................................................

ลงชือ

......................................ผูส
้ อน

(.......................................................)
วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ.............

๑๐. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ ้ ริหารหรือผูท ้ ไี่ ด้รบ


ั มอบหมาย
.........................................................................................................
..................................................................

ลงชือ
่ ......................................ผูต
้ รวจ

(.......................................................)
วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ............
แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่ 12
หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 2 เรือ
่ ง คาสมาสทีม
่ ีสนธิ
เวลา ๑ ชั่วโมง
กลุม
่ สาระการเรียนรูภ ้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู ้ แหล่งเรียนรู ้
ขัน ้ นา ๑. ห้องสมุดโรงเรียน
ลักษณะโครงสร้างของคาสมาสทีม ่ ีสนธิ 2.
จุดประสงค์การเรียนรู ้ ๑ นักเรียนดูบตั รคาซึ่งเป็ นคาสมาสทีม ่ ีสนธิ
แล้วให้นกั เรียนช่วยกันวิเคราะห์วา่ แยกได้เป็ นกีค ่ า ห้องศูนย์การเรียนรูภ
้ า
ด้านความรู ้ ษาไทย
การจาแนกคาสมาสทีม ่ ีสนธิ คือคาว่าอะไรบ้าง เช่น สุข + อภิบาล เป็ น สุขาภิบาล นร
ด้านทักษะและกระบวนการ + อินทร์ เป็ น นรินทร์ จากนัน ้ ครูสรุปว่า “คาสมาสทีม ่ ีสนธิ”
๑. เกิดจากการนาคาตัง้ แต่ ๒ คาขึน ้ ไป
ซึง่ เป็ นคาภาษาบาลีและคาภาษาสันสกฤตมารวมกัน สือ

อธิบายลักษณะเฉพาะของโครงสร้างคา 1. บัตรคา
สมาสทีม่ ีสนธิได้ เรียนคาชนิดนี้วา่ คาสมาสทีม ่ ีสนธิ
ขัน ้ กิจกรรมการเรียนรู ้ 2. ใบความรู ้ เรือ
่ ง
๒. จาแนกคาสมาสทีม ่ ีสนธิได้ คาสมาสทีม ่ ีสนธิ
ด้านคุณลักษณะ 1. นักเรียนศึกษาใบความรูเ้ รือ ่ ง คาสมาสทีม ่ ีสนธิ
2. ครูอธิบายเกีย่ วกับความหมาย ลักษณะเฉพาะ 3. ใบงานที่ .....
๑. ใฝ่ เรียนรู ้ เรือ่ ง
2. มุง่ มั่นในการทางาน และวิธีการสมาสของคาสมาสทีม ่ ีสนธิ
3. นักเรียนจับคูก ่ บ
ั เพือ
่ น การวิเคราะห์โครงสร้า
แล้วร่วมกันรวบรวมรายชือ ่ ของเพือ ่ นในห้อง งคาสมาส
แล้วนามาวิเคราะห์วา่ ชือ ่ ของเพือ ่ นนักเรียนคนใดเป็ นคาสมาส
ทีม ่ ีสนธิ โดยศึกษาตามลักษณะโครงสร้างในใบความรูเ้ รือ ่ ง ภาระงาน/ชิ้นงาน
คาสมาสทีม ่ ีสนธิ ทาใบงานที่ ..... เรือ
่ ง
4. การวิเคราะห์โครงสร้า
ครูสมุ่ เลือกตัวแทนนักเรียนออกมานาเสนอการวิเคราะห์คาสม งคาสมาส
าสทีม
่ ีสนธิหน้าห้องเรียน

ขัน
้ สรุป
1.
นักเรียนและครูรว่ มกันอภิปรายโครงสร้างของคาสมาสทีม
่ ีสน
ธิ วิธีการสมาส หลักในการสังเกต และวิธีการแปลความหมาย
ใบความรูท ้ ี่ เรือ
่ ง คาสมาสทีม ่ ีสนธิ หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่ ๑๒
เรือ
่ ง คาสมาสทีม ่ ีสนธิ รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓

คาสมาสแบบมีสนธิ

ค า ส ม า ส แ บ บ มี ส น ธิ คื อ
คาทีเ่ กิดจากการนาคาบาลีสน ั สกฤตมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันสัน ้ เข้าเป็ นคาใหม่
มีเสียงสละสลวยน่ าฟัง ทัง้ นี้ เพื่อสะดวกในการประพันธ์และการออกเสียง (สนธิ
= ต่อ , เชือ ่ ม , ทาให้ตดิ กัน , การเชือ ่ มเสียงให้กลมกลืนกัน)
ลักษณะของคาสมาสแบบมีสนธิ
ลักษณะของคาสมาสแบบมีสนธิ สังเกตได้ดงั ต่อไปนี้
๑. มุง่ การนาคามาเชือ ่ มให้เสียงกลมกลืนกัน
๒. คาทีน ่ ามาเชือ
่ มต้องมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต
๓. มีการเปลีย่ นเสียงตัวอักษรระหว่างคาทีน ่ ามาเชือ
่ ม
๔. การเรียงลาดับคาและการแปลความหมายเหมือนอย่างคาสมาส
๕. ชนิ ดของคาสมาสแบบมี สนธิมี ๓ ชนิ ด คือ สระสนธิ พยัญชนะสนธิ
และนิคหิตสนธิ

สระสนธิ
ส ร ะ ส น ธิ คื อ ก า ร เ ชื่ อ ม ค า ใ ห้ มี เ สี ย ง ก ล ม ก ลื น กั น
ระหว่ า งเสี ย งสระพยางค์ ท้ า ยของค าหน้ า กับ เสี ย งสระพยางค์ แ รกของค าหลัง
เ มื่ อ เ ชื่ อ ม กั น แ ล้ ว เ สี ย ง ส ร ะ เ ห ลื อ เ พี ย ง เ สี ย ง เ ดี ย ว
ซึ่ ง อ า จ เ ป็ น เ สี ย ง ส ร ะ พ ย า ง ค์ ท้ า ย ข อ ง ค า ห น้ า
ห รื อ เ สี ย ง ส ร ะ พ ย า ง ค์ แ ร ก ข อ ง ค า ห ลั ง ห รื อ เ สี ย ง ส ร ะ ค ง ที่
หรืออาจแปลงเป็ นเสียงสระอืน ่
หลักการสมาสแบบมีสนธิของสระสนธิ
๑. อะ, อา สนธิกบ ั อะ, อา เป็ น อะ เช่น
กต + อญฺชลี = กตัญชลี ฐาน + อนฺตร =

นิร + อนฺตร = มหา + อรฺณว =


๒. อะ, อา สนธิกบ ั อะ, อา เป็ น อา เช่น
กุมภ + อาพนฺธ = กุมภาพันธ์ ขีปน + อาวุธ =
คงคา + อาลย = คมน + อาคม =
เทศ + อภิบาล = ธรฺม + อาสน =
ธญฺญ + อาหาร = นิร + อาศา =
ปรฺณ + อนุกรม = ปรม + อณุ =
พล + อนามัย = พนฺธน + อาการ =
๓. อะ, อา สนธิกบ ั อิ, อี เป็ น อิ อี เอ เช่น
จุลฺล + อินฺทูรยิ = จุลน ิ ทรีย์ นร + อินฺทฺร =
คช + อินฺทฺร = มหา + อิสิ =
๔. อะ, อา สนธิกบ ั อุ, อู เป็ น อุ อู โอ เช่น
กุศล + อุปาย = กุศโลบาย นย + อุปายฺ =
นร + อตฺตม = มหา + อุฬาร =
ราช + อุปาย = ราช + อุปโภค =
๕. อะ, อา สนธิกบ ั เอ, โอ, เอา เป็ น เอ, ไอ, โอ, เอา เช่น
ชิน + โอรส = ปิ ย + โอรส =
พุทธ + โอวาท = วร + โอกาส =
๖. อิ, อี สนธิกบ ั อิ, อี เป็ น อิ อี เช่น
กริน + อินฺทร = กรินทร์ ปติ + อินฺทร =
ธานี + อินฺทร = ไพรี + อินฺทร =
๗. อิ , อี สนธิ ก บั สระอื่ น แปลง อิ เป็ น ย แล้ ว จึ ง น ามาสนธิ
เช่น
อัคคี (อัคย) + โอภาส = สามัคคี (สามัคย) + อาจารย์ =

๘. อุ, อู สนธิกบ
ั อุ, อู เป็ น อุ, อู เช่น
ครุ + อุปกรณ = ครุ + อุปการ =
๙. อุ, อู สนธิก บ
ั สระอื่น แปลง อุ , อู เป็ น ว แล้วจึงน ามาสนธิ
เช่น
ธนู (ธนว) + อาคม = สินธุ (สินธว) + อ า น น ท์
=
พยัญชนะสนธิ
พ ยั ญ ช น ะ ส น ธิ คื อ ก า ร เ ชื่ อ ม ค า ใ ห้ เ สี ย ง ก ล ม ก ลื น กั น
ระหว่างพยัญชนะคาท้ายของพยางค์หน้ากับคาหน้าของคาหลัง เช่น
๑. เปลีย่ น ส เป็ น โอ เช่น
มนสฺ+รถ = มนสฺ+ภาว =
มนสฺ+มย = มนสฺ+รมย =
ยสสฺ+ธร = สรสฺ+ช =
๒. คาหน้าทีล่ งท้ายด้วยพยัญชนะ น ให้ลบ น ทิง้ เช่น
พฺรหฺมนฺ+ชาติ = อาตฺมนฺ+ภาว =
๓. คาหน้าซึง่ เป็ น นิสฺ, ทุสฺ แผลง ส เป็ น ร เช่น
นิสฺ+ภย = นิสฺ +มล =
นิสฺ+มิต = ทุสฺ +พิษ =
นิคหิตสิ นธิ
นิ ค หิ ต ส น ธิ ห รื อ น ฤ ค หิ ต ส น ธิ คื อ
การเชื่ อ มเสี ย งของค าที่ มี นิ คหิ ต หรื อ มี พ ยางค์ ท้ า ยเป็ นนิ คหิ ต กับ ค าอื่ น ๆ
่ สนธิแล้วนิคหิตจะเปลีย่ นเป็ น ง ญ ณ น ม ซึ่งเป็ นพยัญชนะท้ายวรรค
เมือ
มีหลักในการสนธิ ดังนี้
๑. นิ ค หิต สนธิก บ ั พยัญ ชนะวรรค กะ (ก ข ค ฆ ง) แผลงนิ ค หิต เป็ น ง
เช่น
ส+คม = ส+คฺรห =
ส+คีต = ส+ขาร =
๒. นิคหิตสนธิกบ ั พยัญชนะวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ) แผลงนิคหิตเป็ น ญ
เช่น
ส+จร = ส+ชาติ =
ส+ญา =
๓. นิ ค หิต สนธิก บ ั พยัญ ชนะวรรค ฏะ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) แผลงนิ ค หิตเป็ น ณ
เช่น
ส +ฐาน =
๔. นิ ค หิต สนธิก บ ั พยัญ ชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) แผลงนิ ค หิต เป็ น น
เช่น
ส+ตน (ตาน) = ส+นิษฐาน =
ส+ธาน =
๕. นิคหิตสนธิกบ ั พยัญชนะวรรค ปะ (ป ผ พ ภ ม ) แผลงนิคหิตเป็ น ม
เช่น
ส+ผสฺส = ส+มน =
ส+ภาษณ = ส+ปตฺติ =
๖. นิ ค หิ ต สนธิ ก บ
ั พยัญ ชนะวรรค เศษวรรค (ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ)
แผลงนิคหิตเป็ น ง เช่น
ส+วร = ส+สย =
ส+สรฺค = ส+สนทนา =
๗. นิคหิตสนธิกบ ั สระ (พยางค์แรกของคาหลังเป็ นสระ) แผลงนิคหิตเป็ น ม
เช่น
ส+อช = ส+อย =
ส+อุทย = ส+อาคม =

ใบงานที่ เรือ่ ง คาสมาสทีม ่ ีสนธิ หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท


้ ี่ ๑๒
เรือ
่ ง คาสมาสทีม่ ีสนธิ รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓
คาชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์คาทีก
่ าหนดให้แล้วขีดเส้นใต้ให้ถูกต้อง
ก. ข้อใดไม่ใช่สระสนธิ
๑. ก. นิรนั ดร ข. คมนาคม ค. สัญญา
๒. ก. อนามัย ข. ยโสธร ค. มโหฬาร
๓. ก. สมาธิ ข. กตัญชลี ค. จราจร
๔. ก. นิราศ ข. มโนรถ ค. ภัตตาคาร
๕. ก. พลานามัย ข. เนรมิต ค. นรินทร์
ข. ข้อใดไม่ใช่พยัญชนะสนธิ
๖. ก. นิรภัย ข. ยโสธร ค. ธัญญาหาร
๗. ก. อเนก ข. มโนภาพ ค. รโหฐาน
๘. ก. ชิโนรส ข. ศิโรเพฐน์ ค. ไพรินทร์
๙. ก. มโนรมย์ ข. ธันวาคม ค. รโหฐาน
๑๐. ก. พรหมชาติ ข. นิรทุกข์ ค. วโรกาส
ค. ข้อใดไม่ใช่นิคหิตสนธิ
๑๑. ก. สิงหาคม ข. สันนิษฐาน ค. สัญจร
๑๒. ก. สัมภาษณ์ ข. สัมมนา ค. มหรรณพ
๑๓. ก. สุรโิ ยภาส ข. สมาคม ค. สมุทยั
๑๔. ก. สโมสร ข. สันดาน ค. สรรพากร
๑๕. ก. สัมพุทธ ข. สารานุกรม ค. สันธาน

เฉลยใบงานที่ เรือ่ ง คาสมาสทีม ่ ีสนธิ หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท


้ ี่ ๑๒
เรือ
่ ง คาสมาสทีม่ ีสนธิ รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓

คาชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์คาทีก


่ าหนดให้แล้วขีดเส้นใต้ให้ถูกต้อง
ก. ข้อใดไม่ใช่สระสนธิ
๑. ก. นิรนั ดร ข. คมนาคม ค. สัญญา
๒. ก. อนามัย ข. ยโสธร ค. มโหฬาร
๓. ก. สมาธิ ข. กตัญชลี ค. จราจร
๔. ก. นิราศ ข. มโนรถ ค. ภัตตาคาร
๕. ก. พลานามัย ข. เนรมิต ค. นรินทร์
ข. ข้อใดไม่ใช่พยัญชนะสนธิ
๖. ก. นิรภัย ข. ยโสธร ค. ธัญญาหาร
๗. ก. อเนก ข. มโนภาพ ค. รโหฐาน
๘. ก. ชิโนรส ข. ศิโรเพฐน์ ค. ไพรินทร์
๙. ก. มโนรมย์ ข. ธันวาคม ค. รโหฐาน
๑๐. ก. พรหมชาติ ข. นิรทุกข์ ค. วโรกาส
ค. ข้อใดไม่ใช่นิคหิตสนธิ
๑๑. ก. สิงหาคม ข. สันนิษฐาน ค. สัญจร
๑๒. ก. สัมภาษณ์ ข. สัมมนา ค. มหรรณพ
๑๓. ก. สุรโิ ยภาส ข. สมาคม ค. สมุทยั
๑๔. ก. สโมสร ข. สันดาน ค. สรรพากร
๑๕. ก. สัมพุทธ ข. สารานุกรม ค. สันธาน

การวัดและประเมินผล
สิง่ ทีต
่ อ
้ งการวัด/ประเมิ วิธีการ เครือ
่ งมือทีใ่ เกณฑ์
น ช้
ด้านความรู ้ นักเรียนสามารถการจาแนกคาส
การจาแนกคาสมาสที่ การถา คาถาม มาสทีม่ ีสนธิได้ ร้อยละ 60
มีสนธิ มคาถา

ด้านทักษะและกระบว 1.
นการ การถา คาถาม นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะ
๑. มคาถา เฉพาะของโครงสร้างคาสมาสที่
อธิบายลักษณะเฉพาะ ม มีสนธิได้รอ้ ยละ 60
ของโครงสร้างคาสมา ใบงานที่ ..... 2.
สทีม
่ ีสนธิได้ เรือ
่ ง นักเรียนสามารถจาแนกคาสมาส
ตรวจใ การวิเคราะ ทีม
่ ีสนธิได้
๒. บงาน ห์โครงสร้าง ร้อยละ 60
จาแนกคาสมาสทีม่ ีสน คาสมาส
ธิได้

ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่ เรียนรู ้ สังเกต แบบประเมิ
2. พฤติก น
มุง่ มั่นในการทางาน รรม แบบประเมิ
สังเกต น
พฤติก
รรม
บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู ้
.........................................................................................................
....................................................................
ปัญหาและอุปสรรค

.........................................................................................................
.................................................................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
.........................................................................................................
..................................................................

ลงชือ

......................................ผูส
้ อน

(.......................................................)
วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ.............

๑๐. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ ้ ริหารหรือผูท ้ ไี่ ด้รบ


ั มอบหมาย
.........................................................................................................
..................................................................

ลงชือ
่ ......................................ผูต
้ รวจ

(.......................................................)
วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ............
แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่ 13
หน่ วยการเรียนรูท ้ ี่ 2 เรือ
่ ง ความหมายของคาสมาส เวลา
๑ ชั่วโมง
กลุม่ สาระการเรียนรูภ ้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู ้ แหล่งเรียนรู ้
คาสมาสทีม ่ ีสนธิ ๑. ห้องสมุดโรงเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู ้ ขัน้ นา
ครูขออาสาสมัครนักเรียนออกมาถือบัตรคาสมาสทีม ่ ีสนธิ 2.
ด้านความรู ้ ห้องศูนย์การเรียนรูภ
้ า
1. ทีค
่ รูนามา เช่นคาว่า ประวัตศ ิ าสตร์ วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
ฯลฯ แสดงให้เพือ ่ นในชัน ้ ร่วมกันอ่าน ษาไทย
การบอกความหมายและลักษณะเฉพาะ
ของคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อง ให้นกั เรียนร่วมกันวิเคราะห์แยกโครงสร้างคาสองคาทีน ่ าม
าสมาสกัน ว่าใช้วธิ ีการสมาสแบบใด สือ

2. ๑. บัตรคาจานวน 20
การบอกวิธีการสร้างคาสมาสทีม ่ ีสนธิได้ ขัน ้ กิจกรรมการเรียนรู ้
กิจกรรม ตามหา คาสมาสทีม ่ ีสนธิ คา
ถูกต้อง 2. ใบงานที.่ ...เรือ
่ ง
3. 1. นักเรียนแบ่งกลุม ่ ออกเป็ น 4 กลุม ่ กลุม
่ ละเท่า ๆ กัน
2. ครูแจกบัตรจานวน 20 คา คาสมาสทีม่ ีสนธิ
การจาแนกหรือระบุวา่ คาใดเป็ นคาสมาส
ทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อง แล้วให้นกั เรียนแต่ละกลุม ่ ช่วยกันนาคาทีค ่ รูแจกมาสมาสให้
เป็ นคาสมาสทีม ่ ีสนธิกลุม ่ ใดเสร็จก่อนเป็ นผูช ้ นะ ภาระงาน/ชิ้นงาน
ด้านทักษะและกระบวนการ ๑.
1. 3.
นักเรียนแต่ละคนเขียนคาสมาสทีม ่ ีสนธิลงในใบงานที.่ ...เรื่ ..............................
บอกความหมายและลักษณะเฉพาะของ .........................
คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อง อง คาสมาสทีม ่ ีสนธิ
แล้วให้นกั เรียนในกลุม ่ ช่วยกันหาความหมาย ๒.
2. ..............................
บอกวิธีการสร้างคาสมาสทีม ่ ีสนธิได้ถูกต้ 4. นักเรียนแต่ละกลุม ่ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอหน้าชัน ้
5. ครูยกตัวอย่างชือ ่ ชือ ่ โรงเรียน ชือ ่ มหาวิทยาลัย .........................
อง และชือ ่ ร้านค้า ๓.
3. ให้นกั เรียนร่วมกันวิเคราะห์วา่ เป็ นคาสมาสทีม
่ ีสนธิหรือเป็ น ..............................
จาแนกหรือระบุวา่ คาใดเป็ นคาสมาสทีไ่ คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิ แล้วให้นกั เรียนร่วมกันแปลความหมาย .........................
ม่มีสนธิได้ถูกต้อง
ด้านคุณลักษณะ ขัน
้ สรุป
๑. ซือ
่ สัตย์สุจริต
๒. ใฝ่ เรียนรู ้ นักเรียนและครูรว่ มกันอภิปรายลักษณะโครงสร้างของคาส
๓. มุง่ มั่นในการทางาน มาสทีม่ ีสนธิและไม่มีสนธิ วิธีการสังเกต
วิธีการอ่านและการแปลความหมาย
ใบงานที่ เรือ
่ ง ความหมายของคาสมาส หน่ วยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท
้ ี่
๑๒
เรือ
่ ง ความหมายของคาสมาส รายวิชา ภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒
ชัน
้ มัธยมศึกษาที่ ๓

ลาดับที่ คา คา ความหมาย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
การวัดและประเมินผล
สิง่ ทีต
่ อ
้ งการวัด/ประเมิน วิธีกา เครือ
่ ง เกณฑ์
ร มือทีใ่
ช้
ด้านความรู ้
1. การถ 1.
การบอกความหมายและลัก ามคา คาถา นักเรียนสามารถบอกความหมาย
ษณะเฉพาะของคาสมาสทีไ่ ถาม ม และลักษณะเฉพาะของคาสมาสที่
ม่มีสนธิได้ถูกต้อง ไม่มีสนธิได้ถูกต้อง ร้อยละ 60
2.
2. นักเรียนสามารถบอกวิธีการสร้าง
การบอกวิธีการสร้างคาสมา การถ คาถา คาสมาสทีม ่ ีสนธิได้
สทีม
่ ีสนธิได้ ามคา ม ร้อยละ 60
ถาม 3.
3. นักเรียนสามารถอธิบายการจาแน
การจาแนกหรือระบุวา่ คาใด คาถา กหรือระบุวา่ คาใดเป็ นคาสมาสทีไ่
เป็ นคาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิได้ การถ ม ม่มีสนธิได้ ร้อยละ 60
ามคา
ถาม
ด้านทักษะและกระบวนการ
1. การถ คาถา 1.
บอกความหมายและลักษณ ามคา ม นักเรียนสามารถบอกความหมาย
ะเฉพาะของคาสมาสทีไ่ ม่มี ถาม และลักษณะเฉพาะของคาสมาสที่
สนธิได้ถูกต้อง ไม่มีสนธิได้ถูกต้อง ร้อยละ 60
2.
2. คาถา นักเรียนสามารถบอกวิธีการสร้าง
บอกวิธีการสร้างคาสมาสทีม ่ ี การถ ม คาสมาสทีม ่ ีสนธิได้ถูกต้อง
สนธิได้ถูกต้อง ามคา ร้อยละ 60
ถาม 3.
นักเรียนสามารถอธิบายจาแนกหรื
3. ใบงา อระบุวา่ คาใดเป็ นคาสมาสทีไ่ ม่มีส
จาแนกหรือระบุวา่ คาใดเป็ น นที.่ .. นธิได้ถูกต้องร้อยละ 60
คาสมาสทีไ่ ม่มีสนธิได้ถูกต้อ ตรวจ .เรือ
่ ง
ง ใบงา คาสม
น าสทีม ่ ี
สนธิ
ด้านคุณลักษณะ
1. ใฝ่ เรียนรู ้ สังเกต แบบ
2. มุง่ มั่นในการทางาน พฤติก ประเ
รรม มิน
สังเกต แบบ
พฤติก ประเ
รรม มิน

บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู ้
.........................................................................................................
....................................................................
ปัญหาและอุปสรรค

.........................................................................................................
.................................................................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
.........................................................................................................
..................................................................

ลงชือ

......................................ผูส
้ อน

(.......................................................)
วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ.............

๑๐. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ ้ ริหารหรือผูท ้ ไี่ ด้รบ


ั มอบหมาย
.........................................................................................................
..................................................................
ลงชือ
่ ......................................ผูต
้ รวจ

(.......................................................)

วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ................

You might also like